โครงการอาสาประชารัฐ: การสร้างกระบวนการเรียนรู้ด้านการคิดเชิงออกแบบเพื่อแก้ปัญหาของชุมชนด้วยนวัตกรรมทางสังคมตามเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)

แบบเสนอโครงการ
โครงการอาสาประชารัฐ: การสร้างกระบวนการเรียนรู้ด้านการคิดเชิงออกแบบเพื่อแก้ปัญหาของชุมชนด้วยนวัตกรรมทางสังคมตามเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)

1. ชื่อโครงการ

โครงการอาสาประชารัฐ: การสร้างกระบวนการเรียนรู้ด้านการคิดเชิงออกแบบเพื่อแก้ปัญหาของชุมชนด้วยนวัตกรรมทางสังคมตามเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)มหาวิทยาลัยมหิดลพันธกิจสัมพันธ์มหาวิทยาลัยมหิดลกับสังคมมหาวิทยาลัยมหิดล1) ส่วนงานต่างๆ ของมหาวิทยาลัยมหิดล (คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คณะสัตวแพทย์ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย วิทยาลัยนานาชาติ (สาขาวิชาบริหารธุรกิจ) คณะวิศวะกรรมศาสตร์) 2) อำเภอพุทธมณฑล เทศบาลตำบลศาลายา อบต.มหาสวัสดิ์ 3) ชุมชนตำบลศาลายา ชุมชนตำบลมหาสวัสดิ์ 4) กลุ่มท่องท่องเที่ยวคลองมหาสวัสดิ์ชุมชนตำบลศาลายา และชุมชนตำบลมหาสวัสดิ์ อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐมอาจารย์ ดร.ชิตชยางค์ ยมาภัยงานพันธกิจสัมพันธ์มหาวิทยาลัยมหิดลกับสังคม ห้อง 143 อาคารศูนย์การเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล ถ.พุทธมลฑลสาย 4 ต.ศาลายาอ.พุทธมลฑล จ.นครปฐม 73170โทรศัพท์:02-843-4550 ต่อ 4228อีเมล: mahidolsocialengagement@gmail.com1) กลุ่มนักศึกษารากแก้วมหาวิทยาลัยมหิดล
2) ดร.ปวิตรา จิรวีรกูล สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
3) ดร.ธนฤกษ์ ธนกิจสมับัติ สาขาบริหารธุรกิจ
4) ผศ.ดร.นายสัตวแพทย์ศิวะพงษ์ สังข์ประดิษฐ์ สาขาสัตวแพทย์ศาสตร์
5) นางสาวถนอมศรี เปลี่ยนสมัย พันกิจสัมพันธ์ชุมชนกับสังคม ,สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์
6) นางสาวสรรพารี ยกย่องพันกิจสัมพันธ์ชุมชนกับสังคม,สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์
7) นางสาวพุทธรัต พัฒนวรกิจพันกิจสัมพันธ์ชุมชนกับสังคม,ศิลปศาสตร์

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
นครปฐม พุทธมณฑล มหาสวัสดิ์ ชานเมือง
นครปฐม พุทธมณฑล ศาลายา ชานเมือง

3. รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐานอำเภอพุทธมณฑล
ด้านการปกครอง อำเภอพุทธมณฑล แบ่งการปกครองท้องที่ เป็น 3 ตำบล 18 หมู่บ้าน ได้แก่ ตำบลศาลายา ประกอบด้วยชุมชน 6 หมู่บ้าน ตำบลคลองโยง ประกอบด้วยชุมชน 8 หมู่บ้าน และตำบลมหาสวัสดิ์ประกอบด้วยชุมชน จำนวน 4 หมู่บ้าน ซึ่งในแต่ละหมู่บ้านจะมีการแต่งตั้งผู้ใหญ่บ้านเป็นผู้ดูแล และมีกำนันเป็นผู้ดูแลในแต่ละตำบล อำเภอพุทธมณฑลมีการปกครองส่วนท้องถิ่น 2 รูปแบบคือ เทศบาล จำนวน 2 แห่ง และองค์การบริหารส่วนตำบล จำนวน 2 แห่ง ดังนี้
- เทศบาลตำบลศาลายา จัดตั้งโดยยกฐานะจากสุขาภิบาลศาลายา
- เทศบาลตำบลคลองโยง จัดตั้งโดยยกฐานะจากองค์การบริหารส่วนตำบลคลองโยง
- องค์การบริหารส่วนตำบลศาลายา
- องค์การบริหารส่วนตำบลมหาสวัสดิ์
ด้านประชากร จากการสำรวจข้อมูลจำนวนประชากร ปี 2560 พบว่า อำเภอพุทธมณฑลมีจำนวนประชากรทั้งสิ้น 40,463 คน แบ่งเป็นชาย จำนวน 19,381 คน และเป็นหญิง จำนวน 21,082 คน (ทีมา: สำนักงานสถิติจังหวัดนครปฐม)
ด้านเศรษฐกิจ เนื่องจากสภาพทางกายภาพของพื้นที่ในอำเภอพุทธมณฑลเป็นที่ราบลุ่มมีน้ำท่วมในฤดูน้ำหลาก และมีลำคลองอยู่เป็นจำนวนมาก ดังนั้นอาชีพที่มีอยู่ในพื้นที่อำเภอพุทธมณฑล ซึ่งถือเป็นอาชีพดั้งเดิมจึงต้องสอดคล้องกับสภาพทางภูมิศาสตร์ด้วย ได้แก่ การทำการเกษตร เช่น การทำนาข้าว แปลงผัก สวนผลไม้ นาบัว ต่อมาได้มีอาชีพอื่นๆ เพิ่มเติม เช่น การทำสวนกล้วยไม้ตัดดอก รับจ้างในโรงงานอุตสาหกรรมและบริษัทห้างร้านต่างๆ ซึ่งรายได้โดยเฉลี่ยของประชากรจะมีรายได้เฉลี่ย จำนวน 62,479.65 บาท/คน/ปี
ด้านสาธารณสุข ประกอบด้วย โรงพยาบาลรัฐบาล จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลพุทธมณฑล โรงพยาบาลกาญจนาภิเษก โรงพยาบาลตุลาการเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลเอกชน มี 1 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลศาลายา และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 5 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวัดสุวรรณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสาลวัน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมหาสวัสดิ์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองโยง1 และ คลองโยง2
ด้านการศึกษา อำเภอพุทธมณฑลมีโรงเรียนและสถาบันการศึกษาตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาลจนถึงระดับอุดมศึกษา ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอ ดังนี้1) ระดับอนุบาล จำนวน 4 แห่ง2) ระดับประถมศึกษา จำนวน 8 แห่ง 3) ระดับมัธยมศึกษา จำนวน 5 แห่ง 4) ระดับอาชีวศึกษา จำนวน 3 แห่ง5) ระดับอุดมศึกษา จำนวน 6 แห่ง 6) ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน จำนวน 2 แห่ง
ด้านการศาสนา
1) ศาสนาพุทธ มีวัดจำนวน 6 แห่ง ได้แก่ วัดมงคลประชาราม วัดมะเกลือ วัดเทพนิมิต วัดสาลวัน วัดสุวรรณาราม วัดหทัยนเรศวร์
2) ศาสนาคริสต์ มี 1 แห่ง ได้แก่ คริสตจักรร่มเย็นตลาดใหม่ศาลายา
3) ศาสนาอิสลาม ศาสนสถานของศาสนาอิสลามในจังหวัดนครปฐม มีอยู่แห่งเดียว คือ มัสยิดปากีสถาน (ปาทาน) ซึ่งตั้งอยู่ในอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม
แม่น้ำลำคลองในพื้นที่พุทธมณฑล ถือได้ว่าป็นต้นทุนสำคัญที่ครอบคลุมทั่วถึงทุกพื้นที่ ๓ ตำบล (ต.ศาลายา ต.มหาสวัสดิ์ ต.คลองโยง) ของอำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม พื้นที่นี้อยู่ในเขตลุ่มน้ำท่าจีน และมีคลองที่สำคัญที่หล่อเลี้ยงการดำเนินชีวิตของคนในชุมชน ได้แก่ คลองมหาสวัสดิ์ คลองโยง คลองนราภิรมย์ เป็นต้น ซึ่งชุมชนพุทธมณฑลมีวิถีการดำเนินชีวิตที่ผูกพันกับแม่น้ำ ลำคลอง ทั้งใช้ในการอุปโภคบริโภค การประกอบอาชีพ รวมถึงการเป็นเส้นทางสัญจร
