การพัฒนาหมู่บ้านเกษตรอินทรีย์สำหรับเกษตรกรผู้ปลูกสมุนไพรแบบมีส่วนร่วมตามแนวพระราชดำริ

แบบเสนอโครงการ
การพัฒนาหมู่บ้านเกษตรอินทรีย์สำหรับเกษตรกรผู้ปลูกสมุนไพรแบบมีส่วนร่วมตามแนวพระราชดำริ

1. ชื่อโครงการ

การพัฒนาหมู่บ้านเกษตรอินทรีย์สำหรับเกษตรกรผู้ปลูกสมุนไพรแบบมีส่วนร่วมตามแนวพระราชดำริมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติภาควิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร1) คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร 2) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ 3) องค์การบริหารส่วนตำบลยอดแกง 4) มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ 4) โรงเรียนกาฬสินธ์ุพิทยาสรรชุมชนตำบลยอดแกง อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์ผู้ช่วยศาสตราจารย์รุจิกาญจน์ ศิริวาลย์59/5 หมู่ 1 ถนน วปรอ ต.เชียงเครือ อ.เมือง จ.สกลนคร 47000062-5415558, 042-7250331) ดร.นงค์ลักษณ์ เหลาพรม ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
2) ดร.สุทธิเดช ปรีชารัมย์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
3) ดร.ณภสินธุ์ พัฒนากุล ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
4) นางลักษณาวดี ทรายขาว ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
5) นางสาวพัชรินทร์ นันทพันธ์ นักวิทยาศาสตร์ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
6) นางสาวอาภรณ์ ศรีมาตร นักวิทยาศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร
7) นายธนะสรรค์ ศิริวาลย์ ผู้จัดการบริษัทประชารัฐรักสามัคคี (วิสาหกิจเพื่อสังคม) สกลนคร

