การป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลสงเปลือย อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
การป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลสงเปลือย อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

การป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลสงเปลือย อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์สาขาวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสุขภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ตำบลสงเปลือยผศ.กฤษณ์ ขุนลึกสาขาวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสุขภาพ คณะวิทยาศาสตร?และเทคโนโลยีสุขภาพมือถือ 061-9163669 E-mail: kris.kh@ksu.ac.thอาจารย์ที่ปรึกษา
ผศ.ดำรงค์ ก่องดวง, นายธงศักดิ์ชัย สายพระราษฎรณ์, นายณัฐวฒิ ศรีวิบูลย์
นักศึกษาหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการสุขภาพท้องถิ่นและชุมน
นายสรัน เตรียมกลม 615610011050-5
นางสาวนฤณี ปัตถา 615610011062-0
นางสาวเมธาวรรณ จำเริญสวัสดิ์ 615610011066-1
นางสาวขนิษฐา พาลึก 615610011014-1
นางสาวนันทนา ผากา 615610011076-0
นางสาวพัชราภรณ์ องอาจ 615610011042-2
นางสาวกัญญาณัฐ แสนอุบล 615610011086-9
นางสาวธิศวรรณ อุทัยทิพย์ 615610011044-8
นางสาวอังคณาเก่าเเสน 615610011013-3
นักศึกษาหลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล
นางสาวนาลี เอืองแสงพระจันทร์ 614650055001-2
นายบารมี ปฎิบัติดี 614650055002-0

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ นามน สงเปลือย

3. รายละเอียดชุมชน

จังหวัดกาฬสินธุ์เป็นจังหวัดหนึ่งในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มีจำนวนประชากรผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปี 151,345 (ชาย 67,912 คน หญิง 83,433 คน) คิดเป็นร้อยละ 15.36 % สำหรับอำเภอนามนมีทั้งหมด 5 ตำบล มีจำนวนผู้สูงอายุ 2,993 คน สำหรับ ตำบลสงเปลือย มีจำนวนประชากรผู้สูงอายุจำนวน1,192 คน และคาดการณ์ว่าจะมีผู้สูงอายุที่มีปัญหาภาวะสมองเสื่อมประมาณ 24 – 120 คน (2-10 %) ซึ่งจะทำให้มีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุและสมาชิกในครอบครัว และอาจจะเป็นปัญหาทางสังคมต่อไปในอนาคตหากไม่มีการป้องกัน และส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและสมาชิกในครอบครัวให้รู้จักวิธีการป้องกันภาวะสมองเสื่อมจากสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยกรมผู้สูงอายุกระทรวงพัฒนาความมั่นคงของมนุษย์ได้รวบรวมข้อมูลสถิติในปี พ.ศ.2560 พบว่ามีผู้สูงอายุตั้งแต่ 60 ปี ขึ้นไป 10,325,322 คน คิดเป็นร้อยละ 15.45ของประชากรทั้งหมด จำนวนผู้สูงอายุในประเทศไทยจะมีจำนวนสูงขึ้นเรื่อย ๆ โดยในปี 2563 และ 2573 คาดการณ์ว่าจะมีจำนวนผู้สูงอายุร้อยละ 17.5 และ 25.1 ตามลำดับ จากการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุทำให้สถานการณ์เกี่ยวกับการจัดการด้านประชากร ด้านสาธารณสุข ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและด้านนโยบายแผ่นดินเปลี่ยนแปลงไปการก้าวเข้าสู่กระบวนการชราภาพของผู้สูงอายุ เป็นไปในทางเสื่อมถอยส่งผลต่อภาวะสุขภาพ ความเจ็บป่วยด้วยโรคต่าง ๆ ในทุกระบบ เช่น ระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบประสาทและสมอง ระบบหายใจ ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อและระบบต่อมไร้ท่อ และจากการสำรวจข้อมูลผู้สูงอายุไทยพบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีโรคประจำตัวด้วยโรคเรื้อรังมากถึงร้อยละ 72-80 ของจำนวนประชากรผู้สูงอายุ ภาวะสมองเสื่อม (Dementia) เป็นกลุ่มอาการที่มีสาเหตุมาจากความผิดปกติในการทำงานของสมองด้านการคิดและสติปัญญา โดยมีการเสื่อมของความจำเป็นอาการเด่นมีความผิดปกติด้านความคิด การตัดสินใจ การเคลื่อนไหวร่วมกับมีการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรม บุคลิกภาพและอารมณ์ลดลงจนรบกวนการดำรงชีวิตของผู้สูงอายุก่อให้เกิดผลเสียต่อการทำงานสังคมและความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น สาเหตุของสมองเสื่อม โรคอัลไซเมอร์ทำให้เกิดภาวะสมองเสื่อมก่อนวัยอันควร วัยชรา เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดภาวะสมองเสื่อมตามธรรมชาติของสังขาร สมองขาดเลือด มักเกิดจากหลอดเลือดเส้นเล็กๆ อุดตันซ้ำ ๆ เป็นเวลานานทำให้เซลล์สมองตายและการทำงานของสมองเสื่อมลงจากข้อมูลที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นถึงความสำคัญของปัญหาสุขภาพการเกิดภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ จึงดำเนินการจัดโครงงานที่จะเข้าไปมีส่วนร่วมกับชุมชนในตำบลสงเปลือย และคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) เพื่อส่งเสริมและดำเนินกิจกรรมการป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ด้วยการบูรณาการความรู้ของนักศึกษาจากหลักสูตรต่างๆ ได้แก่ หลักสูตรวิทยาการการดูแลผู้สูงอายุ หลักสูตรสาธารณสุขศาสตร์ (การจัดการสุขภาพท้องถิ่นและชุมชน) หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม และหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล นำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในชุมชน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

