การเสริมสร้างสายสัมพันธ์และความกตัญญูระหว่างผู้สูงอายุและเยาวชนเพื่อเพิ่มความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและลดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ

แบบเสนอโครงการ
การเสริมสร้างสายสัมพันธ์และความกตัญญูระหว่างผู้สูงอายุและเยาวชนเพื่อเพิ่มความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและลดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ

1. ชื่อโครงการ

การเสริมสร้างสายสัมพันธ์และความกตัญญูระหว่างผู้สูงอายุและเยาวชนเพื่อเพิ่มความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและลดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ศูนย์อาสาสมัครเพื่อสังคม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และสถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ม.อ.ชุมชนตำบลท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลารศ.ดร.กาญจน์สุนภัส บาลทิพย์คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา0835449146ดร.กุลทัต หงส์ชยางกูร
คุณวัลภา ฐาน์กาญจน์
ศิริมาศ ภูมิไชยา
พิมพ์พนิต ภาศรี
กนกวรรณ หวนศรี
ผลิดา หนุดหละ
นางสาวแวอามีเนาะห์ สุหลง
รศ.ดร.ปิยะนุช จิตตนูนท์
ผศ.ดร.อุมาพร ปุญญโสพรรณ

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
สงขลา หาดใหญ่ ท่าข้าม

3. รายละเอียดชุมชน

ชุมชนเป็นลักษณะชานเมือง เป็นชุมชนพหุวัฒนธรรม มีจำนวนประชากร 8,378 คน นับถือศาสนาพุทธ ประมาณ 84% นับถือศาสนา อิสลาม 16% มีจำนวนครัวเรือนทั้งหมด จำนวน 2,912 คน ประชากรส่วนใหญ่กกระกอบอาชีบทางการเกษตร เช่น ทำสวนยางพารา ทำนา ปลูกพืชตามฤดูกาล รับจ้าง เกี่ยวข้าว รับจ้างตามโรงงานอุตสาหกรรม คนในชุมชนมีวิถีชีวิตของประชาชนในพื้นที่เริ่มมีการเปลี่ยนแปลง โดยวัยแรงงาน วัยเรียน วัยรุ่น และผู้สูงอายุ ไม่ได้มีปฏิสัมพันธ์กันมากนัก วัยผู้สูงอายุอยู่บ้านตามลำพัง วัยรุ่นมีพฤติกรรมเสี่ย1. ผู้นำบุคลากร แกนนำชุมชน มีส่วนร่วมในการช่วยคิด ช่วยทำ และมีทักษะในกรทำงาน
2. การบริหารจัดการได้รับการสนับสนุนจากรัฐอย่างต่อเนื่อง
3. มีการบริหารจัดการแบบกระจายอำนาจ
4. มีกฎหมายรองรับอำนาจหน้าที่
5. องค์กรมีความพร้อมด้านทรัพยากร
6. มีความสามัคคี และมุ่งเน้นปฏิบัติ
7. มีการสร้างสายสัมพันธ์ที่กับประชาชน
8. มีการรวมกลุ่มของคนในชุมชน
ภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ และวัยรุ่นบางส่วนมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ เช่น การใช้สารเสพติด การมีอุบัติเหตุพื้นที่ องค์การบริหารส่วนตำบล มีความสนใจและให้ความร่วมมือในการส่งเสริมคุรภาพชีวิตของผู้สูงอายุ และพัฒนาศักยภาพของเด้กและเยาวชน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

การเสริมสร้างสายสัมพันธ์และความกตัญญู ระหว่างผู้สูงอายุ และเยาวชน เพื่อนำมาซึ่งการเพิ่มความมีคุณค่าในตนเอง ลดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ และเพิ่มการมีเป้าหมายชีวิตของเยาวชน

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 การเสริมสร้างสายสัมพันธ์และความกตัญญูระหว่างผู้สูงอายุและเยาวชนเพื่อเพิ่มความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและลดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ

ร้อยละของความสุขในชีวิตของผู้สูงอายุ
ร้อยละของการลด/ไม่เกิดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ ร้อยละของการมีพฤติกรรมที่ดี เช่น การมีเป้าหมายชีวิต การมีความกตัญญู ของเยาวชน

80.00 80.00
2 การส่งเสริมให้เยาวชนมีความกตัญญูต่อผู้สูงอายุ การส่งเสริมความมีคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุ การลดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ

ร้อยละของเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมและมีความกตัญญูต่อผู้สูงอายุ ระดับความมีคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุ และระดับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ

80.00 80.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ผู้สูงอายุในตำบลท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 200

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 1. การวิเคราะห์สถานการณ์ภาวะสุขภาพ ปัญหาสุขภาพ และระบบการดูแลผู้สูงอายุ ทั้งเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ

