โครงการ การจัดการอาหารกลางวันพื้นบ้านอีสานสำหรับเด็กปฐมวัยโดยชุมชน

แบบเสนอโครงการ
โครงการ การจัดการอาหารกลางวันพื้นบ้านอีสานสำหรับเด็กปฐมวัยโดยชุมชน

1. ชื่อโครงการ

โครงการ การจัดการอาหารกลางวันพื้นบ้านอีสานสำหรับเด็กปฐมวัยโดยชุมชนกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมคณะครุศาสตร์สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามคณะเทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามอำเภอยางตลาด ตำบลยางตลาดผู้ช่วยศาสตราจารย์กนกวรรณศรีวาปีสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามต.ตลาด อ.เมือง จ.มหาสารคาม ๔๔๐๐๐๐๘๑-๘๗๓๖๑๗๗อาจารย์สุชาดาหวังสิทธิเดช และอาจารย์ นักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย สาขาเทคโนโลยีการอาหาร

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ ยางตลาด ยางตลาด
กาฬสินธุ์ ยางตลาด ยางตลาด ชนบท

3. รายละเอียดชุมชน

องค์การบริหารส่วนตำบลหนองอิเฒ่า ตั้งอยู่บริเวณทิศตะวันออกเฉียงใต้ของอำเภอยางตลาด ห่างจากอำเภอยางตลาด ประมาณ 11 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดกาฬสินธุ์ประมาณ 20 กิโลเมตร มีพื้นที่ 21,141 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 13,213 ไร่ สภาพพื้นที่ทั่วไปเป็นที่ราบสูง ไม่มีแหล่งน้ำธรรมชาติไหลผ่าน องค์การบริหารส่วนตำบลหนองอิเฒ่า ประกอบด้วย 11 หมู่บ้าน มีประชากรจำนวน 4,868 คน มีครัวเรือนจำนวน 1,226 ครัวเรือนอาชีพหลักของคนในพื้นที่คือ ทำนา และอาชีพเสริม คือ เลี้ยงสัตว์ ปลูกพืช ผัก
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลหนองอิเฒ่า รวมจำนวน 11 หมู่บ้าน คือ บ้านหนองอิเฒ่า หมู่ที่ 1 , 2, 9 บ้านดอนกลอย หมู่ที่ 3 บ้านโนนชาด หมู่ 6 บ้านดงน้อย หมู่4, 5 บ้านคำมะยางหมู่ 7 บ้านหลักด่าน หมู่ 11 บ้านป่าหญ้าคา หมู่10 และบ้านโนนสวรรค์หมู่ 8ตำบลหนองอิเฒ่า อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ 46120 โดยมีเด็กปฐมวัยจำนวน 98 คน
ประชากรส่วนใหญ่ในหมู่บ้านมีที่ดิน และที่ทำกินเป็นของตนเอง มีแหล่งน้ำคลองที่มาจากเขื่อนลำปาว อาชีพหลักคือ การทำนา โดยเฉพาะการทำนาปรัง และอาชีพเสริมคือ หัตถกรรมผลิตภัณฑ์คือ หมอนขิด และที่นอนพื้นที่อยู่ใกล้ตลาดและอำเภอเมือง ประชาชนส่วนใหญ่รุ่นพ่อแม่ ไปทำงานต่างแดนเพื่อการดำรงชีวิต ปล่อยให้ปู่-ย่า ตา-ยาย เลี้ยงหลานๆ ที่บ้าน ซึ่งขาดความรู้ ความเข้าใจในการเลี้ยงดูบุตร หลาน โดยเฉพาะเรื่องโภชนาการ การนำพืชผักสมุนไพรในครัวเรือนมาประกอบอาหารประชาชนในหมู่บ้านต้องการทราบ วิธีการประกอบอาหาร การแปรรูปอาหารสำหรับเด็กปฐมวัยที่ปราศจากการใส่ผงชูรส และการจูงใจให้เด็กรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ครบ 5 หมู่เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการสมวัยและได้รับสารอาหารครบถ้วนจะทำให้มีการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็กปฐมวัย โดยการถ่ายทอดเรียนรู้ร่วมกัน ผ่านการเรียนรู้แลกเปลี่ยนจากผู้รู้ หรือภูมิปัญญาในท้องถิ่น

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

- การประกอบอาหารกลางวันพื้นบ้านอีสานสำหรับเด็กปฐมวัย
- การจัดตารางเมนูอาหารกลางวันในแต่ละสัปดาห์และรายเดือน
- การนำพืชผักสวนครัวพื้นบ้านมาช่วยเพิ่มรสชาติอาหารแทนสารชูรส
- การคำนวณแคลอรี่ที่เด็กปฐมวัยควรได้รับในแต่ละวัน
- การแปรรูปอาหาร ขนมหวาน และเครื่องดื่ม เพื่อสุขภาพ