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ นามน ยอดแกง

3. รายละเอียดชุมชน

บ้านยอดแกง ตำบลยอดแกง อำเภอนาคู จังหวัดกาฬสินธุ์ อยู่ห่างจากอำเภอนามน 9 กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดกาฬสินธุ์ 33 กิโลเมตร ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของจังหวัดกาฬสินธุ์ แบ่งการปกครองเป็น หมู่ 1 และหมู่ 2 มีครัวเรือนจำนวน 277 ครัวเรือน มีประชากรทั้งสิ้น 1,042 คน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเป็นเกษตรกร ปลูกพืชเศรษฐกิจ เช่น อ้อย และมันสำปะหลัง ซึ่งมีการใช้สารเคมีในการกำจัดวัชพืชและป้องกันศัตรูพืชจำนวนมาก (องค์การบริหารส่วนตำบลยอดแกง, 2562) ก่อให้เกิดมลพิษ ส่งผลให้มีปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของคนในชุมชนพื้นที่ ตำบลยอดแกง อำเภอนาคู จังหวัดกาฬสินธุ์ ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เกษตรกรรม ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกร เหมาะแก่การเกษตรกรรมและหากส่งเสริมให้มุ่งเน้นและส่งเสริมการปลูกสมุนไพร สร้างความตระหนักเพื่อลด ละ เลิก การใช้สารเคมี เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการทำเกษตรแบบเดิมนำไปสู่เกษตรอินทรีย์ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อีกทั้งเป็นการส่งเสริมและสร้างมาตรฐานวัตถุดิบสมุนไพรในพื้นที่ (ต้นน้ำ) การแปรรรูปวัตถุดิบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ (กลางน้ำ) และสร้างช่องทางในการจัดจำหน่าย (ปลายน้ำ)ต่อไป นำไปสู่คุณภาพชีวิตที่ดีในด้านต่างๆ ได้แก่ รายได้ดี สุขภาพดี สิ่งแวดล้อมดี คุณธรรมดี อย่างยั่งยืนประชาชนโดยส่วนใหญ่ในพื้นที่บ้านยอดแกง ตำบลยอดแกง อำเภอนาคู จังหวัดกาฬสินธุ์มีอาชีพเกษตรกรรม มีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชและวัชพืชควบคู่กันไปด้วย เมื่อลงพื้นที่สอบถามข้อมูลเบื้องต้น พบว่าเกษตรกรส่วนใหญ่ที่ใช้สารเคมี ให้เหตุผลว่า หาซื้อง่าย ไม่ต้องใช้แรงงานมาก ให้ผลเร็ว มองประโยชน์ระยะสั้นมากกว่า โดยให้ความสำคัญน้อยมากเกี่ยวกับความปลอดภัยจากสารเคมีที่จะส่งต่อไปยังผู้บริโภคและตัวเกษตรกรเอง ดังนั้นจึงมีแนวความคิดว่าทำอย่างไรจึงจะสามารถแก้ไขปัญหานี้ได้ โดยมุ่งเน้นการสร้างความตระหนักเพื่อลด ละ เลิก การใช้สารเคมี เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการทำเกษตรแบบเดิมนำไปสู่เกษตรอินทรีย์ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มุ่งเน้นและส่งเสริมการปลูกสมุนไพรซึ่งสอดคล้องกับแผนแม่บทสมุนไพรแห่งชาติ (พ.ศ.2560-2564) ว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทย “เพื่อความมั่นคงทางสุขภาพและความยั่งยืนของเศรษฐกิจไทย” โดยคนในชมชุมมีส่วนร่วมในการกำหนดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมดังกล่าวตามหลักเกษตรอินทรีย์และเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในมิติต่างๆทั้งทางตรงและทางอ้อม ได้แก่ 1) ด้านสุขภาพ : เกษตรอินทรีย์ควรจะต้องส่งเสริมและสร้างความยั่งยืนให้กับสุขภาพอย่างเป็นองค์รวมของดิน พืช สัตว์ มนุษย์ และโลก 2) ด้านนิเวศวิทยา: เกษตรอินทรีย์ควรจะต้องตั้งอยู่บนรากฐานของระบบนิเวศวิทยาและวัฐจักรแห่งธรรมชาติ การผลิตการเกษตรจะต้องสอดคล้องกับวิถีแห่งธรรมชาติ และช่วยทำให้ระบบและวัฐจักรธรรมชาติเพิ่มพูนและยั่งยืนมากขึ้น 3) ด้านความเป็นธรรม: เกษตรอินทรีย์ควรจะตั้งอยู่บนความสัมพันธ์ที่มีความเป็นธรรมระหว่างสิ่งแวดล้อมโดยรวมและสิ่งมีชีวิต 4) ด้านการดูแลเอาใจใส่: การบริหารจัดการเกษตรอินทรีย์ควรจะต้องดำเนินการอย่างระมัดระวังและรับผิดชอบ เพื่อปกป้องสุขภาพและความเป็นอยู่ของผู้คนทั้งในปัจจุบันและอนาคต รวมทั้งพิทักษ์ปกป้องสภาพแวดล้อมโดยรวมด้วย เพื่อให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็ง เกิดความพอเพียงในวิถีปฏิบัติอย่างแท้จริงนำไปสู่คุณภาพชีวิตที่ดี 4 ด้าน ได้แก่ 1) รายได้ดี: เกษตรกรเป็นเกษตรกรเชิงประณีต ปลอดสารพิษ และเข้าถึงแหล่งจัดจำหน่าย สร้างรายได้ลดรายจ่ายและอยู่อย่างพอเพียง 2) สุขภาพดี: เกษตรกรตระหนักในการดูแลสุขภาพ ลดความเสี่ยงจากการรับสารเคมี อันก่อให้เกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) ซึ่งสอดคล้องกับรายงานสถาณการโรค (สำนักงานสาธารณสุข) พบว่าประชาชนมีอัตราความเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) สูง ซึ่งมีผลโดยตรงจากการทำงานของตับและไต จากการได้รับสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย จึงมีความจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตั้งแต่ต้นน้ำของอาหาร 3) สิ่งแวดล้อมดี: สภาพของดินและน้ำในพื้นที่ เหมาะแก่การอยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต 4) คุณธรรมดี: เกษตรกรต้นน้ำ คำนึงถึงคุณภาพของผลผลิตและใส่ใจผู้บริโภค อย่างยั่งยืน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

รูปแบบ(Model)การพัฒนาเกษตรอินทรีย์แบบการมีส่วนร่วม มีองค์ประกอบ คือ 1. รายได้ดี 2.สุขภาพดี 3.สิ่งแวดล้อมดี 4.คุณธรรมดี มีกระบวนการดังนี้
1. สร้างความตระหนักรู้ถึงพิษภัยของสารเคมีทางการเกษตรที่มีต่อร่างกาย ด้วยการตรวจหาค่าคลอรีนเอสเตอเรส และทางด้านสิ่งแวดล้อมโดยการตรวจสารตกค้างในดินและน้ำในพื้นที่
2. ให้ความรู้เรื่องเกษตรอินทรีย์ แบบ ห่วงโซ่อุปทาน
3. สร้างกลุ่มเพื่อสร้างความเข้มแข็ง
4. โรงเรือนแบบใช้น้ำน้อย