การนำองค์ความรู้และนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในการวางแผนและแก้ไขปัญหาของชุมชนเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ประกอบด้วย องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ องค์ความรู้ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และโมเดลการเรียนรู้ด้านการใช้สื่อดิจิทัล ดังนี้คือ
1) แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (Health Belief Model: HBM) ได้แก่ การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเกิดโรค การรับรู้ความรุนแรงของการเกิดโรค การรับรู้ประโยชน์ที่จะได้รับ การรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติ สิ่งชักนำสู่การปฏิบัติ และการรับรู้ความสามารถของตนเอง
2) แนวคิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม (Trans-Theoretical Model: TTM) ภายในรูปแบบมีองค์ประกอบ 5 องค์ประกอบได้แก่ขั้นไม่สนใจปัญหา (Pre-Contemplation) ขั้นลังเลใจ/ชั่งใจ(Contemplation) ขั้นเตรียมตัว (Preparation) ขั้นลงมือปฏิบัติ(Action) และขั้นดำรงการปฏิบัติตัว(Maintenance)
3) สมาธิบำบัด แบบ SKT โดยรศ. ดร.สมพร กันทรดุษฏี เตรียมชัยศรี
4) พฤติกรรมการป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ การไม่สูบบุหรี่ ไม่ดื่มสุรา ออกกำลังกาย การรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ สุขภาพจิตดี การบริหารสมองและความคิด และการเข้าร่วมกิจกรรมในชุมชน จากการวิจัยเรื่อง “ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลสงเปลือย อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์” (กฤษณ์ ขุนลึก และคณะ, 2562)
5) การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่ จากสาขาวิชาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาและสร้างรูปแบบการป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลสงเปลือย

มีรูปแบบการป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุที่เหมาะสมกับบริบทของชุมชน

1.00 1.00
2 เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลสงเปลือย

ผู้สูงอายุตำบลสงเปลือย มีพฤติกรรมการป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุในระดับดี ร้อยละ 80

80.00 80.00
3 เพื่อสร้าง Application การประเมินภาวะเสี่ยงการต่อภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ

มี Application การประเมินภาวะเสี่ยงการต่อภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ

1.00 1.00
4 เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้และการแก้ไขปัญหาในชุมชน โดยการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ชุมชนเป็นฐานการเรียนรู้ Community Based Learning (CBL) แก่นักศึกษา

นักศึกษาได้มีการเรียนรู้ในการแก้ไขปัญหาของชุมนโดยการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ชุมชนเป็นฐานการเรียนรู้ Community Based Learning (CBL)

1.00 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล 2
นักศึกษาหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต 8
ผู้สูงอายุ 1,192

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 การเตรียมความพร้อม

ชื่อกิจกรรม
การเตรียมความพร้อม
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาและสร้างรูปแบบการป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลสงเปลือย
รายละเอียดกิจกรรม
การประชุมเตรียมความพร้อมของคณะทำงาน พัฒนาองค์ความรู้เรื่องภาวะสมองเสื่อม พฤติกรรมและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะสมองเสื่อม ชี้และแจงรายละเอียดของการดำเนินงานโครงการ และกำหนดแผนการดำเนินงาน
ระยะเวลาดำเนินงาน
6 มกราคม 2563 ถึง 7 มกราคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
การประชุมคณะทำงาน 25 คน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
ผู้ทรงคุณวุฒิ
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

