โครงการยกระดับและพัฒนามูลค่าทางเศรษฐกิจของผลผลิตและสินค้าแปรรูปจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์

แบบเสนอโครงการ
โครงการยกระดับและพัฒนามูลค่าทางเศรษฐกิจของผลผลิตและสินค้าแปรรูปจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์

1. ชื่อโครงการ

โครงการยกระดับและพัฒนามูลค่าทางเศรษฐกิจของผลผลิตและสินค้าแปรรูปจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ดเทศบาลตำบลโพนงามพื้นที่ตำบลโพนงามผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศักดิ์ศรี สืบสิงห์113 หมู่ 12 ตำบลเกาะแก้ว อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด 45120089-8895591 , 043-556132ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์ วิเศษสัตย์

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ กมลาไสย โพนงาม

3. รายละเอียดชุมชน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

การผลิตข้าวอินทรีย์ การขอมาตรฐานอินทรีย์ พัฒนาการแปรรูปสินค้าจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันของผลผลิตและสินค้าแปรรูปจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์พื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์

เชิงปริมาณ กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

0.00
2 เพื่อสนับสนุนการยกระดับการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ตามมาตรฐานเพื่อการแข่งขัน

เชิงปริมาณ จำนวนผลผลิตและสินค้าแปรรูปจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์ได้รับการพัฒนาและยกระดับ ไม่น้อยกว่า 10 รายการ

0.00
3 เพื่อสนับสนุนการยกระดับและพัฒนาการแปรรูปสินค้าจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์เพื่อสร้างความได้เปรียบทางการตลาด

เชิงปริมาณ จำนวนผลผลิตและสินค้าแปรรูปจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์ได้รับการพัฒนาและยกระดับ ไม่น้อยกว่า 10 รายการ

0.00
4 เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมด้านการตลาดของผลผลิตและสินค้าแปรรูปจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์

เชิงปริมาณ จำนวนผลผลิตและสินค้าแปรรูปจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์ที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน ไม่น้อยกว่า 2 รายการ

0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ตำบลโพนงาม อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ 100

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบันของผลผลิตและสินค้าแปรรูปจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์พื้นที่ตำบลโพนงาม อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์

ชื่อกิจกรรม
ศึกษาสภาพปัจจุบันของผลผลิตและสินค้าแปรรูปจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์พื้นที่ตำบลโพนงาม อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันของผลผลิตและสินค้าแปรรูปจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์พื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์
รายละเอียดกิจกรรม
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2562 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
เชิงปริมาณ
1. กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. จำนวนผลผลิตและสินค้าแปรรูปจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์ได้รับการพัฒนาและยกระดับ ไม่น้อยกว่า 10 รายการ
3. จำนวนผลผลิตและสินค้าแปรรูปจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์ที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน ไม่น้อยกว่า 2 รายการ

เชิงคุณภาพ
1. ผลผลิตและสินค้าแปรรูปจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์ของผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการยอมรับ
2. กลุ่มเป้าหมายสามารถพัฒนาและยกระดับผลผลิตและสินค้าแปรรูปจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์ได้ด้วยตนเอง
3. หลังการอบรมกลุ่มเป้าหมายสามารถจำหน่ายสินค้าและมีรายได้เพิ่มขึ้น
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนการประสานงาน 5 คน 2,000 1 10,000
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าตอบแทนนักศึกษาตลอดโครงการ

10 คน 2,000 1 20,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า 1 ครั้ง 2,500 1 2,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 35 บาท x 2 มื้อ x 100 คน

100 คน 70 1 7,000
ค่าอาหาร

อาหารกลางวัน

100 คน 120 1 12,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 คน 800 1 800
ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 1,000 1 1,000
รวมค่าใช้จ่าย 53,300

กิจกรรมที่ 2 สนับสนุนการยกระดับการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ตามมาตรฐานเพื่อการแข่งขัน