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถสร้างรูปแบบการพัฒนาหมู่บ้านเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วมตามแนวทางพระราชดำริที่สอดคล้องต่อความต้องการของชุมชน 2. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้การพัฒนาหมู่บ้านเกษตรอินทรีย์ตั้งแต่ต้นทาง คือ กระบวนการผลิตวัตถุดิบ กลางทาง คือ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ และปลายน้ำ คือ ช่องทางการตลาด ให้กับชุมชน 3. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพ ให้กับชุมชน

เชิงปริมาณ : 1. เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการอย่างมีความรู้เกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์
2. ผลิตภัณฑ์ในครัวเรือน 3. ช่องทางการตลาด
เชิงคุณภาพ : 1. ชาวบ้านมีสุขภาพดีขึ้น 2. ทางด้านเศรษฐกิจ
3. ทางด้านสังคม เกิดการรวมกลุ่มของเกษตรกร เชิงเวลา : ร้อยละของโครงการที่ดำเนินแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด เชิงค่าใช้จ่าย : ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร

1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
เกษตรกรในพื้นที่ ต.ยอดแกง อ.นามน จ.กาฬสินธุ์ 100

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 2. ประชาสัมพันธ์การดำเนินโครงการ

ชื่อกิจกรรม
2. ประชาสัมพันธ์การดำเนินโครงการ
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    ประชาสัมพันธ์การดำเนินโครงการ
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 มกราคม 2563 ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    เกษตรกรและคนในพื้นที่ทราบข่าวสารและกิจกรรมโครงการ
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    1) คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร 2) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ 3) องค์การบริหารส่วนตำบลยอดแกง 4) มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ 4) โรงเรียนกาฬสินธ์ุพิทยาสรร
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    รวมค่าใช้จ่าย 0

    กิจกรรมที่ 2 3. ตรวจสารเคมีตกค้างในดินและน้ำ ในพื้นที่กลุ่มเป้าหมาย

    ชื่อกิจกรรม
    3. ตรวจสารเคมีตกค้างในดินและน้ำ ในพื้นที่กลุ่มเป้าหมาย
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      เก็บตัวอย่างดินและน้ำเพื่อตรวจวิเคราะห์สารตกค้างจากการใช้สารเคมีทางการเกษตร
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      ถึง
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      ผลวิเคราะห์สารตกค้างในดินและน้ำ ทำให้ทราบพฤติกรรมและปริมาณการใช้สารเคมีทางการเกษตร และทำให้เกษตรกรตระหนักถึงอันตราย
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      รวมค่าใช้จ่าย 0

      กิจกรรมที่ 3 4. ตรวจหาค่าคลอรีนเอสเตอเรสในเลือดเกษตรกร

      ชื่อกิจกรรม
      4. ตรวจหาค่าคลอรีนเอสเตอเรสในเลือดเกษตรกร
      วัตถุประสงค์
        รายละเอียดกิจกรรม
        ตรวจหาค่าคลอรีนเอสเตอเรสในเลือดเกษตรกร
        ระยะเวลาดำเนินงาน
        1 มกราคม 2563 ถึง
        ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
        ผลการตรวจสารตกค้างในเลือด ทำให้เกษตรกรตระหนักถึงอัตรายาของสารเคมีต่อสุขภาพ
        ทรัพยากรอื่น ๆ
        ภาคีร่วมสนับสนุน
        รายละเอียดงบประมาณ
        ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
        รวมค่าใช้จ่าย 0

        กิจกรรมที่ 4 6. การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรอินทรีย์

        ชื่อกิจกรรม
        6. การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรอินทรีย์
        วัตถุประสงค์
          รายละเอียดกิจกรรม
          การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรอินทรีย์
          ระยะเวลาดำเนินงาน
          1 มกราคม 2563 ถึง
          ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
          เกษตรกรและคนในชุมชนเข้าใจรูปแบบเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรอินทรีย์ ตลอดจนนำไปเป็นแนวทางปฏิบัติและดำเนินชีวิตในชุมชนอย่างยั่งยืน
          ทรัพยากรอื่น ๆ
          ภาคีร่วมสนับสนุน
          รายละเอียดงบประมาณ
          ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
          รวมค่าใช้จ่าย 0