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยการนำองค์ความรู้ที่หลากหลายในสถาบันอุดมศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดกิจกรรมโดยการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้รู้ในท้องถิ่น ประชาชน อาจารย์ นักศึกษา ครู นักเรียน มาบูรณาการในการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กปฐมวัยให้เกิดความยั่งยืน

ร้อยละ 80 ของเด็กปฐมวัยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

0.00 1.00
2 เพื่อให้นักศึกษาได้ประยุกต์องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานจริง มีความสามารถในการค้นคว้า คิดค้น สร้างสรรค์ สามารถคิดเมนูอาหารกลางวันพื้นบ้านอีสานสำหรับเด็กปฐมวัย โดยคำนึงถึงแคลอรี่ที่เด็กปฐมวัยควรได้รับในแต่ละมื้ออย่างเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย

ร้อยละ 80 ของนักศึกษาประยุกต์องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานจริง คิดเมนูอาหารกลางวันพื้นบ้านอีสานสำหรับเด็กปฐมวัย

80.00 1.00
3 เพื่อนำองค์ความรู้ เกี่ยวกับ การทำผงปรุงรสจากพืชสมุนไพร การแปรรูปอาหารสุขภาพ ขนมหวาน เครื่องดื่มสมุนไพร มาใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมให้ชุมชนร่วมกับนักศึกษา ผลิตเพื่อบริโภคเอง หรือจำหน่ายเพื่อสร้างรายได้ให้กับครัวเรือน

ร้อยละ 80 ของชุมชนนำองค์ความรู้ เกี่ยวกับ การทำผงปรุงรสจากพืชสมุนไพร การแปรรูปอาหารสุขภาพ ขนมหวาน เครื่องดื่มสมุนไพร มาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน

80.00 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ครูและผู้ปกครองในชุมชน ศพด.อบต.หนองอิเฒ่า 70
นักศึกษาร่วมโครงการ 8
เด็กปฐมวัยศพด.อบต.หนองอิเฒ่า 98

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 1.กิจกรรมเตรียมการสำรวจพื้นที่กลุ่มเป้าหมายในตำบลหนองอิเฒ่าอำเภอยางตลาด

ชื่อกิจกรรม
1.กิจกรรมเตรียมการสำรวจพื้นที่กลุ่มเป้าหมายในตำบลหนองอิเฒ่าอำเภอยางตลาด
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยการนำองค์ความรู้ที่หลากหลายในสถาบันอุดมศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดกิจกรรมโดยการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้รู้ในท้องถิ่น ประชาชน อาจารย์ นักศึกษา ครู นักเรียน มาบูรณาการในการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กปฐมวัยให้เกิดความยั่งยืน
รายละเอียดกิจกรรม
1.ประชุมเตรียมการสำรวจพื้นที่กลุ่มเป้าหมายในตำบลหนองอิเฒ่า อำเภอยางตลาด จำนวน 3กลุ่ม
2.รวมกลุ่มเพื่อรับการถ่ายทอดความรู้ด้านอาหารพื้นบ้านอีสานสำหรับเด็กปฐมวัยในชุมชน เรื่อง ความรู้ คุณค่าของอาหารการจัดอาหารกลางวันที่มีประโยชน์ต่อเด็กปฐมวัย การใช้พืชผัก สมุนไพร ปรุงรสชาติอาหารแทนการใช้ผงชูรส
ระยะเวลาดำเนินงาน
16 มีนาคม 2563 ถึง 16 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ด้านอาหารพื้นบ้านอีสานสำหรับเด็กปฐมวัยในชุมชน เรื่อง คุณค่าของอาหารการจัดอาหารกลางวันที่มีประโยชน์ต่อเด็กปฐมวัย การใช้พืชผัก สมุนไพร ปรุงรสชาติอาหารแทนการใช้ผงชูรส
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
องค์การบริหารส่วนตำบลหนองอิเฒ่า
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าอาหาร

ค่าอาหาร อาหารว่าง -เครื่องดื่ม

70 คน 200 1 14,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า 1 คน 1,800 1 1,800
ค่าวัสดุสำนักงาน 70 คน 245 1 17,150
ค่าถ่ายเอกสาร 70 คน 70 1 4,900
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 คน 2,370 1 2,370
รวมค่าใช้จ่าย 40,220

กิจกรรมที่ 2 สร้างความตระหนักการปลูกพืชผัก สมุนไพร และนำมาใช้ประกอบอาหารเพื่อเพิ่มรสชาติอาหารแทนผงชูรส