อำเภอพุทธมณฑลเป็นพื้นที่ที่มีทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะแหล่งน้ำและเป็นพื้นที่ราบลุ่ม อากาศร้อนชื้น สภาพดินเป็นดินเหนียว อุ้มน้าได้ดี พื้นที่มีความอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การทำการเกษตร พื้นที่พุทธมณฑลจัดได้ว่าเป็นแหล่งที่อุดมสมบูรณ์ ดังนั้น ด้วยต้นทุนดังกล่าวจะทำให้คนในชุมชนอำเภอพุทธมณฑล โดยเฉพาะคนพื้นเพเดิมมักจะประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร เช่น นาข้าว นาบัว สวนผลไม้ เป็นต้น
อำเภอพุทธมณฑลถือเป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีวัฒนธรรมที่หลากหลาย ทั้งในเชิงรูปธรรมและนามธรรม หลายสิ่งถือเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของพื้นที่อำเภอพุทธมณฑล ที่ได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้จากรุ่นสู่รุ่นติดต่อมาอย่างยาวนาน กระทั่งกลายเป็นมรดกร่วมทางวัฒนธรรมของชุมชนความหลากหลายทางวัฒนธรรมของอำเภอพุทธมณฑลได้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปตามบริบททางสังคมและมูลเหตุปัจจัยแวดล้อมต่างๆ มีการแพร่กระจายทางสังคมและวัฒนธรรมความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ความเป็นพื้นที่ที่ติดกับเมืองหลวงซึ่งมีการแพร่กระจายทางวัฒนธรรมจากกรุงเทพมหานครที่เป็นเมืองศูนย์กลางที่มีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม การเข้ามาของคนใหม่ ระบบทางเศรษฐกิจ และสภาวะแวดล้อม ฯลฯ
พื้นที่อำเภอพุทธมณฑล เป็นพื้นที่ที่มีความสำคัญทางด้านประวัติศาสตร์ และยังเป็นจุดกลางที่เชื่อมศิลปวัฒนธรรม ศาสนา และการศึกษา เข้าไว้ด้วยกัน อีกทั้งพื้นที่แห่งนี้เป็นชุมชนเมืองกึ่งชนบท ที่มีมีการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งการพัฒนาชุมชนเพื่อให้เกิดความพร้อมในการรับมือถึงความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเป็นสิ่งสำคัญ
มหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งอยู่ในพื้นที่ ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ซึ่งพื้นที่ดังกล่าวเป็นพื้นที่สำคัญที่อาจารย์ นักวิจัย ได้ดำเนินโครงการและงานวิจัย และได้บูรณาการการเรียนการสอน และงานบริการวิชาการในพื้นที่ชุมชน
มหาวิทยาลัยมหิดลร่วมกับประชาคมพุทธมณฑล ได้ร่วมกันสำรวจข้อมูลอย่างเป็นระบบ ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง ระหว่างประชาชน ราชการ และมหาวิทยาลัย เพื่อนำมาจัดทำเป็นแผนพัฒนาพื้นที่เชิงบูรณาการ และประมวลความต้องการ และสิ่งที่ชุมชนให้คุณค่าอย่างแท้จริง ภายใต้การขับเคลื่อนงานปรัชญาเศรษบกิจพอเพียงด้วยพลังนิสิตนักศึกษา จากการทำเวทีประชาคมร่วมกัน พบว่าปัญหาที่สำคัญในพื้นที่ ได้แก่
- ปัญหาสิ่งแวดล้อม(ผักชวาในแม่น้ำลำคลอง การปล่อยน้ำเสีย ขยะ)
- การจัดการท่องเที่ยวชุมชนยังเป็นในรูปแบบเดิมขาดความรู้ในการพัฒนาด้านการท่องเที่ยว
- ขาดความรู้ความเข้าใจด้านการทำเกษตรปลอดสาร การใช้สารเคมีการการทำเกษตร
- ขาดการส่งเสริมด้านอาชีพ แผนพัฒนาการเรียนรู้ และพัฒนาศักยภาพชุมชน
จากการทำเวทีประชาคมร่วมกันจากประเด็นปัญหาชุมชนเห็นควรขับเคลื่อนกระบวนการพัฒนาร่วมกันใน 4 ประเด็น ดังนี้
1) การพัฒนาแม่น้ำลำคลอง และสิ่งแวดล้อมของชุมชน
2) การพัฒนาเกษตรกรรมปลอดภัย
3) การพัฒนาสัมมาชีพฐานชุมชน
4) การพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