- ค่าตอบแทนวิทยากร 3 คน x 2 ชั่วโมง x 600 บาท x 2 วัน

3 คน 1,200 2 7,200
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวันสำหรับคณะผู้ทำงาน จำนวน 25 คน X 2 วันX 110 บาท ค่าหารว่างและเครื่องดื่มคณะผู้ทำงาน จำนวน 25 คน X 2 ครั้ง X 2 วัน X 35 บาท

25 คน 180 2 9,000
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าถ่ายเอกสารทำเอกสารประชุมชี้แจงโครงการแก่คณะทำงาน จำนวน 25 ชุดๆ 100 บาท

25 คน 100 1 2,500
รวมค่าใช้จ่าย 18,700

กิจกรรมที่ 2 การพัฒนาเครื่องมือสำรวจ

ชื่อกิจกรรม
การพัฒนาเครื่องมือสำรวจ
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาและสร้างรูปแบบการป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลสงเปลือย
รายละเอียดกิจกรรม
พัฒนาและสร้างเครื่องมือเพื่อประเมินความเสี่ยงภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุระหว่างคณะทำงานและผู้เชี่ยวชาญ
ระยะเวลาดำเนินงาน
6 มกราคม 2563 ถึง 8 มกราคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
แบบสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงภาวะสมองเสื่อม
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
ผู้ทรงคุณวุฒิ
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 12,400 1 12,400
รวมค่าใช้จ่าย 12,400

กิจกรรมที่ 3 สร้าง Application

ชื่อกิจกรรม
สร้าง Application
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อสร้าง Application การประเมินภาวะเสี่ยงการต่อภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
รายละเอียดกิจกรรม
สร้าง Application การประเมินภาวะเสี่ยงการต่อภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
ระยะเวลาดำเนินงาน
10 มกราคม 2563 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
Application การประเมินภาวะเสี่ยงการต่อภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
รวมค่าใช้จ่าย 0

กิจกรรมที่ 4 การประชุมร่วมคณะกรรมการ พชอ.

ชื่อกิจกรรม
การประชุมร่วมคณะกรรมการ พชอ.
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาและสร้างรูปแบบการป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลสงเปลือย
  2. เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลสงเปลือย
  3. เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้และการแก้ไขปัญหาในชุมชน โดยการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ชุมชนเป็นฐานการเรียนรู้ Community Based Learning (CBL) แก่นักศึกษา
รายละเอียดกิจกรรม
ประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอนามน (พชอ.) เพื่อนำเสนอแผนงานและแนวทางในการดำเนินงานในระดับพื้นที่
ระยะเวลาดำเนินงาน
15 มกราคม 2563 ถึง 15 มกราคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอนามน (พชอ.) เพื่อนำเสนอแผนงานและแนวทางในการดำเนินงานในระดับพื้นที่ จำนวน 30 คน
ทรัพยากรอื่น ๆ
คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอนามน (พชอ.)
ภาคีร่วมสนับสนุน
คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอนามน (พชอ.)
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวันสำหรับการประชุมคณะกรรมการ (พชอ.) จำนวน 30 คน X 1 วันX 110 บาท ค่าหารว่างและเครื่องดื่มการประชุมคณะกรรมการ (พชอ.) จำนวน 30 คน X 2 ครั้ง X 1 วัน X 35 บาท

30 คน 180 1 5,400
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าถ่ายเอกสารทำเอกสารประชุมชี้แจงโครงการแก่คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอนามน (พชอ.) จำนวน 30 ชุดๆ 100 บาท

30 คน 100 1 3,000
รวมค่าใช้จ่าย 8,400

กิจกรรมที่ 5 อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันภาวะสมองเสื่อมแก่ผู้นำชุมชน

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันภาวะสมองเสื่อมแก่ผู้นำชุมชน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาและสร้างรูปแบบการป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลสงเปลือย
  2. เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลสงเปลือย
  3. เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้และการแก้ไขปัญหาในชุมชน โดยการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ชุมชนเป็นฐานการเรียนรู้ Community Based Learning (CBL) แก่นักศึกษา
รายละเอียดกิจกรรม
อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันภาวะสมองเสื่อมแก่ผู้นำชุมชน ทั้ง 16 หมู่บ้าน ของตำบลสงเปลือย
ระยะเวลาดำเนินงาน
22 มกราคม 2563 ถึง 22 มกราคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันภาวะสมองเสื่อมแก่ผู้นำชุมชน ทั้ง 16 หมู่บ้าน ของตำบลสงเปลือย จำนวน 100 คน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากรให้ความรู้แก่ผู้นำชุมชน 3 คน X 2 ชั่วโมง X 600 บาท X 1 วัน