ชื่อกิจกรรม
1. การวิเคราะห์สถานการณ์ภาวะสุขภาพ ปัญหาสุขภาพ และระบบการดูแลผู้สูงอายุ ทั้งเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ
วัตถุประสงค์
  1. การเสริมสร้างสายสัมพันธ์และความกตัญญูระหว่างผู้สูงอายุและเยาวชนเพื่อเพิ่มความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและลดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ
  2. การส่งเสริมให้เยาวชนมีความกตัญญูต่อผู้สูงอายุ การส่งเสริมความมีคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุ การลดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ
รายละเอียดกิจกรรม
1. การวิเคราะห์สถานการณ์ภาวะสุขภาพ และระบบการดูแลผู้สูงอายุ ทั้งเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ เช่น การสำรวจ/การสัมภาษณ์ถึงการรับรู้สุขภาพ ปัญหาสุขภาพ และวิธีการดูแลสุขภาพ ความมีคุณค่าในตนเอง และความซึมเศร้าในผู้สูงอายุ และการวิเคราะห์ปัจจัยสนับสนุน/อุปสรรคในการดูแลผู้สูงอายุ
2. การวิเคราะห์บทบาทหรือศักยภาพของผู้สูงอายุที่มีต่อชุมชนและเยาวชน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1. การได้ข้อมูลภาวะสุขภาพ ปัญหาสุขภาพ และระบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุในปัจจุบัน
2. การได้ข้อมูลเกี่ยวกับศักยภาพของผู้สูงอายุในชุมชน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
ภวส และสจรส ผู้นำชุมชน และประชาชนตำบลท่าข้าม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่

ค่าเดินทางในการพานักศึกษาลงไปเก็บข้อมูล

1 ครั้ง 2,000 10 20,000
ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ

ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิในการให้ข้อเสนอแนะต่อเครื่องมือ และผลการศึกษา

1 คน 1,000 2 2,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารมื้อหลัก 80 บาท ค่าอาหารว่าง 35 บาท x 2 มื้อ เวทีสรุปสรุปข้อมูลร่วมกับแกนนำชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้องเรื่องสถานการณ์สุขภาพของคนในชุมชน

20 คน 150 1 3,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารมื้อหลัก 80 บาท ค่าอาหารว่าง 35 บาท x 2 มื้อ ในการจัดกิจกรรมสนทนากลุ่ม 3 กลุ่ม

15 คน 150 3 6,750
รวมค่าใช้จ่าย 31,750

กิจกรรมที่ 2 การวิเคราะห์สถานการณ์เครือข่ายหรือกลุ่มจิตอาสาของเยาวชน และบทบาทของเยาวชนในชุมชน

ชื่อกิจกรรม
การวิเคราะห์สถานการณ์เครือข่ายหรือกลุ่มจิตอาสาของเยาวชน และบทบาทของเยาวชนในชุมชน
วัตถุประสงค์
  1. การเสริมสร้างสายสัมพันธ์และความกตัญญูระหว่างผู้สูงอายุและเยาวชนเพื่อเพิ่มความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและลดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ
  2. การส่งเสริมให้เยาวชนมีความกตัญญูต่อผู้สูงอายุ การส่งเสริมความมีคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุ การลดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ
รายละเอียดกิจกรรม
1. การวิเคราะห์สถานการณ์จิตอาสา กลุ่มจิตอาสา บทบาทและศักยภาพของจิตอาสากลุ่มทั่วไป และกลุ่มเยาวชนในตำบลท่าข้ามที่มีต่อผู้สูงอายุ
2. การศึกษาการรับรู้เกี่ยว และการให้ความหมายของความกตัญญูของเยาวชนที่มีต่อผู้สูงอายุ
3. การระดมสมองของเยาวชนต่อการแสดงบทบาทในการดูแลผู้สูงอายุ
4. การวิเคราะห์ปัจจัยส่งเสริม/ระบบสนับสนุน/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และอุปสรรคในการแสดงบทบาทของจิตอาสาของเยาวชน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 31 มกราคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1. การเข้าใจสถานการณ์ และมีข้อมูลที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับสถานการณ์จิตอาสา กลุ่มจิตอาสา บทบาทและศักยภาพของจิตอาสากลุ่มทั่วไป และกลุ่มเยาวชนในตำบลท่าข้าม
2. การมีข้อมูลที่ชัดเจนเกี่ยวปัจจัยส่งเสริม/ระบบสนับสนุน และอุปสรรคในการแสดงบทบาทของจิตอาสาของเยาวชน เพื่อนำไปสู่การวางแผนหรืออกแแบ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
ภวส และสจรส ผู้นำชุมชน และประชาชนตำบลท่าข้าม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่