ชื่อกิจกรรม
สนับสนุนการยกระดับการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ตามมาตรฐานเพื่อการแข่งขัน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อสนับสนุนการยกระดับการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ตามมาตรฐานเพื่อการแข่งขัน
รายละเอียดกิจกรรม
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2562 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต :
1. ได้ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพบริบท ปัญหา และอุปสรรคด้านการผลิตและแปรรูปข้าวหอมมะลิ
2. ได้ข้อมูลการถอดบทเรียนด้านการผลิตข้าวหอมมะลิตามมาตรฐานเพื่อการแข่งขันระดับชาติและสากล
3. ได้ข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรคด้านการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ตามมาตรฐานเพื่อการแข่งขันทั้งระดับชาติและสากล
4. ได้รับการพัฒนาการแปรรูปสินค้าจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์
5. มีการควบคุมคุณภาพและสร้างมาตรฐานสินค้าแปรรูปสินค้าจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์
6. มีการออกแบบบรรจุภัณฑ์สินค้าแปรรูปสินค้าจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์เพื่อสร้างความได้เปรียบทางการตลาด
7. สนับสนุนการพัฒนามาตรฐานการผลิตเพื่อการแข่งขันเชิงธุรกิจ การปรับปรุงสถานที่ผลิต/กระบวนการผลิต/วัสดุอุปกรณ์/ปัจจัยการผลิตและตรวจประเมินสถานที่ผลิตเพื่อเข้าสู่มาตรฐาน GMP หรือ Primary GMP
8. การวิเคราะห์ต้นทุนและเทคนิคการกำหนดราคาเพื่อการแข่งขันทางการตลาด
9. การเลือกช่องทางในการจัดจำหน่ายและการกระจายสินค้า
10. สนับสนุนการออกร้าน/การจัดแสดงสินค้า
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 3,600 3 21,600
ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 2,000 3 6,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 35 บาท x 2 มื้อ x 100 คน

100 คน 70 3 21,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน

100 คน 120 3 36,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 1 ครั้ง 2,000 3 6,000
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่ 100 คน 200 3 60,000
ค่าถ่ายเอกสาร 100 ชุด 50 3 15,000
ค่าที่พักตามจริง 8 คน 800 3 19,200
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชิ้น 1,000 3 3,000
ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 5,000 3 15,000
รวมค่าใช้จ่าย 202,800

กิจกรรมที่ 3 สนับสนุนการยกระดับและพัฒนาการแปรรูปสินค้าจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์เพื่อสร้างความได้เปรียบทางการตลาด

ชื่อกิจกรรม
สนับสนุนการยกระดับและพัฒนาการแปรรูปสินค้าจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์เพื่อสร้างความได้เปรียบทางการตลาด
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อสนับสนุนการยกระดับและพัฒนาการแปรรูปสินค้าจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์เพื่อสร้างความได้เปรียบทางการตลาด
รายละเอียดกิจกรรม
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลลัพธ์ :
1. เกษตรกรสามารถวิเคราะห์สภาพบริบทปัญหาและอุปสรรคด้านการผลิตและการแปรรูปข้าวหอมมะลิอินทรีย์ในปัจจุบัน ส่งผลให้สามารถกำหนดแนวทางการยกระดับและการพัฒนาผลผลิตและสินค้าแปรรูปจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับพื้นที่
2. เกษตรกรสามารถนำเอาองค์ความรู้และเทคนิควิธีที่ได้รับไปใช้ในการยกระดับและพัฒนาการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ให้ได้ตามมาตรฐานที่กำหนดไว้ทั้งในระดับชาติและระดับสากล เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในคุณภาพ และมีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค ส่งผลให้เกษตรกรสามารถแข่งขันได้ทั้งในตลาดภายในประเทศและต่างประเทศ
3. เกษตรกร/วิสาหกิจชุมชนสามารถยกระดับและพัฒนาการแปรรูปสินค้าจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์การสร้างมูลค่าเพิ่มจากวัตถุดิบทางการเกษตรให้เป็นสินค้าเกษตรแปรรูปที่มีคุณภาพ ปลอดภัยต่อผู้บริโภค ส่งผลให้เกษตรกร/กลุ่มวิสาหกิจชุมชนสามารถจำหน่ายสินค้าได้เพิ่มขึ้นและมีรายได้ที่มั่นคง
4. เกษตรกร/วิสาหกิจชุมชนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการวิเคราะห์ต้นทุนและเทคนิคการกำหนดราคาสินค้า การเลือกช่องทางในการจัดจำหน่ายและการกระจายสินค้า รวมทั้งสามารถจัดจำหน่ายสินค้าได้เพิ่มขึ้นและมีรายได้ที่มั่นคง
5. ผลิตภัณฑ์จากข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้ได้รับการแปรรูปให้มีความหลายหลากและเป็นที่ต้องการของตลาด
6. ผลิตภัณฑ์จากข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้มีตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ที่เป็นเอกลักษณ์และได้มาตรฐาน
7. เกิดช่องทางการตลาดและเครือข่ายเครือข่ายการเชื่อมโยงระหว่างผู้ค้าข้าวและผลิตภัณฑ์จากข้าวหอมมะลิกับเกษตรกรผู้ผลิตข้าวหอมมะลิ
8. มีเกษตรกรสมัยใหม่ (smart farmer) เพิ่มขึ้นแบบครบวงจรของการผลิตข้าว แปรรูปข้าวและการตลาด นอกจากนี้ยังเป็นการเพิ่มกลุ่มวิสาหกิจชุมชนและเครือข่ายทางด้านการเกษตร
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 3,600 2 14,400
ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 1,500 2 3,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 35 บาท x 2 มื้อ x 100 คน