การดำเนินโครงการผ่านกลุ่มนักศึกษารากแก้วมหาวิทยาลัยมหิดล โดยการบูรณาการการเรียนการสอนและความรู้ในแต่ละสาขาวิชา จากอาจารย์และบุคลากร คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คณะสัตวแพทย์ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย วิทยาลัยนานาชาติ (สาขาวิชาบริหารธุรกิจ) คณะวิศวะกรรมศาสตร์ สู่การปฏิบัติงานจริงในพื้นที่ชุมชน
หมายเหตุ: อยู่ระหว่างดำเนินการเทียบหน่วยกิต ในรายวิชาการศึกษาทั่วไป
องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงการ ได้แก่
1) เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
2) วิศวกรรมไฟฟ้า
3) วัฒนธรรม
4) การบริหารธุรกิจ
5) นวัตกรรมด้านการบริการ service innovation

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1) เพื่อพัฒนานวัตกรรมทางสังคมเพื่อแก้ปัญหาให้ชุมชน

นวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหาของชุมชน

2.00 2.00
2 2) เพื่อการบูรณาการการจัดการเรียนการสอน และกิจกรรมนักศึกษา นำความรู้สู่การปฏิบัติจริงในพื้นที่ชุมชนเป้าหมาย

นักศึกษาเกิดทักษะเกิดทักษะที่จำเป็นสำหรับศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ทักษะการแก้ปัญหา ทักษะการวิภาค ทักษะการสร้างสรรค์

80.00 80.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
1) ชุมชนตำบลศาลายา 20
2) ชุมชนตำบลมหาสวัสดิ์ 20
3) นักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล 15
4) อาจารย์ นักวิจัย และบุคลากรของมหาวิทยาลัยมหิดล 10

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 นักศึกษา อาจารย์ บุคลากร ร่วมกับชุมชน หาปัญหาของชุมชนอย่างเข้าใจ เข้าถึง และเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ

