โครงการจัดทำฐานข้อมูลเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ประสบภัยพิบัติอุทกภัยซ้ำซากเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ต.นาแซง อ.เสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด

แบบเสนอโครงการ
โครงการจัดทำฐานข้อมูลเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ประสบภัยพิบัติอุทกภัยซ้ำซากเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ต.นาแซง อ.เสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด

1. ชื่อโครงการ

โครงการจัดทำฐานข้อมูลเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ประสบภัยพิบัติอุทกภัยซ้ำซากเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ต.นาแซง อ.เสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ดมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ดคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดร้อยเอ็ดตำบลนาแซง อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ดอาทิตย์ บุดดาดวงคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด เลขที่ 113 หมู่ 12 ต.เกาะแก้ว อ.เสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด 451200981536391

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
ร้อยเอ็ด เสลภูมิ นาแซง

3. รายละเอียดชุมชน

ตำบลนาแซง ก่อตั้งเมื่อปี 2428 แต่เดิมใช้ชื่อว่าตำบลกุดนาแซง โดยมีขุนทรงแซงเดช เป็นกำนันคนแรก เมื่อปี 2448 ขึ้นตรงกับอำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ และปี 2460 โอนมาขึ้นกับอำเภอโพนทอง มณฑลร้อยเอ็ด ต่อมาปี 2468 มาขึ้นกับอำเภอเสลภูมิ และ ปี 2514 ได้ยกฐานะขึ้นเป็นสภาตำบล ปี 2540 ได้ประกาศยกฐานะเป็นองค์การบริหารส่วนตำบล มีหมู่บ้านในการปกครอง 14 หมู่บ้านจำนวนประชากรใน ตำบลนาแซง:
จำนวนหลังคาเรือน : 1,159 หลังคาเรือน
จำนวนประชากร : 5,807 คน
จำนวนผู้สูงอายุ : 763 คน
จำนวนเด็กแรกเกิด ถึง 6 ปี : 331 คน
จำนวนผู้สูงอายุ ที่ป่วยเป็นโรคเรื้อรัง : 132 คน
จำนวนสตรีตั้งครรภ์ : 28 คน
จำนวนผู้สูงอายุ ที่ช่วยตนเองไม่ได้ :6 คน
จำนวนสตรีอายุ 35 ปี ขึ้นไป : 1,164 คน
จำนวนผู้พิการ : 113 คน
อาชีพหลัก: ทำนา ทำไร่
อาชีพเสริม: หัตถกรรม
ผลิตภัณฑ์: เสื่อกก
สาธารณูปโภค: จำนวนครัวเรือนที่มีไฟฟ้าใช้ในเขต อบต. 1,235 ครัวเรือน
มีองค์การบริหารส่วนตำบล 1 แห่ง
มีวัด/สำนักสงฆ์ 9 แห่ง
มีโรงเรียน 4 แห่ง