          กิจกรรมที่ 5 7. การอบรมเชิงปฏิบัติการ การแปรรูปวัตถุดิบเกษตรอินทรีย์ที่ได้จากชุมชนและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐาน

          ชื่อกิจกรรม
          7. การอบรมเชิงปฏิบัติการ การแปรรูปวัตถุดิบเกษตรอินทรีย์ที่ได้จากชุมชนและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐาน
          วัตถุประสงค์
            รายละเอียดกิจกรรม
            การอบรมเชิงปฏิบัติการ การแปรรูปวัตถุดิบเกษตรอินทรีย์ที่ได้จากชุมชนและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐาน
            ระยะเวลาดำเนินงาน
            1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง
            ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
            เกษตรกรและคนในชุมชนสามารถผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์จากชุมชนเพื่อใช้และจัดจำหน่ายต่อไป
            ทรัพยากรอื่น ๆ
            ภาคีร่วมสนับสนุน
            รายละเอียดงบประมาณ
            ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
            รวมค่าใช้จ่าย 0

            กิจกรรมที่ 6 5. จัดทำแผนที่เกษตรอินทรีย์ชุมชน

            ชื่อกิจกรรม
            5. จัดทำแผนที่เกษตรอินทรีย์ชุมชน
            วัตถุประสงค์
              รายละเอียดกิจกรรม
              จัดทำแผนที่เกษตรอินทรีย์ชุมชน
              ระยะเวลาดำเนินงาน
              1 มกราคม 2563 ถึง
              ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
              ได้แผนที่เกษตรอินทรีย์เป็นฐานข้อมูลเกี่ยวกับวัตถุดิบทางการเกษตรเพื่อการจัดจำหน่ายต่อไป
              ทรัพยากรอื่น ๆ
              ภาคีร่วมสนับสนุน
              รายละเอียดงบประมาณ
              ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
              รวมค่าใช้จ่าย 0

              กิจกรรมที่ 7 8. อบรมและพัฒนาช่องทางการตลาด

              ชื่อกิจกรรม
              8. อบรมและพัฒนาช่องทางการตลาด
              วัตถุประสงค์
                รายละเอียดกิจกรรม
                อบรมและพัฒนาช่องทางการตลาด
                ระยะเวลาดำเนินงาน
                1 มีนาคม 2563 ถึง
                ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
                มีช่องทางทางการตลาดในการจัดจำหน่ายสินค้าเกษตรอินทรีย์และสินค้าอื่นๆจากชุมชน
                ทรัพยากรอื่น ๆ
                ภาคีร่วมสนับสนุน
                รายละเอียดงบประมาณ
                ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
                รวมค่าใช้จ่าย 0

                กิจกรรมที่ 8 9. ประเมินผลโครงการ

                ชื่อกิจกรรม
                9. ประเมินผลโครงการ
                วัตถุประสงค์
                  รายละเอียดกิจกรรม
                  ประเมินการดำเนินโครงการโครงการร่วมกับเกษตรกร ผู้นำชุมชน และภาคีเครือข่าย
                  ระยะเวลาดำเนินงาน
                  1 เมษายน 2563 ถึง
                  ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
                  ได้แนวทางปฏิบัติร่วมกันของคนในชุมชนนำไปสู่ภาวะที่มีสุขภาพดี รายได้ดี สิ่งแวดล้อมดี และคุณธรรมดี
                  ทรัพยากรอื่น ๆ
                  ภาคีร่วมสนับสนุน
                  รายละเอียดงบประมาณ
                  ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
                  รวมค่าใช้จ่าย 0

                  กิจกรรมที่ 9 11. เขียนรายงานฉบับสมบูรณ์

                  ชื่อกิจกรรม
                  11. เขียนรายงานฉบับสมบูรณ์
                  วัตถุประสงค์
                    รายละเอียดกิจกรรม
                    เขียนรายงานฉบับสมบูรณ์
                    ระยะเวลาดำเนินงาน
                    1 เมษายน 2563 ถึง
                    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
                    ขยายผลความสำเร็จโครงการไปยังพื้นที่ใกล้เคียง
                    ทรัพยากรอื่น ๆ
                    ภาคีร่วมสนับสนุน
                    รายละเอียดงบประมาณ
                    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
                    รวมค่าใช้จ่าย 0