ชื่อกิจกรรม
นักศึกษา อาจารย์ บุคลากร ร่วมกับชุมชน หาปัญหาของชุมชนอย่างเข้าใจ เข้าถึง และเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ
วัตถุประสงค์
  1. 1) เพื่อพัฒนานวัตกรรมทางสังคมเพื่อแก้ปัญหาให้ชุมชน
  2. 2) เพื่อการบูรณาการการจัดการเรียนการสอน และกิจกรรมนักศึกษา นำความรู้สู่การปฏิบัติจริงในพื้นที่ชุมชนเป้าหมาย
รายละเอียดกิจกรรม
นักศึกษา เข้าอยู่อาศัยในชุมชนและร่วมเก็บข้อมูลภาคสนาม ด้วยการสัมภาษณ์ และสำรวจพื้นที่ชุมชนด้วยเครื่องมือ transect walk
(Empathize)
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
- ข้อมูลพื้นฐานที่เพิ่มเติมจากข้อมูลพื้นฐานเดิม และข้อมูลปัญหาของชุมชนที่มาจากชุมชนอย่างแท้จริง
- นักศึกษาเกิดทักษะการเก็บข้อมูล จากการปฏิบัติงานจริงในพื้นที่
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
-แกนนำชุมชน ต.ศาลายา และต.มหาสวัสดิ์
-อำเภอพุทธฒณฑล
- หน่วยงานท้องถิ่น ต.ศาลายา และ ต.มหาสวัสดิ์
-กลุ่มท่องท่องเที่ยวคลองมหาสวัสดิ์
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากรการบรรยายและฝึกปฏิบัติ (ภายใน)

2 คน 3,000 2 12,000
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าตอบแทนการประสานงาน (คนในพื้นที่ ผู้ให้ข้อมูล ผู้เก็บข้อมูล)

5 คน 500 4 10,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

50 คน 50 4 10,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารหลัก

50 คน 100 4 20,000
ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม 10 คน 300 2 6,000
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่ 1 ครั้ง 2,500 4 10,000
ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 1,000 1 1,000
อื่น ๆ

ค่าตอบแทนนักศึกษาลงพื้นที่

15 คน 300 8 36,000
อื่น ๆ

ค่าตอบแทนอาจารย์และเจ้าหน้าที่ลงพื้นที่

10 คน 420 8 33,600
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่าวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการจัดประชุม จัดกิจกรรม และลงพื้นที่ เช่น กระดาษปรู๊ฟ กระดาษถ่ายA4 แฟ้มพลาสติกใส ปากกาลูกลื่น ปากกาเคมี์ หมึกพิมพ์ วัสดุคอมพิวเตอร์ กระเป๋าผ้า เป็นต้น

1 ชุด 2,000 1 2,000
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าถ่ายเอกสาร ค่าเข้าเล่ม (เอกสารประกอบที่ใช้ในโครงการฯ คู่มือการทำงานร่วมกับชุมชน เอกสารความรู้)

1 ชุด 1,000 1 1,000
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าตอบแทนการประสานงาน (คนในพื้นที่ ผู้ให้ข้อมูล ผู้เก็บข้อมูล)

5 คน 500 2 5,000
รวมค่าใช้จ่าย 146,600

กิจกรรมที่ 2 ระบุปัญหา ความต้องการของชุมชนอย่างแท้จริง

ชื่อกิจกรรม
ระบุปัญหา ความต้องการของชุมชนอย่างแท้จริง
วัตถุประสงค์
  1. 1) เพื่อพัฒนานวัตกรรมทางสังคมเพื่อแก้ปัญหาให้ชุมชน
  2. 2) เพื่อการบูรณาการการจัดการเรียนการสอน และกิจกรรมนักศึกษา นำความรู้สู่การปฏิบัติจริงในพื้นที่ชุมชนเป้าหมาย
รายละเอียดกิจกรรม
จัดประชุมเชิงปฏิบัติการคิดเชิงออกแบบ วิเคราะห์ปัญหา ตั้งโจทย์ เพื่อแก้ปัญหาที่แท้จริงของชุมชน (Define)
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
- ข้อมูลปัญหาและความต้องการของชุมชนจากชุมชน
- นักศึกษาเกิดทักษะการคิดวิเคราะห์
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
-แกนนำชุมชน ต.ศาลายา และต.มหาสวัสดิ์
-อำเภอพุทธฒณฑล
- หน่วยงานท้องถิ่น
ต.ศาลายา และ ต.มหาสวัสดิ์
-กลุ่มท่องท่องเที่ยวคลองมหาสวัสดิ์
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากรการบรรยายและฝึกปฏิบัติ (ภายใน)