ชื่อกิจกรรม
สร้างความตระหนักการปลูกพืชผัก สมุนไพร และนำมาใช้ประกอบอาหารเพื่อเพิ่มรสชาติอาหารแทนผงชูรส
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยการนำองค์ความรู้ที่หลากหลายในสถาบันอุดมศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดกิจกรรมโดยการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้รู้ในท้องถิ่น ประชาชน อาจารย์ นักศึกษา ครู นักเรียน มาบูรณาการในการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กปฐมวัยให้เกิดความยั่งยืน
รายละเอียดกิจกรรม
1. ประชุมเพื่อสร้างความตระหนัก
2. ขออาสาสมัครร่วมกิจกรรมการนำพืชผัก สมุนไพร มาประกอบอาหารเพิ่มรสชาติแทนผงชูรส
ระยะเวลาดำเนินงาน
23 เมษายน 2563 ถึง 24 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต (Outputs)
1.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการนำพืชผักสมุนไพร มาประกอบอาหารเพื่อเพิ่มรสชาติอาหารแทนผงชูรส
2. ชาวบ้าน/ครูศพด./เด็กปฐมวัย ในพื้นที่ จำนวน 40 หลังคาเรือน ปลูกพืชผักสมุนไพรไว้รับประทานเอง และนำมาปรุงอาหารสำหรับเด็กปฐมวัย
3. นักศึกษาทำการสำรวจพืชผักสมุนไพร ที่ใช้เพิ่มรสชาติอาหารแทนผงชูรส และนำเสนอข้อมูลให้กับชุมชน
ผลลัพธ์ (Outcomes)
1. ผู้สูงวัย ผู้ใหญ่ เยาวชน และนักศึกษาร่วมกันทำกิจกรรมการเตรียม การปลูก และการดูแลพืชผักสมุนไพร
2. นักศึกษา ได้ร่วมกันทำงาน วางแผนการทำการสำรวจ จัดกระทำข้อมูล และนำเสนอผลการศึกษาร่วมกับชุมชน
3. นักศึกษาได้องค์ความรู้โดยวิธีการสำรวจ ค้นคว้า
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
องค์การบริหารส่วนตำบลหนองอิเฒ่า
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 3 คน 3,600 2 21,600
ค่าอาหาร 70 คน 200 2 28,000
ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 1,000 2 2,000
ค่าวัสดุสำนักงาน 70 คน 80 1 5,600
ค่าเช่ารถ 1 คน 1,500 2 3,000
รวมค่าใช้จ่าย 60,200

กิจกรรมที่ 3 การประกอบอาหารกลางวันพื้นบ้านอีสานสำหรับเด็กปฐมวัย

ชื่อกิจกรรม
การประกอบอาหารกลางวันพื้นบ้านอีสานสำหรับเด็กปฐมวัย
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้นักศึกษาได้ประยุกต์องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานจริง มีความสามารถในการค้นคว้า คิดค้น สร้างสรรค์ สามารถคิดเมนูอาหารกลางวันพื้นบ้านอีสานสำหรับเด็กปฐมวัย โดยคำนึงถึงแคลอรี่ที่เด็กปฐมวัยควรได้รับในแต่ละมื้ออย่างเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
รายละเอียดกิจกรรม
1.ให้ความรู้เรื่องอาหารกลางวันพื้นบ้านอีสานสำหรับเด็กปฐมวัย
2.สำรวจความพร้อมของวัตถุดิบในการประกอบอาหารกลางวันพื้นบ้านอีสานสำหรับเด็กปฐมวัยร่วมกับชุมชน
3.ร่วมฝึกปฏิบัติการประกอบอาหารกลางวันพื้นบ้านอีสานสำหรับเด็กปฐมวัยร่วมกับชุมชน
4.จัดเมนูอาหารกลางวันพื้นบ้านอีสานรายสัปดาห์ รายเดือนโดยคำนึงแคลอรี่ที่เด็กควรได้รับในแต่ละมื้อ
ระยะเวลาดำเนินงาน
11 พ.ค. 2563 ถึง 4 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต (Outputs)1.ชาวบ้าน/ครูศพด./เด็กปฐมวัย ในพื้นที่ ประกอบอาหารกลางวันพื้นบ้านอีสานสำหรับเด็กปฐมวัย
2. ชาวบ้าน/ครูศพด./เด็กปฐมวัย ในพื้นที่ ได้รับความรู้ในการจัดเมนูอาหารกลางวันพื้นบ้านอีสานรายสัปดาห์ รายเดือนโดยคำนึงแคลอรี่ที่เด็กควรได้รับในแต่ละมื้อ
ผลลัพธ์ (Outcomes)
1. ผู้สูงวัย ผู้ใหญ่ เยาวชน และนักศึกษาร่วมกันทำกิจกรรม
2. ร้อยละ 80 ของชาวบ้าน ได้องค์ความรู้ในการประกอบอาหารกลางวันพื้นบ้านอีสานสำหรับเด็กปฐมวัย
3. ร้อยละ 80 ของชาวบ้าน ได้ร่วมกันทำงาน วางแผนการทำเมนูอาหารกลางวันพื้นบ้านอีสาน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
องค์การบริหารส่วนตำบลหนองอิเฒ่า
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 4 คน 3,600 2 28,800
ค่าอาหาร

