โครงการพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์จากรังไหมเพื่อสร้างรายได้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง

แบบเสนอโครงการ
โครงการพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์จากรังไหมเพื่อสร้างรายได้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง

1. ชื่อโครงการ

โครงการพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์จากรังไหมเพื่อสร้างรายได้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมคณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนครคณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนครชุมชนในเขตพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์อาจารย์ ดร.ภูริชชญา แตปรเมศามัยคณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร เลขที่ 59 หมู่ 1 ตำบลเชียงเครือ อำเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร 47000089-712-4041 , 085-925-2825อาจารย์ ดร.ภูริชชญา แตปรเมศามัย

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ ชนบท

3. รายละเอียดชุมชน

การสร้างความเข้มแข็งของระบบเศรษฐกิจภายในประเทศ (Local Economy) และสร้างความสมดุลในการพัฒนาเศรษฐกิจจากภายในสู่ภายนอก (Local to Global) อันจะส่งผลต่อการสร้างความมั่นคง มั่งคั่ง ให้แก่ประเทศในระยะยาว การผลิตสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (Geographical Indications : GI) ในชุมชน หมู่บ้าน อำเภอ จังหวัด ถือเป็นเศรษฐกิจฐานรากของประเทศ ที่จะต้องได้รับการส่งเสริมเพื่อเชื่อมโยงตั้งแต่การพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต การบริหารจัดการ การใช้เทคโนโลยี และการพัฒนานวัตกรรมให้เกิดประโยชน์เชิงพาณิชย์ รวมทั้ง การเชื่อมโยงเครือข่ายธุรกิจ จนสามารถนำไปสู่การสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ที่จะเพิ่มการลงทุนในประเทศ และผลักดันรายเดิมให้มีศักยภาพและสามารถขยายการค้าการลงทุนจากตลาดท้องถิ่น ไปสู่ตลาดอาเซียนและตลาดโลกได้ในที่สุดสถานการณ์การแข่งขันทางเศรษฐกิจในปัจจุบันมีผลกระทบโดยตรงต่อผู้ประกอบการ โดยเฉพาะกลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการ SMEs / OTOP การพาณิชย์เป็นปัจจัยสำคัญในการสร้างความเข้มแข็งให้กับระบบเศรษฐกิจของจังหวัด การค้าเป็นส่วนหนึ่งที่สร้างรายได้ให้กับจังหวัดเป็นมูลค่ามาก ซึ่งนับวันมีความสำคัญมากขึ้น การยกระดับการค้ามีความจำเป็นที่ต้องหาตลาดใหม่ โดยใช้โอกาสการขยายตลาดหรือตัวแทนทางการค้า (Trader) ไปสู่ตลาดต่างประเทศ ถ้าหากการตลาดมียอดขายที่ลดลงหรือการค้าถดถอยไปเรื่อยๆ ผู้ประกอบการก็ไม่สามารถอยู่รอดในการแข่งขันกับตลาดที่มีการแข่งขันในขณะนี้ และจะค่อยๆ หยุดกิจการไป ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจภายในจังหวัด ที่จะทำให้ผลิตภัณฑ์รวมมวลจังหวัดลดลงตามด้วย
จังหวัดกาฬสินธุ์ เมืองน้ำดำ เป็นจังหวัดที่มากด้วยแหล่งทางศิลปวัฒนธรรมและเป็นศูนย์รวมแหล่งความรู้ทางพระพุทธศาสนา มีศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่ผสมผสานกับคำสอนทางพุทธศาสนาได้อย่างลงตัว รวมถึงวัฒนธรรมและวิถีชีวิตทางสิ่งทอพื้นบ้านของคนในจังหวัด ผ้าไหม หนึ่งในสิ่งทอพื้นบ้านที่มีความงดงามและมีประวัติศาสตร์ที่เป็นเอกลักษณ์สำคัญของจังหวัดกาฬสินธุ์
การส่งเสริมการค้าและการลงทุน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ประเทศยุทธศาสตร์จังหวัดที่สะท้อนความต้องการและศักยภาพของพื้นที่และให้อยู่บนการแข่งขันที่เป็นธรรมและมีความรับผิดชอบต่อสังคม พัฒนาทักษะองค์ความรู้ของผู้ประกอบการไทย ในการสร้างสรรค์สินค้าและบริการรูปแบบใหม่ให้มีจุดเด่น เพื่อตอบสนองความต้องการของตลาด ยกระดับศักยภาพของสินค้าหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ไทยให้ก้าวไกลสู่สากล เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ พัฒนาฐานการผลิตใหม่ กระจายกิจกรรมเศรษฐกิจและความเจริญสู่ภูมิภาค สร้างความมั่นคงในพื้นที่ชายแดน เชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้านทั้งด้านการผลิตร่วมและช่องทางการตลาดร่วมกัน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