80 คน 70 2 11,200
ค่าเช่ารถ

ค่าเช่าเหมารถบัส

2 ชุด 12,000 2 48,000
ค่าที่พักตามจริง 80 คน 500 2 80,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 คน 800 1 800
ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 3,000 1 3,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน

80 คน 120 2 19,200
รวมค่าใช้จ่าย 179,600

กิจกรรมที่ 4 สนับสนุนและส่งเสริมด้านการตลาดของผลผลิตและสินค้าแปรรูปจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์

ชื่อกิจกรรม
สนับสนุนและส่งเสริมด้านการตลาดของผลผลิตและสินค้าแปรรูปจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมด้านการตลาดของผลผลิตและสินค้าแปรรูปจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์
รายละเอียดกิจกรรม
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลกระทบ :
เชิงบวก : ช่วยทำให้มีกระบวนการพัฒนาข้าวหอมมะลิได้รับมาตรฐานสินค้าเกษตร GAP (Good Agricultural Practice) และเกิดเครือข่ายการเชื่อมโยงระหว่างผู้ค้าข้าวและผลิตภัณฑ์จากข้าวหอมมะลิกับเกษตรกรผู้ผลิตข้าวหอมมะลิโดยตรง ซึ่งสามารถเพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกรและเสริมสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจชุมชนฐานรากได้ และได้เทคโนโลยีและกระบวนการแปรรูปข้าวหอมมะลิที่มีประสิทธิภาพ
เชิงลบ : ก่อให้เกิดการผลิตและการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าวหอมมะลิเป็นจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อราคาของผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปและตลาดรองรับสินค้า
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 3,600 1 7,200
ค่าตอบแทนการประสานงาน 5 คน 2,000 1 10,000
ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 2,000 1 2,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 35 บาท x 2 มื้อ x 100 คน

100 คน 70 1 7,000
ค่าอาหาร

อาหารกลางวัน

100 คน 120 1 12,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 1 ครั้ง 2,500 1 2,500
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่ 100 คน 200 1 20,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชิ้น 1,000 1 1,000
ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 2,600 1 2,600
รวมค่าใช้จ่าย 64,300