อาหารผู้เข้าร่วมกิจกรรม

70 คน 200 2 28,000
ค่าเช่ารถ 1 เที่ยว 1,500 2 3,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 70 คน 540 2 75,600
ค่าวัสดุสำนักงาน 70 คน 160 1 11,200
รวมค่าใช้จ่าย 146,600

กิจกรรมที่ 4 การแปรรูปอาหารเพื่อสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
การแปรรูปอาหารเพื่อสุขภาพ
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อนำองค์ความรู้ เกี่ยวกับ การทำผงปรุงรสจากพืชสมุนไพร การแปรรูปอาหารสุขภาพ ขนมหวาน เครื่องดื่มสมุนไพร มาใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมให้ชุมชนร่วมกับนักศึกษา ผลิตเพื่อบริโภคเอง หรือจำหน่ายเพื่อสร้างรายได้ให้กับครัวเรือน
รายละเอียดกิจกรรม
1. สำรวจความต้องการของชุนชนและความพร้อมของวัตถุดิบในชุมชนในการทำอาหารแปรรูปพร้อมให้ความรู้
2.ฝึกปฏิบัติการแปรรูปอาหาร ขนมหวาน และน้ำสมุนไพร
ระยะเวลาดำเนินงาน
18 พ.ค. 2563 ถึง 22 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต (Outputs)
ชาวบ้าน/ครูศพด./เด็กปฐมวัย ในพื้นที่ มีความรู้และฝึกปฏิบัติการแปรรูปอาหาร ขนมหวาน และน้ำสมุนไพร จำนวน ไม่น้อยกว่า5 รายการ
ผลลัพธ์ (Outcomes)
ร้อยละ 80 ของชาวบ้าน/ครูศพด./เด็กปฐมวัย ในพื้นที่ สามารถแปรรูปอาหาร ขนมหวาน และน้ำสมุนไพรได้
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
องค์การบริหารส่วนตำบลหนองอิเฒ่า
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 5 คน 3,600 1 18,000
ค่าอาหาร 70 คน 200 2 28,000
ค่าเช่ารถ 1 เที่ยว 1,500 5 7,500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 70 คน 640 1 44,800
รวมค่าใช้จ่าย 98,300