1. เพื่อเพิ่มช่องทางการตลาดอย่างสม่ำเสมอในการเพิ่มรายได้ให้กับชุมชน และกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน
2. เพื่อส่งเสริมการใช้ทรัพย์สินทางปัญญาเชิงพาณิชย์ สร้างมูลค่าเพิ่มให้สินค้าและปกป้องสิทธิ์ผู้ผลิตสินค้าชุมชนที่มีเอกลักษณ์ และคุ้มครองผู้บริโภค สร้างความเชื่อมั่น ว่าจะได้รับสินค้าที่มีคุณภาพมาตรฐาน
3. พัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์ใหม่เพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าและตรงตามความต้องการตลาด

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑. เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับชุมชน และกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน ๒. เพื่อส่งเสริมการใช้ทรัพย์สินทางปัญญาเชิงพาณิชย์ สร้างมูลค่าเพิ่มให้สินค้า ๓. เพื่อพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์ใหม่ เพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้า และตรงตามความต้องการตลาด

๑. ได้นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ใหม่ที่สร้างรายได้ให้กับชุมชน ๒. ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่ตรงตามความต้องการของตลาดในระดับสากล ๓. ทางด้านเศรษฐกิจ ผู้ประกอบการมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการจัดจำหน่ายสินค้าที่มีคุณภาพตามความต้องการของตลาด
๔. ทางด้านสังคม เกิดการรวมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐาน

0.00 0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
วิสาหกิจชุมชนทอผ้าไหมในเขตพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์ 40

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 ๑. ประชาสัมพันธ์เปิดรับสมัครกลุ่มวิสาหกิจชุมชนทอผ้าไหม จำนวน ๑๐ กลุ่ม

ชื่อกิจกรรม
๑. ประชาสัมพันธ์เปิดรับสมัครกลุ่มวิสาหกิจชุมชนทอผ้าไหม จำนวน ๑๐ กลุ่ม
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    ประชาสัมพันธ์เปิดรับสมัครกลุ่มวิสาหกิจชุมชนทอผ้าไหม จำนวน ๑๐ กลุ่ม
    คุณสมบัติผู้สมัคร
    - เป็นสถานประกอบการที่จดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชน นิติบุคคล หรือมีการจดทะเบียนพาณิชย์ เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ผ้าไหม และสิ่งทอ
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 7 กุมภาพันธ์ 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ๑. ได้นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ใหม่ที่สร้างรายได้ให้กับชุมชน
    ๒. ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่ตรงตามความต้องการของตลาดในระดับสากล
    ๓. ทางด้านเศรษฐกิจ ผู้ประกอบการมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการจัดจำหน่ายสินค้าที่มีคุณภาพตามความต้องการของตลาด
    ๔. ทางด้านสังคม เกิดการรวมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐาน
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

    ค่าวัสดุโฆษณาเผยแพร่และประชาสัมพันธ์

    1 ครั้ง 10,000 1 10,000
    รวมค่าใช้จ่าย 10,000

    กิจกรรมที่ 2 การฝึกอบรมการเตรียมความพร้อมการประเมิน วิเคราะห์ศักยภาพทางธุรกิจ Model Canvas

    ชื่อกิจกรรม
    การฝึกอบรมการเตรียมความพร้อมการประเมิน วิเคราะห์ศักยภาพทางธุรกิจ Model Canvas
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      การฝึกอบรมการเตรียมความพร้อม การประเมิน วิเคราะห์ศักยภาพทางธุรกิจ
      Model Canvas ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนทอผ้าไหม จำนวน ๑๐ กลุ่ม ๔๐ คน
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      22 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 23 กุมภาพันธ์ 2563
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      ๑. ได้นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ใหม่ที่สร้างรายได้ให้กับชุมชน
      ๒. ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่ตรงตามความต้องการของตลาดในระดับสากล
      ๓. ทางด้านเศรษฐกิจ ผู้ประกอบการมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการจัดจำหน่ายสินค้าที่มีคุณภาพตามความต้องการของตลาด
      ๔. ทางด้านสังคม เกิดการรวมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐาน
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      ค่าตอบแทนวิทยากร