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 83,200.00 5,600.00 389,600.00 21,600.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 16.64% 1.12% 77.92% 4.32% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) 1. ได้ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพบริบท ปัญหา และอุปสรรคด้านการผลิตและแปรรูปข้าวหอมมะลิ
2. ได้ข้อมูลการถอดบทเรียนด้านการผลิตข้าวหอมมะลิตามมาตรฐานเพื่อการแข่งขันระดับชาติและสากล
3. ได้ข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรคด้านการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ตามมาตรฐานเพื่อการแข่งขันทั้งระดับชาติและสากล
4. ได้รับการพัฒนาการแปรรูปสินค้าจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์
5. มีการควบคุมคุณภาพและสร้างมาตรฐานสินค้าแปรรูปสินค้าจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์
6. มีการออกแบบบรรจุภัณฑ์สินค้าแปรรูปสินค้าจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์เพื่อสร้างความได้เปรียบทางการตลาด
7. สนับสนุนการพัฒนามาตรฐานการผลิตเพื่อการแข่งขันเชิงธุรกิจ การปรับปรุงสถานที่ผลิต/กระบวนการผลิต/วัสดุอุปกรณ์/ปัจจัยการผลิตและตรวจประเมินสถานที่ผลิตเพื่อเข้าสู่มาตรฐาน GMP หรือ Primary GMP
8. การวิเคราะห์ต้นทุนและเทคนิคการกำหนดราคาเพื่อการแข่งขันทางการตลาด
9. การเลือกช่องทางในการจัดจำหน่ายและการกระจายสินค้า
10. สนับสนุนการออกร้าน/การจัดแสดงสินค้า
1. ได้ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพบริบท ปัญหา และอุปสรรคด้านการผลิตและแปรรูปข้าวหอมมะลิ
2. ได้ข้อมูลการถอดบทเรียนด้านการผลิตข้าวหอมมะลิตามมาตรฐานเพื่อการแข่งขันระดับชาติและสากล
3. ได้ข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรคด้านการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ตามมาตรฐานเพื่อการแข่งขันทั้งระดับชาติและสากล
4. ได้รับการพัฒนาการแปรรูปสินค้าจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์
5. มีการควบคุมคุณภาพและสร้างมาตรฐานสินค้าแปรรูปสินค้าจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์
6. มีการออกแบบบรรจุภัณฑ์สินค้าแปรรูปสินค้าจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์เพื่อสร้างความได้เปรียบทางการตลาด
7. สนับสนุนการพัฒนามาตรฐานการผลิตเพื่อการแข่งขันเชิงธุรกิจ การปรับปรุงสถานที่ผลิต/กระบวนการผลิต/วัสดุอุปกรณ์/ปัจจัยการผลิตและตรวจประเมินสถานที่ผลิตเพื่อเข้าสู่มาตรฐาน GMP หรือ Primary GMP
8. การวิเคราะห์ต้นทุนและเทคนิคการกำหนดราคาเพื่อการแข่งขันทางการตลาด
9. การเลือกช่องทางในการจัดจำหน่ายและการกระจายสินค้า
10. สนับสนุนการออกร้าน/การจัดแสดงสินค้า
ผลลัพธ์ (Outcome) 1. เกษตรกรสามารถวิเคราะห์สภาพบริบทปัญหาและอุปสรรคด้านการผลิตและการแปรรูปข้าวหอมมะลิอินทรีย์ในปัจจุบัน ส่งผลให้สามารถกำหนดแนวทางการยกระดับและการพัฒนาผลผลิตและสินค้าแปรรูปจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับพื้นที่
2. เกษตรกรสามารถนำเอาองค์ความรู้และเทคนิควิธีที่ได้รับไปใช้ในการยกระดับและพัฒนาการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ให้ได้ตามมาตรฐานที่กำหนดไว้ทั้งในระดับชาติและระดับสากล เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในคุณภาพ และมีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค ส่งผลให้เกษตรกรสามารถแข่งขันได้ทั้งในตลาดภายในประเทศและต่างประเทศ
3. เกษตรกร/วิสาหกิจชุมชนสามารถยกระดับและพัฒนาการแปรรูปสินค้าจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์การสร้างมูลค่าเพิ่มจากวัตถุดิบทางการเกษตรให้เป็นสินค้าเกษตรแปรรูปที่มีคุณภาพ ปลอดภัยต่อผู้บริโภค ส่งผลให้เกษตรกร/กลุ่มวิสาหกิจชุมชนสามารถจำหน่ายสินค้าได้เพิ่มขึ้นและมีรายได้ที่มั่นคง
4. เกษตรกร/วิสาหกิจชุมชนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการวิเคราะห์ต้นทุนและเทคนิคการกำหนดราคาสินค้า การเลือกช่องทางในการจัดจำหน่ายและการกระจายสินค้ารวมทั้งสามารถจัดจำหน่ายสินค้าได้เพิ่มขึ้นและมีรายได้ที่มั่นคง
5. ผลิตภัณฑ์จากข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้ได้รับการแปรรูปให้มีความหลายหลากและเป็นที่ต้องการของตลาด