1 คน 3,000 2 6,000
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าตอบแทนการประสานงาน (คนในพื้นที่ ผู้ให้ข้อมูล ผู้เก็บข้อมูล)

5 คน 500 2 5,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

40 คน 50 3 6,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารหลัก

40 คน 100 3 12,000
ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม 10 คน 300 2 6,000
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่ 1 ครั้ง 2,500 2 5,000
อื่น ๆ

ค่าตอบแทนนักศึกษาลงพื้นที่

15 คน 300 2 9,000
อื่น ๆ

ค่าตอบแทนอาจารย์และเจ้าหน้าที่ลงพื้นที่

5 คน 420 2 4,200
ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 1,000 1 1,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่าวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการจัดประชุม จัดกิจกรรม และลงพื้นที่ เช่น กระดาษปรู๊ฟ กระดาษถ่ายA4 แฟ้มพลาสติกใส ปากกาลูกลื่น ปากกาเคมี์ หมึกพิมพ์ วัสดุคอมพิวเตอร์ กระเป๋าผ้า เป็นต้น

1 ชุด 1,000 2 2,000
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าถ่ายเอกสาร ค่าเข้าเล่ม (เอกสารประกอบที่ใช้ในโครงการฯ คู่มือการทำงานร่วมกับชุมชน เอกสารความรู้)

1 คน 1,000 2 2,000
รวมค่าใช้จ่าย 58,200

กิจกรรมที่ 3 ระดมสมองหาทางแก้ไข โดยการบูรณาการศาสตร์พระราชา ภูมิปัญญาชาวบ้าน และศาสตร์สากล

ชื่อกิจกรรม
ระดมสมองหาทางแก้ไข โดยการบูรณาการศาสตร์พระราชา ภูมิปัญญาชาวบ้าน และศาสตร์สากล
วัตถุประสงค์
  1. 1) เพื่อพัฒนานวัตกรรมทางสังคมเพื่อแก้ปัญหาให้ชุมชน
  2. 2) เพื่อการบูรณาการการจัดการเรียนการสอน และกิจกรรมนักศึกษา นำความรู้สู่การปฏิบัติจริงในพื้นที่ชุมชนเป้าหมาย
รายละเอียดกิจกรรม
จัดประชุมเชิงปฏิบัติการระดมมสมองเพื่อพัฒนานวัตกรรมทางสังคม (Ideate)
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2563 ถึง 30 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
- ข้อมูลสรุปแนวทางการแก้ปัญหาของชุมชน
- นักศึกษาเกิดทักษะการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา และการวิภาค
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
-แกนนำชุมชน ต.ศาลายา และต.มหาสวัสดิ์
-อำเภอพุทธฒณฑล
- หน่วยงานท้องถิ่นต.ศาลายา และ ต.มหาสวัสดิ์
-กลุ่มท่องท่องเที่ยวคลองมหาสวัสดิ์
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากรการบรรยายและฝึกปฏิบัติ (ภายใน)

2 คน 3,000 2 12,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนการประสานงาน (คนในพื้นที่ ผู้ให้ข้อมูล ผู้เก็บข้อมูล)

5 คน 500 2 5,000
ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม 5 คน 300 2 3,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

40 คน 50 2 4,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารหลัก

40 คน 100 2 8,000
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่ 2 ครั้ง 2,500 2 10,000
อื่น ๆ

ค่าตอบแทนนักศึกษาลงพื้นที่

15 คน 300 2 9,000
อื่น ๆ

ค่าตอบแทนอาจารย์และเจ้าหน้าที่ลงพื้นที่

5 คน 420 2 4,200
ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 1,000 1 1,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่าวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการจัดประชุม จัดกิจกรรม และลงพื้นที่ เช่น กระดาษปรู๊ฟ กระดาษถ่ายA4 แฟ้มพลาสติกใส ปากกาลูกลื่น ปากกาเคมี์ หมึกพิมพ์ วัสดุคอมพิวเตอร์ กระเป๋าผ้า เป็นต้น