      ค่าตอบแทนวิทยากรบรรยาย ( ๑ คน x ๑๒ ชม. x ๑,๒๐๐ บาท )

      1 คน 1,200 12 14,400
      ค่าตอบแทนวิทยากร

      ค่าตอบแทนวิทยากรกลุ่ม ( ๕ คน x ๑๒ ชม. x ๔๐๐ บาท )

      5 คน 400 12 24,000
      อื่น ๆ

      ค่าเบี้ยเลี้ยงนิสิตช่วยงาน ( ๘ คน x ๒ วัน x ๒๑๐ บาท )

      8 คน 210 2 3,360
      ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

      ค่าเดินทางวิทยากร ตามระยะทาง ไป-กลับ ( ๖ คน x ๓,๐๐๐ บาท )

      6 คน 3,000 1 18,000
      ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่

      ค่าเดินทางผู้เข้าร่วมฝึกอบรม ( ๔๐ คน x ๔๐๐ บาท )

      40 คน 400 1 16,000
      ค่าที่พักตามจริง

      ค่าที่พักวิทยากรบรรยาย ( ๑ ห้อง x ๒ คืน x ๑,๒๐๐ บาท )

      1 คน 1,200 2 2,400
      ค่าที่พักตามจริง

      ค่าที่พักวิทยากรกลุ่ม ( ๕ ห้อง x ๒ คืน x ๗๕๐ บาท )

      5 คน 750 2 7,500
      ค่าอาหาร

      ค่าอาหารกลางวัน ( ๔๕ คน x ๒ มื้อ x ๑๕๐ บาท )

      45 คน 150 2 13,500
      ค่าอาหาร

      ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( ๔๕ คน x ๔ มื้อ x ๓๕ บาท )

      45 คน 35 4 6,300
      ค่าถ่ายเอกสาร

      ค่าจ้างเหมาถ่ายเอกสารพร้อมเข้าเล่ม ( ๔๐ ชุด x ๑๐๐ บาท )

      40 ชุด 100 1 4,000
      ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

      ค่าจ้างเหมารถตู้ ( ๑ คัน x ๒ วัน x ๓,๕๐๐ บาท )

      2 เที่ยว 3,500 1 7,000
      ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

      ค่าวัสดุฝึกอบรม ( ๕,๐๐๐ บาท )

      1 ครั้ง 5,000 1 5,000
      รวมค่าใช้จ่าย 121,460

      กิจกรรมที่ 3 การฝึกอบรมการส่งเสริมนวัตกรรมผลิตภัณฑ์การสกัดโปรตีนจากรังไหม

      ชื่อกิจกรรม
      การฝึกอบรมการส่งเสริมนวัตกรรมผลิตภัณฑ์การสกัดโปรตีนจากรังไหม
      วัตถุประสงค์
        รายละเอียดกิจกรรม
        ระยะเวลาดำเนินงาน
        29 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 1 มีนาคม 2563
        ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
        ๑. ได้นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ใหม่ที่สร้างรายได้ให้กับชุมชน
        ๒. ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่ตรงตามความต้องการของตลาดในระดับสากล
        ๓. ทางด้านเศรษฐกิจ ผู้ประกอบการมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการจัดจำหน่ายสินค้าที่มีคุณภาพตามความต้องการของตลาด
        ๔. ทางด้านสังคม เกิดการรวมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐาน
        ทรัพยากรอื่น ๆ
        ภาคีร่วมสนับสนุน
        รายละเอียดงบประมาณ
        ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
        ค่าตอบแทนวิทยากร

        ค่าตอบแทนวิทยากรบรรยาย ( ๑ คน x ๑๒ ชม. x ๑,๒๐๐ บาท )

        1 คน 1,200 12 14,400
        ค่าตอบแทนวิทยากร

        ค่าตอบแทนวิทยากรกลุ่ม ( ๕ คน x ๑๒ ชม. x ๔๐๐ บาท )