มีสถานีอนามัย 2 แห่ง
จากสถานการณ์อุทกภัยขึ้นในพื้นที่ที่เกิดขึ้นซ้ำซากทุกปี ล่าสุดก็คือการได้รับอิทธิพลจาก พายุระดับ 3 (โซนร้อน) “โพดุล” เมื่อปลายเดือนสิงหาคม 2562 ทำให้มีฝนตกหนักถึงหนักมากเต็มพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด ซึ่งในวันที่ 29 สิงหาคม 2562 วัดปริมาณน้ำฝนได้ 168 มม. และวันที่ 30 สิงหาคม 2562 วัดปริมาณน้ำฝนได้ 172 มม. ทำให้มีปริมาณน้ำฝนสะสมในพื้นที่เขตอำเภอเมืองฯ และพื้นที่อำเภอเสลภูมิ ประกอบกับมีฝนตกในพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์ ทำให้ปริมาณน้ำฝนในลำน้ำยังมีปริมาณสูง จากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นดังกล่าว พื้นที่ได้รับผลกระทบ ดังนี้ อำเภอเสลภูมิ ได้รับผลกระทบจากลำน้ำยังเอ่อล้น ทำให้พนังกั้นน้ำขาด จำนวน หลายจุด ได้แก่ บริเวณบ้านท่าเยี่ยม หมู่ที่ 5 บ้านท่าโพธิ์ หมู่ 6 บ้านท่าทางเกวียน หมู่ที่ 7 ตำบลวังหลวง และ บ้านนาแซง ตำบลนาแซง อำเภอเสลภูมิ ส่งผลกระทบให้น้ำท่วมพื้นที่การเกษตร ประมาณ 15,000 ไร่ และราษฎรได้รับความเดือดร้อน 32 หมู่บ้าน 2,906 ครัวเรือน ประชากร 11,872 คน และที่ต้องอพยพไปยังศูนย์พักพิง ที่เทศบาลตำบลวังหลวงและวัดบ้านนาแซง จำนวน 370 ครัวเรือน และปริมาณน้ำยังคงสูงขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากมวลน้ำมาจากจังหวัดกาฬสินธุ์ และ อำเภอโพธิ์ชัย อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด ส่งผลให้ท่วมถนนระหว่างหมู่บ้านในพื้นที่ตำบลนาแซง ตำบลวังหลวง แทบร้อยเปอร์เซ็นต์ การเดินทางต้องใช้รถที่มีพื้นสูงและเรือ รวมไปถึงผลกระทบต่อสุขภาพในระหว่างน้ำท่วมและหลังน้ำลด เช่น โรคน้ำกัดเท้า และโรคอื่นๆ ที่มากับน้ำ เป็นต้นจากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นดังกล่าวเป็นผลกระทบที่เกิดขึ้นในเรืองคุณภาพชีวิต ได้แก่ ผลกระทบทางกาย(สุขภาพ ความเป็นอยู่ การประกอบอาชีพ การเดินทาง) ผลกระทบทางใจ(ความเครียด วิตกกังวล ความเป็นห่วง ความสิ้นหวัง) และผลกระทบอื่นๆ ซึ่งจำเป็นที่จะต้องมีการศึกษาให้ครอบคลุมทุกด้านทุกมิติ เพื่อเป็นข้อมูลหรือฐานข้อมูลให้เกิด"ความเข้าใจ" ของผู้ที่เกี่ยวข้อง"เข้าถึง" สำหรับวิเคราะห์หาแนวทางหรือรูปแบบการ"พัฒนา" ในอนาคต ทั้งการพัฒนาในรูปแบบโครงการขนาดใหญ่ของหน่วยงานรัฐ หรือแม้แต่ในรูปแบบโครงการขนาดเล็กหรือกิจกรรมโครงงานที่มหาวิทยาลัยโดยนักศึกษาหรืออาจารย์สามารถทำได้ในรูปแบบต่างๆ