กิจกรรมที่ 5 การจัดการความรู้ เรื่อง อาหารกลางวันพื้นบ้านอีสานสำหรับเด็กปฐมวัย

ชื่อกิจกรรม
การจัดการความรู้ เรื่อง อาหารกลางวันพื้นบ้านอีสานสำหรับเด็กปฐมวัย
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยการนำองค์ความรู้ที่หลากหลายในสถาบันอุดมศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดกิจกรรมโดยการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้รู้ในท้องถิ่น ประชาชน อาจารย์ นักศึกษา ครู นักเรียน มาบูรณาการในการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กปฐมวัยให้เกิดความยั่งยืน
  2. เพื่อให้นักศึกษาได้ประยุกต์องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานจริง มีความสามารถในการค้นคว้า คิดค้น สร้างสรรค์ สามารถคิดเมนูอาหารกลางวันพื้นบ้านอีสานสำหรับเด็กปฐมวัย โดยคำนึงถึงแคลอรี่ที่เด็กปฐมวัยควรได้รับในแต่ละมื้ออย่างเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
  3. เพื่อนำองค์ความรู้ เกี่ยวกับ การทำผงปรุงรสจากพืชสมุนไพร การแปรรูปอาหารสุขภาพ ขนมหวาน เครื่องดื่มสมุนไพร มาใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมให้ชุมชนร่วมกับนักศึกษา ผลิตเพื่อบริโภคเอง หรือจำหน่ายเพื่อสร้างรายได้ให้กับครัวเรือน
รายละเอียดกิจกรรม
ชาวบ้าน/ครูศพด./เด็กปฐมวัย/นักศึกษา ร่วมจัดการความรู้ เรื่อง อาหารกลางวันพื้นบ้านอีสาน และ การแปรรูปอาหาร ขนมหวาน และน้ำสมุนไพร สำหรับเด็กปฐมวัย
ระยะเวลาดำเนินงาน
25 สิงหาคม 2563 ถึง 26 สิงหาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต (Outputs)
ชาวบ้าน/ครูศพด./เด็กปฐมวัย/นักศึกษา ที่ร่วมกิจกรรมได้ถ่ายทอดความรู้และความสำคัญของการนำพืชผักสมุนไพร มาประกอบอาหารเพื่อเพิ่มรสชาติอาหารแทนผงชูรส นำเสนอข้อมูลให้กับชุมชนเพื่อขยายผล
ผลลัพธ์ (Outcomes)
ร้อยละ 80 ของชาวบ้าน/ครูศพด./เด็กปฐมวัย/นักศึกษา ประกอบอาหารโดยนำพืชผักสมุนไพร มาเพิ่มรสชาติอาหารแทนผงชูรสและ แปรรูปอาหาร ขนมหวาน เครื่องดื่มสมุนไพร เพื่อสุขภาพ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
องค์การบริหารส่วนตำบลหนองอิเฒ่า
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 3,600 2 14,400
ค่าอาหาร 70 คน 200 2 28,000
ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 1,500 2 3,000
ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม 70 คน 200 2 28,000
ค่าตอบแทนการประสานงาน 4 คน 250 2 2,000
ค่าถ่ายเอกสาร 70 ชุด 130 1 9,100
รวมค่าใช้จ่าย 84,500

กิจกรรมที่ 6 ติดตามและนำเสนอผลการวิจัย

ชื่อกิจกรรม
ติดตามและนำเสนอผลการวิจัย
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยการนำองค์ความรู้ที่หลากหลายในสถาบันอุดมศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดกิจกรรมโดยการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้รู้ในท้องถิ่น ประชาชน อาจารย์ นักศึกษา ครู นักเรียน มาบูรณาการในการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กปฐมวัยให้เกิดความยั่งยืน
  2. เพื่อให้นักศึกษาได้ประยุกต์องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานจริง มีความสามารถในการค้นคว้า คิดค้น สร้างสรรค์ สามารถคิดเมนูอาหารกลางวันพื้นบ้านอีสานสำหรับเด็กปฐมวัย โดยคำนึงถึงแคลอรี่ที่เด็กปฐมวัยควรได้รับในแต่ละมื้ออย่างเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
  3. เพื่อนำองค์ความรู้ เกี่ยวกับ การทำผงปรุงรสจากพืชสมุนไพร การแปรรูปอาหารสุขภาพ ขนมหวาน เครื่องดื่มสมุนไพร มาใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมให้ชุมชนร่วมกับนักศึกษา ผลิตเพื่อบริโภคเอง หรือจำหน่ายเพื่อสร้างรายได้ให้กับครัวเรือน
รายละเอียดกิจกรรม
รายงานสรุปผลการดำเนินงาน และผลการวิจัยแต่ละกิจกรรม
ระยะเวลาดำเนินงาน
21 กันยายน 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต (Outputs)
รายงานสรุปผลการดำเนินงาน
ผลลัพธ์ (Outcomes)
บทความวิจัย จำนวน 1 เรื่อง เพื่อเผยแพร่ในการนำเสนอในที่ประชุมวิชาการระดับชาติ หรือตีพิมพ์เผยแพร่
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
องค์การบริหารส่วนตำบลหนองอิเฒ่า
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน 3,600 2 36,000
ค่าอาหาร 30 คน 200 2 12,000
ค่าถ่ายเอกสาร 30 ชุด 450 1 13,500
ค่าวัสดุสำนักงาน 15 ชิ้น 412 1 6,180
ค่าตอบแทนการประสานงาน 5 คน 250 2 2,500
รวมค่าใช้จ่าย 70,180

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 151,300.00 2,370.00 185,800.00 160,530.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 30.26% 0.47% 37.16% 32.11% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และชุมชน มีความรู้การจัดการอาหารกลางวันพื้นบ้านอีสาน นักศึกษาลงพื้นที่ถ่ายทอดนำความรู้สู่ชุมชน
ผลลัพธ์ (Outcome) เด็กปฐมวัยใน ศพด. อำเภอยางตลาด มีพัฒนาการสมวัย น้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ นักศึกษาจัดการอาหารกลางวันพื้นบ้านอีสานแก่เด็กปฐมวัย
ผลกระทบ (Impact)
นำเข้าสู่ระบบโดย suchada6881 suchada6881 เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 11:44 น.