        5 คน 400 12 24,000
        อื่น ๆ

        ค่าเบี้ยเลี้ยงนิสิตช่วยงาน ( ๘ คน x ๒ วัน x ๒๑๐ บาท )

        8 คน 210 2 3,360
        ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

        ค่าเดินทางวิทยากร ตามระยะทาง ไป-กลับ ( ๖ คน x ๓,๐๐๐ บาท )

        6 คน 3,000 1 18,000
        ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่

        ค่าเดินทางผู้เข้าร่วมฝึกอบรม ( ๔๐ คน x ๔๐๐ บาท )

        40 คน 400 1 16,000
        ค่าที่พักตามจริง

        ค่าที่พักวิทยากรบรรยาย ( ๑ ห้อง x ๒ คืน x ๑,๒๐๐ บาท )

        1 คน 1,200 2 2,400
        ค่าที่พักตามจริง

        ค่าที่พักวิทยากรกลุ่ม ( ๕ ห้อง x ๒ คืน x ๗๕๐ บาท )

        5 คน 750 2 7,500
        ค่าอาหาร

        ค่าอาหารกลางวัน ( ๔๕ คน x ๒ มื้อ x ๑๕๐ บาท )

        45 คน 150 2 13,500
        ค่าอาหาร

        ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( ๔๕ คน x ๔ มื้อ x ๓๕ บาท )

        45 คน 35 4 6,300
        ค่าถ่ายเอกสาร

        ค่าจ้างเหมาถ่ายเอกสารพร้อมเข้าเล่ม ( ๔๐ ชุด x ๑๐๐ บาท )

        40 ชุด 100 1 4,000
        ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

        ค่าจ้างเหมารถตู้ ( ๑ คัน x ๒ วัน x ๓,๕๐๐ บาท )

        2 เที่ยว 3,500 1 7,000
        ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

        ค่าวัสดุฝึกอบรม ( ๔๐,๐๐๐ บาท )

        1 ครั้ง 40,000 1 40,000
        รวมค่าใช้จ่าย 156,460

        กิจกรรมที่ 4 การฝึกอบรมการส่งเสริมนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ Hot Process soap จากรังไหมและเบสสบู่กลีเซอรีนใส

        ชื่อกิจกรรม
        การฝึกอบรมการส่งเสริมนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ Hot Process soap จากรังไหมและเบสสบู่กลีเซอรีนใส
        วัตถุประสงค์
          รายละเอียดกิจกรรม
          การฝึกอบรมการส่งเสริมนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ Hot Process soap จากรังไหม
          และเบสสบู่กลีเซอรีนใส
          ระยะเวลาดำเนินงาน
          14 มีนาคม 2563 ถึง 15 มีนาคม 2563
          ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
          ๑. ก่อให้เกิดการกระตุ้นเศรษฐกิจฐานราก รายได้หมุนเวียนในท้องถิ่นเพิ่มขึ้น
          ๒. มีผู้ผลิตและผู้ประกอบการรายใหม่ที่ได้รับการพัฒนาทักษะด้านการตลาดเพิ่มขึ้น
          ๓. นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ใหม่
          ทรัพยากรอื่น ๆ
          ภาคีร่วมสนับสนุน
          รายละเอียดงบประมาณ
          ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
          ค่าตอบแทนวิทยากร

          ค่าตอบแทนวิทยากรบรรยาย ( ๑ คน x ๑๒ ชม. x ๑,๒๐๐ บาท )

          1 คน 1,200 12 14,400
          ค่าตอบแทนวิทยากร

          ค่าตอบแทนวิทยากรกลุ่ม ( ๕ คน x ๑๒ ชม. x ๔๐๐ บาท )

          5 คน 400 12 24,000
          อื่น ๆ

          ค่าเบี้ยเลี้ยงนิสิตช่วยงาน ( ๘ คน x ๒ วัน x ๒๑๐ บาท )

          8 คน 210 2 3,360
          ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

          ค่าเดินทางวิทยากร ตามระยะทาง ไป-กลับ ( ๖ คน x ๓,๐๐๐ บาท )

          6 คน 3,000 1 18,000
          ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่

          ค่าเดินทางผู้เข้าร่วมฝึกอบรม ( ๔๐ คน x ๔๐๐ บาท )