                    กิจกรรมที่ 10 1. ประชุมเพื่อเตรียมความพร้อมและรายงานผลการดำเนินงาน

                    ชื่อกิจกรรม
                    1. ประชุมเพื่อเตรียมความพร้อมและรายงานผลการดำเนินงาน
                    วัตถุประสงค์
                      รายละเอียดกิจกรรม
                      ประชุมเพื่อเตรียมความพร้อมและรายงานผลการดำเนินงาน
                      ระยะเวลาดำเนินงาน
                      1 มกราคม 2563 ถึง
                      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
                      มีแผนการดำเนินงานอย่างชัดเจนและสรุปประเด็นปัญหาแต่ละครั้งในการลงพื้นที่ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงโครงการ
                      ทรัพยากรอื่น ๆ
                      ภาคีร่วมสนับสนุน
                      1) คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร 2) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ 3) องค์การบริหารส่วนตำบลยอดแกง 4) มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ 4) โรงเรียนกาฬสินธ์ุพิทยาสรร
                      รายละเอียดงบประมาณ
                      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
                      รวมค่าใช้จ่าย 0

                      กิจกรรมที่ 11 10. สรุปผลการดำเนินงาน และนำเสนอผลงาน เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องนำไปใช้ประโยชน์

                      ชื่อกิจกรรม
                      10. สรุปผลการดำเนินงาน และนำเสนอผลงาน เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องนำไปใช้ประโยชน์
                      วัตถุประสงค์
                        รายละเอียดกิจกรรม
                        สรุปผลการดำเนินงาน และนำเสนอผลงาน เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องนำไปใช้ประโยชน์
                        ระยะเวลาดำเนินงาน
                        1 เมษายน 2563 ถึง
                        ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
                        ได้แนวทางปฏิบัติร่วมกันของคนในชุมชน
                        ทรัพยากรอื่น ๆ
                        ภาคีร่วมสนับสนุน
                        รายละเอียดงบประมาณ
                        ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
                        รวมค่าใช้จ่าย 0

                        รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 485.00 บาท

                        รวมเงิน
                        ค่าใช้จ่าย (บาท) 0.00
                        เปอร์เซ็นต์ (%) 100.00%

                        11. งบประมาณ

                        485.00บาท

                        12. การติดตามประเมินผล

                        ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
                        ผลผลิต (Output) รูปแบบการพัฒนาชุมชนเกษตรอินทรีย์ ตามแนวทางพระราชดำริ โดยพัฒนา 3 ระยะ คือ ต้นทาง กลางทาง และปลายทาง 1) มีการถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชมชน
                        ผลลัพธ์ (Outcome) 1.ทางด้านสุขภาพ ส่งผลให้สุขภาพเกษตรกรดีขึ้นจากการทำเกษตรอินทรีย์
                        2.ทางด้านเศรษฐกิจ เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการจัดจำหน่ายวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ที่มีคุณภาพ
                        ตามความต้องการของตลาด
                        3.ทางด้านสังคม เกิดการรวมกลุ่มของเกษตรกรหรือวิสาหกิจชุมชน เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐาน
                        4.เกษตรกรมีความรู้ในการจัดจำหน่ายวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์
                        1) ตระหนักถึงภาวะทางด้านสุขภาพ ด้านเศรษฐกิจ และสังคม
                        ผลกระทบ (Impact) เกษตรกรในชุมชนได้ตระหนัก และเห็นความสำคัญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่สามารถปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตสร้างสุขภาพที่ดี สร้างรายได้อย่างยั่งยืน เกิดการนำรูปแบบการพัฒนาชุมชนเกษตรอินทรีย์ ตามแนวทางพระราชดำริ ไปใช้ในวงกว้าง ขยายไปในหลายๆชุมชน สร้างสุขภาพที่ดี ลดค่าใช้จ่ายด้านการดูแลสุขภาพของภาครัฐ ประชาชนมีความรู้ในการสร้างรายได้จากการพัฒนาผลิตภัณฑ์อินทรีย์อย่างยั่งยืน และสร้างรายได้ต่อหัวประชากรให้เพิ่มขึ้น เข้าใจหลักเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถประยุกต์ใช้ในครอบครัวตลอดจนสามารถถ่ายทององค์ความรู้แก่คนใกล้ชิดและครอบครัวได้
                        นำเข้าสู่ระบบโดย rujikarn rujikarn เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 11:16 น.