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

ใช้องค์ความรู้ในศาสตร์สาขาวิชาการพัฒนาชุมชนในการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย การจัดกระบวนการกลุ่ม การสร้างกระบวนการมีส่วนร่วม เป็นต้น โดยจะบูรณาการกับนักศึกษาจากหลากหลายสาขาวิชา เพื่อให้เกิดเป็นการนำ
องค์ความรู้ที่หลากหลายมาบูรณาการการทำงานร่วมกับชุมชนในมิติต่าง ๆ

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อศึกษาและสำรวจข้อมูลคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ประสบภัยพิบัติซ้ำซาก ต.นาแซง อ.เสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด

ร้อยละของผู้ให้ข้อมูลหรือตอบแบบสำรวจ

0.00 0.00
2 เพื่อวิเคราะห์หาความต้องการและแนวทางการพัฒนาของพื้นที่

จำนวนความต้องการและแนวทางการพัฒนาของพื้นที่

0.00 0.00
3 เพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ประสบภัยพิบัติอุทกภัยซ้ำซากเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ต.นาแซง อ.เสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด เบื้องต้นที่เหมาะสม

ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น

0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 การศึกษาข้อมูลชุมชนและคุณภาพชีวิตของคนชุมชน

ชื่อกิจกรรม
การศึกษาข้อมูลชุมชนและคุณภาพชีวิตของคนชุมชน
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    1.ประชุมชี้แจงโครงการกับผู้นำชุมชนทั้ง 14 หมู่บ้าน และผู้แทนหน่วยงานท้องถิ่น
    2.แบ่งนักศึกษาประจำ/รับผิดชอบ 14 หมู่บ้าน
    3.ดำเนินการศึกษาชุมชนโดยเครื่องมือศึกษาชุมชน
    4.ดำเนินการสำรวจข้อมูลคุณภาพชีวิต
    5.จัดกระทำกับข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สรุปผล
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 มกราคม 2563 ถึง 31 มกราคม 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    1.ข้อมูลชุมชน
    2.ข้อมูลคุณภาพชีวิตของคนชุมชน
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    1.สนง.พัฒนาชุมชนจังหวัด (สนับสนุนข้อมูล คำแนะนำ, อำนวยความสะดวกในพื้นที่)
    2.สนง.พัฒนาชุมชนอำเภอ(สนับสนุนข้อมูล คำแนะนำ, อำนวยความสะดวกในพื้นที่)
    3.องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/องค์การบริหารส่วนตำบล (สนับสนุนข้อมูล คำแนะนำ, อำนวยความสะดวกในพื้นที่)
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนการประสานงาน 15 คน 500 1 7,500
    ค่าอาหาร 15 คน 60 5 4,500
    ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่ 15 คน 1,000 1 15,000
    ค่าถ่ายเอกสาร

    แบบสำรวจ

    1,200 ชุด 5 1 6,000
    ค่าวัสดุสำนักงาน

    หมึกปริ้น

    1 ชิ้น 2,500 1 2,500
    ค่าวัสดุสำนักงาน

    กระดาษ ปากกา แฟ้ม อื่นๆ

    50 ชิ้น 100 1 5,000
    ค่าเช่าสถานที่

    จัดประชุม

    1 ครั้ง 2,000 1 2,000
    ค่าอาหาร

    อาหารกลางวัน

    30 คน 60 1 1,800
    ค่าอาหาร

    อาหารว่าง

    30 คน 30 2 1,800
    ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม 30 คน 200 1 6,000
    ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชิ้น 500 1 500
    รวมค่าใช้จ่าย 52,600

    กิจกรรมที่ 2 ศึกษาข้อมูลสถานการณ์และผลกระทบจากภัยพิบัติ

    ชื่อกิจกรรม
    ศึกษาข้อมูลสถานการณ์และผลกระทบจากภัยพิบัติ
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      1.ดำเนินการศึกษาและสำรวจข้อมูลสถานการณ์และผลกระทบจากภัยพิบัติ
      2.จัดกระทำกับข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สรุปผล
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2563
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      ข้อมูลสถานการณ์และผลกระทบจากภัยพิบัติ
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      1.สนง.พัฒนาชุมชนจังหวัด (สนับสนุนข้อมูล คำแนะนำ, อำนวยความสะดวกในพื้นที่)
      2.สนง.พัฒนาชุมชนอำเภอ(สนับสนุนข้อมูล คำแนะนำ, อำนวยความสะดวกในพื้นที่)
      3.องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/องค์การบริหารส่วนตำบล (สนับสนุนข้อมูล คำแนะนำ, อำนวยความสะดวกในพื้นที่)
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      ค่าตอบแทนการประสานงาน 15 คน 500 1 7,500
      ค่าอาหาร 15 คน 60 5 4,500
      ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่ 15 คน 1,000 1 15,000
      ค่าถ่ายเอกสาร

      แบบสำรวจ

      1,200 ชุด 5 1 6,000
      รวมค่าใช้จ่าย 33,000

      กิจกรรมที่ 3 การพัฒนาและจัดทำระบบฐานข้อมูลที่เหมาะสม

      ชื่อกิจกรรม
      การพัฒนาและจัดทำระบบฐานข้อมูลที่เหมาะสม
      วัตถุประสงค์
      1. เพื่อศึกษาและสำรวจข้อมูลคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ประสบภัยพิบัติซ้ำซาก ต.นาแซง อ.เสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด
      รายละเอียดกิจกรรม
      1.ศึกษาการทำระบบฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ที่เหมาะสม
      2.ดำเนินการพัฒนาระบบฐานข้อมูลที่เหมาะสม
      3.วิเคราะห์ผล ประมวลผล แสดงผล จัดทำสื่อเผยแพร่
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      1 มีนาคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2563
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      1.มีระบบฐานข้อมูลที่เหมาะสม
      3.แสดงผลและจัดทำสื่อเผยแพร่
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      1.สนง.พัฒนาชุมชนจังหวัด (สนับสนุนข้อมูล คำแนะนำ, อำนวยความสะดวกในพื้นที่)
      2.สนง.พัฒนาชุมชนอำเภอ(สนับสนุนข้อมูล คำแนะนำ, อำนวยความสะดวกในพื้นที่)
      3.องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/องค์การบริหารส่วนตำบล (สนับสนุนข้อมูล คำแนะนำ, อำนวยความสะดวกในพื้นที่)
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      ค่าตอบแทนวิทยากร