          40 คน 400 1 16,000
          ค่าที่พักตามจริง

          ค่าที่พักวิทยากรบรรยาย ( ๑ ห้อง x ๒ คืน x ๑,๒๐๐ บาท )

          1 คน 1,200 2 2,400
          ค่าที่พักตามจริง

          ค่าที่พักวิทยากรกลุ่ม ( ๕ ห้อง x ๒ คืน x ๗๕๐ บาท )

          5 คน 750 2 7,500
          ค่าอาหาร

          ค่าอาหารกลางวัน ( ๔๕ คน x ๒ มื้อ x ๑๕๐ บาท )

          45 คน 150 2 13,500
          ค่าอาหาร

          ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( ๔๕ คน x ๔ มื้อ x ๓๕ บาท )

          45 คน 35 4 6,300
          ค่าถ่ายเอกสาร

          ค่าจ้างเหมาถ่ายเอกสารพร้อมเข้าเล่ม ( ๔๐ ชุด x ๑๐๐ บาท )

          40 คน 100 1 4,000
          ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

          ค่าจ้างเหมารถตู้ ( ๑ คัน x ๒ วัน x ๓,๕๐๐ บาท )

          2 เที่ยว 3,500 1 7,000
          ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

          ค่าวัสดุฝึกอบรม ( ๕๙,๘๒๐ บาท )

          1 ครั้ง 59,820 1 59,820
          รวมค่าใช้จ่าย 176,280

          กิจกรรมที่ 5 ติดตามและประเมินผลโครงการ

          ชื่อกิจกรรม
          ติดตามและประเมินผลโครงการ
          วัตถุประสงค์
            รายละเอียดกิจกรรม
            ติดตามและประเมินผลโครงการ
            ระยะเวลาดำเนินงาน
            28 มีนาคม 2563 ถึง 29 มีนาคม 2563
            ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
            ๑. ก่อให้เกิดการกระตุ้นเศรษฐกิจฐานราก รายได้หมุนเวียนในท้องถิ่นเพิ่มขึ้น
            ๒. มีผู้ผลิตและผู้ประกอบการรายใหม่ที่ได้รับการพัฒนาทักษะด้านการตลาดเพิ่มขึ้น
            ๓. นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ใหม่
            ทรัพยากรอื่น ๆ
            ภาคีร่วมสนับสนุน
            รายละเอียดงบประมาณ
            ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
            ค่าตอบแทนวิทยากร

            ค่าตอบแทนที่ปรึกษา/ผู้เชี่ยวชาญ ( ๔ คน x ๑๒ ชม. x ๖๐๐ บาท )

            4 คน 600 12 28,800
            ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

            ค่าจ้างเหมารถตู้ ( ๑ คัน x ๒ วัน x ๓,๕๐๐ บาท )

            4 เที่ยว 1,750 1 7,000
            รวมค่าใช้จ่าย 35,800

            รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

            ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
            ค่าใช้จ่าย (บาท) 144,000.00 10,000.00 231,100.00 104,820.00 10,080.00 500,000.00
            เปอร์เซ็นต์ (%) 28.80% 2.00% 46.22% 20.96% 2.02% 100.00%

            11. งบประมาณ

            500,000.00บาท

            12. การติดตามประเมินผล

            ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
            ผลผลิต (Output) ๑. ก่อให้เกิดการกระตุ้นเศรษฐกิจฐานราก รายได้หมุนเวียนในท้องถิ่นเพิ่มขึ้น
            ๒. มีผู้ผลิตและผู้ประกอบการรายใหม่ที่ได้รับการพัฒนาทักษะด้านการตลาดเพิ่มขึ้น
            ๓. นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ใหม่
            ผลลัพธ์ (Outcome) ๑. ได้นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ใหม่ที่สร้างรายได้ให้กับชุมชน
            ๒. ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่ตรงตามความต้องการของตลาดในระดับสากล
            ๓. ทางด้านเศรษฐกิจ ผู้ประกอบการมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการจัดจำหน่ายสินค้าที่มีคุณภาพตามความต้องการของตลาด
            ๔. ทางด้านสังคม เกิดการรวมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐาน
            ผลกระทบ (Impact)
            นำเข้าสู่ระบบโดย musika musika เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 11:05 น.