3 คน 1,200 1 3,600
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้นำชุมชน ตัวแทน อสม. ตัวแทนผู้สูงอายุ จำนวน 100 คน X 1 วันX 100 บาท ค่าหารว่างและเครื่องดื่มคณะผู้ทำงาน สำหรับผู้นำชุมชน ตัวแทน อสม. ตัวแทนผู้สูง จำนวน 100 คน X 2 ครั้ง X 1 วัน X 35 บาท

100 คน 180 1 18,000
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าถ่ายเอกสารทำเอกสารประชุมชี้แจงโครงการแก่สำหรับผู้นำชุมชน ตัวแทน อสม. ตัวแทนผู้สูงอายุ จำนวน 100 ชุดๆ 40 บาท

100 ชุด 40 1 4,000
รวมค่าใช้จ่าย 25,600

กิจกรรมที่ 6 การสำรวจภาวะเสี่ยง รอบที่ 1

ชื่อกิจกรรม
การสำรวจภาวะเสี่ยง รอบที่ 1
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาและสร้างรูปแบบการป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลสงเปลือย
  2. เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้และการแก้ไขปัญหาในชุมชน โดยการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ชุมชนเป็นฐานการเรียนรู้ Community Based Learning (CBL) แก่นักศึกษา
รายละเอียดกิจกรรม
สำรวจพฤติกรรมเสี่ยงภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุในแต่ละหมู่บ้าน จำนวน 16 หมู่บ้าน ร่วมกับชุมชน
ระยะเวลาดำเนินงาน
20 มกราคม 2563 ถึง 21 กุมภาพันธ์ 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
สำรวจพฤติกรรมเสี่ยงภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุในแต่ละหมู่บ้าน จำนวน 16 หมู่บ้าน ร่วมกับชุมชน 1,192 คน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
ผู้นำชุมชนและ อสม.
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงคณะทำงานในการสำรวจภาวะเสี่ยงสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ในพื้นที่ 16 หมู่บ้าน จำนวน 10 คน ๆ 120 บาท จำนวน 16 วัน (ครั้งที่ 1)

10 คน 1,920 1 19,200
ค่าถ่ายเอกสาร 1,200 ชุด 6 2 14,400
ค่าพาหนะเดินทาง - รถรับจ้าง/แท็กซี่ 10 เที่ยว 1,800 1 18,000
รวมค่าใช้จ่าย 51,600

กิจกรรมที่ 7 การวิเคราะห์ข้อมูล

ชื่อกิจกรรม
การวิเคราะห์ข้อมูล
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาและสร้างรูปแบบการป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลสงเปลือย
  2. เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลสงเปลือย
รายละเอียดกิจกรรม
วิเคราะห์ข้อมูลจากข้อ 4.2 สรุปปัญหาประเด็นที่พบจาการสำรวจข้อมูล
การสะท้อนข้อมูลแก่ชุมชน
ระยะเวลาดำเนินงาน
31 มกราคม 2563 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
รวมค่าใช้จ่าย 0

กิจกรรมที่ 8 กิจกรรมการส่งเสริมพฤติกรรม

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมการส่งเสริมพฤติกรรม
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาและสร้างรูปแบบการป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลสงเปลือย
  2. เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลสงเปลือย
  3. เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้และการแก้ไขปัญหาในชุมชน โดยการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ชุมชนเป็นฐานการเรียนรู้ Community Based Learning (CBL) แก่นักศึกษา
รายละเอียดกิจกรรม
กิจกรรมส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ 7 องค์ประกอบหลัก ร่วมกับ แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (Health Believe Model) และ สมาธิบำบัด แบบ SKT (รศ. ดร.สมพร กันทรดุษฏี เตรียมชัยศรี) ใน 16 หมู่บ้าน
4.10 ประเมินพฤติกรรมเสี่ยงภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ หลังดำเนินงานกิจกรรมส่งเสริมพฤติกรรมป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
ระยะเวลาดำเนินงาน
4 มีนาคม 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
กิจกรรมส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ 7 องค์ประกอบหลัก ร่วมกับ แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (Health Believe Model) และ สมาธิบำบัด แบบ SKT (รศ. ดร.สมพร กันทรดุษฏี เตรียมชัยศรี) ใน 16 หมู่บ้าน จำนวน 1ม192 คน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
พชอ. ผู้นำชุมชน อสม.
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากรให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุในชุมชน 1 คน X 3 ชั่วโมง X 600 บาท X 16 วัน

1 คน 1,800 16 28,800
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงคณะทำงานในการส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ในพื้นที่ 16 หมู่บ้าน จำนวน 10 คน ๆ 120 บาท จำนวน 2 วัน