      ช่วยพัฒนาฐานข้อมูล

      1 คน 20,000 1 20,000
      ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

      จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ เช่น แผ่นพับ

      1,200 ชิ้น 20 1 24,000
      ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

      จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ เช่น Roll up

      3 ชุด 2,000 1 6,000
      รวมค่าใช้จ่าย 50,000

      กิจกรรมที่ 4 การนำผลการดำเนินงานโครงการไปสู่การปฏิบัติ

      ชื่อกิจกรรม
      การนำผลการดำเนินงานโครงการไปสู่การปฏิบัติ
      วัตถุประสงค์
        รายละเอียดกิจกรรม
        1.เลือกความต้องการของชุมชนหรือแนวทางการการพัฒนาที่ได้จากโครงการ 1 ประเด็น
        2.นักศึกษาจัดโครงงานพัฒนาที่เป็นรูปธรรมและเกิดประโยชน์ต่อชุมชนร่วมกัน 1 โครงงาน
        3.สรุปผลโครงงาน
        4.ถอดบทเรียนร่วมกัน
        ระยะเวลาดำเนินงาน
        1 เมษายน 2563 ถึง 30 เมษายน 2563
        ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
        นักศึกษาจัดโครงงานพัฒนาที่เป็นรูปธรรมและเกิดประโยชน์ต่อชุมชนร่วมกัน 1 โครงงาน
        ทรัพยากรอื่น ๆ
        ภาคีร่วมสนับสนุน
        1.สนง.พัฒนาชุมชนจังหวัด (สนับสนุนข้อมูล คำแนะนำ, อำนวยความสะดวกในพื้นที่)
        2.สนง.พัฒนาชุมชนอำเภอ(สนับสนุนข้อมูล คำแนะนำ, อำนวยความสะดวกในพื้นที่)
        3.องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/องค์การบริหารส่วนตำบล (สนับสนุนข้อมูล คำแนะนำ, อำนวยความสะดวกในพื้นที่)
        รายละเอียดงบประมาณ
        ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
        ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน 3,600 1 3,600
        ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 2,000 1 2,000
        ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชิ้น 500 1 500
        ค่าอาหาร

        อาหารกลางวัน

        60 คน 60 1 3,600
        ค่าอาหาร

        อาหารว่าง

        60 คน 30 2 3,600
        ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 40 คน 1,000 1 40,000
        ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม 40 คน 150 1 6,000
        รวมค่าใช้จ่าย 59,300

        กิจกรรมที่ 5 เวทีคืนข้อมูล สรุปผลโครงการ นำเสนอผลการดำเนินโครงการ

        ชื่อกิจกรรม
        เวทีคืนข้อมูล สรุปผลโครงการ นำเสนอผลการดำเนินโครงการ
        วัตถุประสงค์
          รายละเอียดกิจกรรม
          1.จัดประชุมผู้นำชุมชนทั้ง 14 หมู่บ้าน และผู้แทนหน่วยงานท้องถิ่น
          2.คืนข้อมูล สรุปผลโครงการ นำเสนอผลการดำเนินโครงการ โดยนักศึกษา
          3.แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และหารือถึงการต่อยอดในอนาคต
          ระยะเวลาดำเนินงาน
          1 พ.ค. 2563 ถึง 31 พ.ค. 2563
          ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
          สรุปผลโครงการ นำเสนอผลการดำเนินโครงการโดยนักศึกษา เพื่อให้ผู้เข้าร่วมช่วยพิจารณาและตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล พร้อมทั้งหารือถึงการต่อยอดในอนาคต
          ทรัพยากรอื่น ๆ
          ภาคีร่วมสนับสนุน
          1.สนง.พัฒนาชุมชนจังหวัด (สนับสนุนข้อมูล คำแนะนำ, อำนวยความสะดวกในพื้นที่)
          2.สนง.พัฒนาชุมชนอำเภอ(สนับสนุนข้อมูล คำแนะนำ, อำนวยความสะดวกในพื้นที่)
          3.องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/องค์การบริหารส่วนตำบล (สนับสนุนข้อมูล คำแนะนำ, อำนวยความสะดวกในพื้นที่)
          รายละเอียดงบประมาณ
          ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
          ค่าอาหาร