6. ผลิตภัณฑ์จากข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้มีตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ที่เป็นเอกลักษณ์และได้มาตรฐาน
7. เกิดช่องทางการตลาดและเครือข่ายเครือข่ายการเชื่อมโยงระหว่างผู้ค้าข้าวและผลิตภัณฑ์จากข้าวหอมมะลิกับเกษตรกรผู้ผลิตข้าวหอมมะลิ
8. มีเกษตรกรสมัยใหม่ (smart farmer) เพิ่มขึ้นแบบครบวงจรของการผลิตข้าว แปรรูปข้าวและการตลาด นอกจากนี้ยังเป็นการเพิ่มกลุ่มวิสาหกิจชุมชนและเครือข่ายทางด้านการเกษตร
1. เกษตรกรสามารถวิเคราะห์สภาพบริบทปัญหาและอุปสรรคด้านการผลิตและการแปรรูปข้าวหอมมะลิอินทรีย์ในปัจจุบัน ส่งผลให้สามารถกำหนดแนวทางการยกระดับและการพัฒนาผลผลิตและสินค้าแปรรูปจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับพื้นที่
2. เกษตรกรสามารถนำเอาองค์ความรู้และเทคนิควิธีที่ได้รับไปใช้ในการยกระดับและพัฒนาการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ให้ได้ตามมาตรฐานที่กำหนดไว้ทั้งในระดับชาติและระดับสากล เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในคุณภาพ และมีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค ส่งผลให้เกษตรกรสามารถแข่งขันได้ทั้งในตลาดภายในประเทศและต่างประเทศ
3. เกษตรกร/วิสาหกิจชุมชนสามารถยกระดับและพัฒนาการแปรรูปสินค้าจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์การสร้างมูลค่าเพิ่มจากวัตถุดิบทางการเกษตรให้เป็นสินค้าเกษตรแปรรูปที่มีคุณภาพ ปลอดภัยต่อผู้บริโภค ส่งผลให้เกษตรกร/กลุ่มวิสาหกิจชุมชนสามารถจำหน่ายสินค้าได้เพิ่มขึ้นและมีรายได้ที่มั่นคง
4. เกษตรกร/วิสาหกิจชุมชนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการวิเคราะห์ต้นทุนและเทคนิคการกำหนดราคาสินค้า การเลือกช่องทางในการจัดจำหน่ายและการกระจายสินค้ารวมทั้งสามารถจัดจำหน่ายสินค้าได้เพิ่มขึ้นและมีรายได้ที่มั่นคง
5. ผลิตภัณฑ์จากข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้ได้รับการแปรรูปให้มีความหลายหลากและเป็นที่ต้องการของตลาด
6. ผลิตภัณฑ์จากข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้มีตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ที่เป็นเอกลักษณ์และได้มาตรฐาน
7. เกิดช่องทางการตลาดและเครือข่ายเครือข่ายการเชื่อมโยงระหว่างผู้ค้าข้าวและผลิตภัณฑ์จากข้าวหอมมะลิกับเกษตรกรผู้ผลิตข้าวหอมมะลิ
8. มีเกษตรกรสมัยใหม่ (smart farmer) เพิ่มขึ้นแบบครบวงจรของการผลิตข้าว แปรรูปข้าวและการตลาด นอกจากนี้ยังเป็นการเพิ่มกลุ่มวิสาหกิจชุมชนและเครือข่ายทางด้านการเกษตร
ผลกระทบ (Impact) เชิงบวก : ช่วยทำให้มีกระบวนการพัฒนาข้าวหอมมะลิได้รับมาตรฐานสินค้าเกษตร GAP (Good Agricultural Practice) และเกิดเครือข่ายการเชื่อมโยงระหว่างผู้ค้าข้าวและผลิตภัณฑ์จากข้าวหอมมะลิกับเกษตรกรผู้ผลิตข้าวหอมมะลิโดยตรง ซึ่งสามารถเพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกรและเสริมสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจชุมชนฐานรากได้ และได้เทคโนโลยีและกระบวนการแปรรูปข้าวหอมมะลิที่มีประสิทธิภาพ
เชิงลบ : ก่อให้เกิดการผลิตและการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าวหอมมะลิเป็นจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อราคาของผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปและตลาดรองรับสินค้า
เชิงบวก : ช่วยทำให้มีกระบวนการพัฒนาข้าวหอมมะลิได้รับมาตรฐานสินค้าเกษตร GAP (Good Agricultural Practice) และเกิดเครือข่ายการเชื่อมโยงระหว่างผู้ค้าข้าวและผลิตภัณฑ์จากข้าวหอมมะลิกับเกษตรกรผู้ผลิตข้าวหอมมะลิโดยตรง ซึ่งสามารถเพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกรและเสริมสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจชุมชนฐานรากได้ และได้เทคโนโลยีและกระบวนการแปรรูปข้าวหอมมะลิที่มีประสิทธิภาพ
เชิงลบ : ก่อให้เกิดการผลิตและการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าวหอมมะลิเป็นจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อราคาของผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปและตลาดรองรับสินค้า
นำเข้าสู่ระบบโดย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 11:01 น.