1 ชุด 1,000 2 2,000
ค่าถ่ายเอกสาร 1 ชุด 1,000 2 2,000
รวมค่าใช้จ่าย 60,200

กิจกรรมที่ 4 4) พัฒนานวัตกรรมทางสังคมเพื่อแก้ปัญหาให้ชุมชน

ชื่อกิจกรรม
4) พัฒนานวัตกรรมทางสังคมเพื่อแก้ปัญหาให้ชุมชน
วัตถุประสงค์
  1. 1) เพื่อพัฒนานวัตกรรมทางสังคมเพื่อแก้ปัญหาให้ชุมชน
  2. 2) เพื่อการบูรณาการการจัดการเรียนการสอน และกิจกรรมนักศึกษา นำความรู้สู่การปฏิบัติจริงในพื้นที่ชุมชนเป้าหมาย
รายละเอียดกิจกรรม
ออกแบบนวัตกรรมทางสังคมเพื่อแก้ปัญหาของชุมชน สร้าง prototype ด้วยกระบวนการ Co-creation (Prototype)
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พ.ค. 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
- นวัตกรรมทางสังคม ที่แก้ปัญหาชุมชน
- นักศึกษาเกิดทักษะการคิดวิเคราะห์ และการสร้างสรรค์
ทรัพยากรอื่น ๆ
-แกนนำชุมชน ต.ศาลายา และต.มหาสวัสดิ์
-อำเภอพุทธมณฑล
- หน่วยงานท้องถิ่น ต.ศาลายา และ ต.มหาสวัสดิ์
-กลุ่มท่องท่องเที่ยวคลองมหาสวัสดิ์
ภาคีร่วมสนับสนุน
-แกนนำชุมชน ต.ศาลายา และต.มหาสวัสดิ์
-อำเภอพุทธฒณฑล
- หน่วยงานท้องถิ่น
ต.ศาลายา และ ต.มหาสวัสดิ์
-กลุ่มท่องท่องเที่ยวคลองมหาสวัสดิ์
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากรการบรรยายและฝึกปฏิบัติ (ภายใน)

1 คน 3,000 3 9,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนการประสานงาน (คนในพื้นที่ ผู้ให้ข้อมูล ผู้เก็บข้อมูล)

5 คน 500 3 7,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

40 คน 50 3 6,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารหลัก

40 คน 100 3 12,000
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่ 1 เที่ยว 2,500 3 7,500
อื่น ๆ

ค่าตอบแทนนักศึกษาลงพื้นที่

15 คน 300 3 13,500
อื่น ๆ

ค่าตอบแทนอาจารย์และเจ้าหน้าที่ลงพื้นที่

5 คน 420 3 6,300
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่าวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการจัดประชุม จัดกิจกรรม และลงพื้นที่ เช่น กระดาษปรู๊ฟ กระดาษถ่ายA4 แฟ้มพลาสติกใส ปากกาลูกลื่น ปากกาเคมี์ หมึกพิมพ์ วัสดุคอมพิวเตอร์ กระเป๋าผ้า เป็นต้น

1 ชุด 1,000 3 3,000
อื่น ๆ

ค่าถ่ายเอกสาร ค่าเข้าเล่ม (เอกสารประกอบที่ใช้ในโครงการฯ คู่มือการทำงานร่วมกับชุมชน เอกสารความรู้)

1 ชุด 500 3 1,500
อื่น ๆ

ค่าใช้สอยในการจัดทำนวัตกรรมทางสังคมเพื่อชุมชน (จ้างเหมา)