          อาหารกลางวัน

          40 คน 60 1 2,400
          ค่าอาหาร

          อาหารว่าง

          40 คน 30 2 2,400
          ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 2,000 1 2,000
          ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชิ้น 500 1 500
          ค่าถ่ายเอกสาร

          ทำเล่มรายายโครงการ

          20 ชุด 200 1 4,000
          รวมค่าใช้จ่าย 11,300

          รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 206,200.00 บาท

          ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
          ค่าใช้จ่าย (บาท) 50,600.00 31,500.00 76,600.00 47,500.00 206,200.00
          เปอร์เซ็นต์ (%) 24.54% 15.28% 37.15% 23.04% 100.00%

          11. งบประมาณ

          206,200.00บาท

          12. การติดตามประเมินผล

          ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
          ผลผลิต (Output) เกิดระบบฐานข้อมูลเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ประสบภัยพิบัติอุทกภัยซ้ำซากเพื่อประโยชน์ต่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ต.นาแซง อ.เสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด เบื้องต้นที่เหมาะสม ในอนาคต 1.นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานจริง มีความสามารถในการ
          ค้นคว้า คิด วิเคราะห์ ประมวลผล มีความคิดสร้างสรรค์ และมีทักษะที่จำเป็นสำหรับศตวรรษที่ 21
          2.นักศึกษาได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาวิเคราะห์ ประมวลผลปัญหา
          และปฏิบัติงานให้ความช่วยเหลือในการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน และสามารถนำโครงงานเทียบโอนหน่วยกิตทดแทนการเรียนในชั้นเรียนได้
          ผลลัพธ์ (Outcome) 1.ประชาชนได้มองเห็น ได้เข้าใจปัญหาและความต้องการทั้งของตนเองและชุมชน
          2.เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชนภายในชุมชนด้วยกันเองและมหาวิทยาลัย
          นักศึกษาได้มีโอกาสฝึกฝนตนเองหรือมีโอกาสนำความมีจิตอาสาของตนเองออกมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อผู้อื่นในท้องถิ่น รวมทั้งได้เรียนรู้ได้เข้าใจปรากฏการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นในชุมชน ทำให้มีจิตสำนึกรักท้องถิ่น มีความเห็นใจผู้อื่นที่ประสบปัญหา เป็นต้น
          ผลกระทบ (Impact) 1.มีข้อมูลหรือฐานข้อมูลให้เกิด"ความเข้าใจ" ของผู้ที่เกี่ยวข้อง"เข้าถึง" สำหรับวิเคราะห์หาแนวทางหรือรูปแบบการ"พัฒนา" ในอนาคต ทั้งการพัฒนาในรูปแบบโครงการขนาดใหญ่ของหน่วยงานรัฐ หรือแม้แต่ในรูปแบบโครงการขนาดเล็กหรือกิจกรรมโครงงานที่มหาวิทยาลัยโดยนักศึกษาหรืออาจารย์สามารถทำได้ในรูปแบบต่างๆ
          2.ประชาชนในชุมชนมีความเป็นอยู่ดีขึ้น ปัญหาของชุมชนในมิติต่าง ๆ ได้รับการแก้ไข เช่นด้านความยากจน ความเหลื่อมล้ า และปัญหาคุณภาพชีวิต
          นักศึกษาเกิดองค์ความรู้ ประสบการณ์ เติบโตเป็นผู้ใหญ่มากขึ้นจากการเข้าใจปรากฏการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นในชุมชน มีจิตสำนึกรักท้องถิ่น มีความเห็นใจผู้อื่นที่ประสบปัญหา เป็นต้น
          นำเข้าสู่ระบบโดย arthit101 arthit101 เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 09:58 น.