10 คน 3,840 1 38,400
ค่าถ่ายเอกสาร

จ้างทำเอกสารประกอบคู่มือการให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุ จำนวน 1,200 ชุด X 96 บาท

1,200 ชุด 93 1 111,600
ค่าพาหนะเดินทาง - รถรับจ้าง/แท็กซี่

ค่าจ้างเหมารถยนต์ วันละ 1,800 บาท จำนวน 10 วัน

20 เที่ยว 1,800 1 36,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้สูงอายุ จำนวน 1,200 คน X 1 วัน X 2 ครั้ง X 35 บาท

1,200 คน 70 1 84,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ ขนาด 80 ซม. X 160 ซม. X 700 บาท จำนวน 64 ป้าย

64 คน 700 1 44,800
รวมค่าใช้จ่าย 343,600

กิจกรรมที่ 9 การสำรวจภาวะเสี่ยง รอบที่ 2

ชื่อกิจกรรม
การสำรวจภาวะเสี่ยง รอบที่ 2
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาและสร้างรูปแบบการป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลสงเปลือย
  2. เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลสงเปลือย
รายละเอียดกิจกรรม
ประเมินพฤติกรรมเสี่ยงภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ หลังดำเนินงานกิจกรรมส่งเสริมพฤติกรรมป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
ระยะเวลาดำเนินงาน
15 มิถุนายน 2563 ถึง 15 กรกฎาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ประเมินพฤติกรรมเสี่ยงภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ หลังดำเนินงานกิจกรรมส่งเสริมพฤติกรรมป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงคณะทำงานในการสำรวจภาวะเสี่ยงสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ในพื้นที่ 16 หมู่บ้าน จำนวน 10 คน ๆ 120 บาท จำนวน 16 วัน (ครั้งที่ 2)

10 คน 1,920 1 19,200
ค่าพาหนะเดินทาง - รถรับจ้าง/แท็กซี่

ค่าจ้างเหมารถยนต์ วันละ 1,800 บาท จำนวน 40 วัน

1 คน 1,800 10 18,000
รวมค่าใช้จ่าย 37,200

กิจกรรมที่ 10 สรุปผลการดำเนิน

ชื่อกิจกรรม
สรุปผลการดำเนิน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาและสร้างรูปแบบการป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลสงเปลือย
  2. เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลสงเปลือย
  3. เพื่อสร้าง Application การประเมินภาวะเสี่ยงการต่อภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
  4. เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้และการแก้ไขปัญหาในชุมชน โดยการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ชุมชนเป็นฐานการเรียนรู้ Community Based Learning (CBL) แก่นักศึกษา
รายละเอียดกิจกรรม
สรุปผลโครงการเสนอรายงานฉบับสมบูรณ์
ระยะเวลาดำเนินงาน
10 สิงหาคม 2563 ถึง 28 สิงหาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
สรุปผลโครงการเสนอรายงานฉบับสมบูรณ์
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าถ่ายเอกสาร 10 ชุด 250 1 2,500
รวมค่าใช้จ่าย 2,500

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 39,600.00 44,800.00 326,400.00 12,400.00 76,800.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 7.92% 8.96% 65.28% 2.48% 15.36% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) ผู้สูงอายุได้รับกิจกรรมการส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันภาวะสมองเสื่อม 1,192 คน นักศึกษาไนักศึกษามีประสบการณ์ในกระบวนการเรียนรู้และการแก้ไขปัญหาในชุมชน โดยการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ชุมชนเป็นฐานการเรียนรู้ Community Based Learning (CBL) ในประเด็นการป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุในตำบลสงเปลือย มีการสร้างกิจกรรมส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ และมีการสร้าง Application การประเมินภาวะเสี่ยงการต่อภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
ผลลัพธ์ (Outcome) ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมการป้องกันภาวะสมองเสื่อมในระดับดีมากกว่า ร้อยละ 80 เกิดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เหมาะสมกับศตวรรษที่ 21 ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานได้จริงในการส่งเสริมการป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ นักศึกษาสามารถในการค้นคว้า คิดวิเคราะห์ ประมวลผล มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถออกแบบระบบงานในการป้องกันภาวะสมองเสื่อม ให้เข้ากับบริบทของชุมชน และกระทำโดยจิตสาธารณะ
ผลกระทบ (Impact) ผู้สุงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี ไม่เป็นภาระแก่สมาชิกในครอบครัว รายวิชาที่สามารถเทียบโอนหน่วยกิตได้
1. นวัตกรรมระบบสุขภาพ PH-014-007 3(2-2-5)
2. การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่ SC-022-206 3(2-2-5)
นำเข้าสู่ระบบโดย kris.kh kris.kh เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 10:17 น.