2 ชุด 40,000 1 80,000
รวมค่าใช้จ่าย 146,300

กิจกรรมที่ 5 5) ทดสอบนวัตกรรม แก้ไข ปรับปรุง และการนำไปใช้ในชุมชน

ชื่อกิจกรรม
5) ทดสอบนวัตกรรม แก้ไข ปรับปรุง และการนำไปใช้ในชุมชน
วัตถุประสงค์
  1. 1) เพื่อพัฒนานวัตกรรมทางสังคมเพื่อแก้ปัญหาให้ชุมชน
  2. 2) เพื่อการบูรณาการการจัดการเรียนการสอน และกิจกรรมนักศึกษา นำความรู้สู่การปฏิบัติจริงในพื้นที่ชุมชนเป้าหมาย
รายละเอียดกิจกรรม
นำนวัตกรรมที่ออกแบบ ไปทดสอบในพื้นที่ชุมชน แก้ไข และปรับปรุงให้สมบูรณ์ พร้อมนำไปใช้ในชุมขน (Test)
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2562
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
- ได้นวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหาชุมชน
- นักศึกษาเกิดทักษะการคิดวิเคราะห์ และการสร้างสรรค์จากการปฏิบัติงานจริงในพื้นที่
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
-แกนนำชุมชน ต.ศาลายา และต.มหาสวัสดิ์
-อำเภอพุทธฒณฑล
- หน่วยงานท้องถิ่น ต.ศาลายา และ ต.มหาสวัสดิ์
-กลุ่มท่องท่องเที่ยวคลองมหาสวัสดิ์
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากรการบรรยายและฝึกปฏิบัติ (ภายใน)

1 คน 3,000 1 3,000
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าตอบแทนการประสานงาน (คนในพื้นที่ ผู้ให้ข้อมูล ผู้เก็บข้อมูล)

5 คน 500 1 2,500
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ผลงาน

1 ชุด 20,000 1 20,000
ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 1,000 1 1,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

50 คน 50 1 2,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหารหลัก

50 คน 100 1 5,000
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่ 1 ครั้ง 2,500 1 2,500
อื่น ๆ

ค่าตอบแทนนักศึกษาลงพื้นที่และจัดกิจกรรม

15 คน 300 1 4,500
อื่น ๆ

ค่าตอบแทนอาจารย์และเจ้าหน้าที่ลงพื้นที่และจัดกิจกรรม

10 คน 420 1 4,200
อื่น ๆ

ค่าใช้สอยในการดำเนินการและจัดกิจกรรมทดสอบนวัตกรรม

1 ครั้ง 40,000 1 40,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่าวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการจัดประชุม จัดกิจกรรม และลงพื้นที่ เช่น กระดาษปรู๊ฟ กระดาษถ่ายA4 แฟ้มพลาสติกใส ปากกาลูกลื่น ปากกาเคมี์ หมึกพิมพ์ วัสดุคอมพิวเตอร์ กระเป๋าผ้า เป็นต้น

1 ชุด 2,000 1 2,000
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าถ่ายเอกสาร ค่าเข้าเล่ม (เอกสารประกอบโครงการฯ เอกสารความรู้ เอกสารรายงาน)

1 ชุด 1,500 1 1,500
รวมค่าใช้จ่าย 88,700

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 92,000.00 20,000.00 131,000.00 11,000.00 246,000.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 18.40% 4.00% 26.20% 2.20% 49.20% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) นวัตกรรมทางสังคมเพื่อแก้ปัญหาชุมชน นักศึกษาเกิดทักษะการคิดวิเคราะห์การแก้ปัญหา การวิภาค การสร้างสรรค์จากการปฏิบัติงานในพื้นที่จริง
ผลลัพธ์ (Outcome) ปัญหาของชาวบ้านได้รับการแก้ปัญหาจากการพัฒนานวัตกรรมทางสังคม พัฒนาศักยภาพ และเพิ่มองค์ความรู้ในการนำมาประยุกต์ใช้กับการเรียน
ผลกระทบ (Impact) ชุมชน เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมดีขึ้น เกิดกลุ่มนักศึกษาที่มีความรู้ความสามารถในการทำงานด้านชุมชนและสังคม
นำเข้าสู่ระบบโดย Thanomsri Thanomsri เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 11:31 น.