ค่าเดินทางพานักศึกษาลงพื้นที่ในการเก็บข้อมูล

1 ครั้ง 2,000 5 10,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิในการให้ข้อเสนอแนะต่อเครื่องมือ และผลการศึกษา

1 คน 1,000 2 2,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารมื้อหลัก 80 บาท ค่าอาหารว่าง 35 บาท x 2 มื้อ เวทีสรุปสรุปข้อมูลร่วมกับแกนนำชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้อง

20 คน 150 1 3,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารมื้อหลัก 80 บาท ค่าอาหารว่าง 35 บาท x 2 มื้อ สนทนากลุ่ม 2 กลุ่ม

15 คน 150 2 4,500
รวมค่าใช้จ่าย 19,500

กิจกรรมที่ 3 การพัฒนาการพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างสายสัมพันธ์และความกตัญญูของเยาวชน

ชื่อกิจกรรม
การพัฒนาการพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างสายสัมพันธ์และความกตัญญูของเยาวชน
วัตถุประสงค์
  1. การเสริมสร้างสายสัมพันธ์และความกตัญญูระหว่างผู้สูงอายุและเยาวชนเพื่อเพิ่มความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและลดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ
  2. การส่งเสริมให้เยาวชนมีความกตัญญูต่อผู้สูงอายุ การส่งเสริมความมีคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุ การลดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ
รายละเอียดกิจกรรม
1. การสรุปผลการศึกษา และออกแบบรูปแบบการเสริมสร้างสายสัมพันธ์และความกตัญญูของเยาวชนเพื่อการส่งเสริมความมีคุณค่าในตนเอง และการลดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ
2. การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และปรับรูปแบบการเสริมสร้างสายสัมพันธ์และความกตัญญูของเยาวชนเพื่อการส่งเสริมความมีคุณค่าในตนเอง และการลดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ
3. การสร้างความตระหนักถึงความสำคัญของความกตัญญของเยาวชนที่มีต่อผู้สูงอายุ และพัฒนาศักยภาพของเยาวชนในการดูแลผู้สูงอายุโดยอาศัยการมีส่วนร่วมของชุมชน (ที่สะท้อนถึงการมีความกตัญญู)
4. การจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความมีคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุ โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของชุมชน
5. การพัฒนาเครือข่ายการเสริมสร้างสายสัมพันธ์และความกตัญญูของเยาวชนที่มีต่อผุ้สูงอายุ การพัฒนาเครือข่ายสังคมออนไลน์ “ความดีที่ถูกบันทึก” ของเยาวชน
6. การพัฒนาสื่อ/นวัตกรรมการดูแลผู้สูงอายุด้วยการเสริมสร้างสายสัมพันธ์กับเยาวชน โดย 1) การพัฒนาสื่อ/นวัตกรรมเช่น โปรแกรมการเตรียมความพร้อมเยาวชนในการเป็นผู้ให้การดูแล และการได้รับรับการดูแล (แบบองค์รวม) 2) การพัฒนาโปรแกรมการเตรียมความพร้อมเยาวชนให้มีจิตพฤติกรรมที่ดี มีจิตอาสา จิตวิญญาณ คุณธรรมจริยธรรม ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่มีความรู้คู่กับคุณธรรม เพื่อการดูแลสุขภาพองค์รวมแก่ผู้สูงอายุ (แบบองค์รวม)เป็นต้น 3) การพัฒนาสื่อ/นวัตกรรม เช่น โปรแกรมการส่งเสริมความีคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุ ในการเป็นผู้ให้การดูแล และการได้รับรับการดูแล (แบบองค์รวม) และ 4) การพัฒนาระบบ request care and respond care แบบออนไลน์
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 30 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
รูปแบบการเสริมสร้างสายสัมพันธ์และความกตัญญูของเยาวชน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
ชุมชนท่าข้าม องค์การบริหารส่วนตำบล ผู้นำชุมชน และประชาชน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่

ค่าเดินทางในการจัดกิจกรรมพัฒนารูปแบบ

1 ครั้ง 2,000 10 20,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิวิเคราะห์ผลการศึกษา

2 คน 1,000 1 2,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารในการสนทนากลุ่ม และกิจกรรมพัฒนา (ค่าอาหารมื้อหลัก 80 บาท x ค่าอาหารว่าง 35 บาท x 2 มื้อ)

20 คน 150 10 30,000
อื่น ๆ

ค่าจัดทำสื่อ

200 ชุด 200 1 40,000
อื่น ๆ

ค่าพัฒนาโปรแกรม

3 ชุด 20,000 1 60,000
ค่าถ่ายเอกสาร 100 ชุด 50 1 5,000
รวมค่าใช้จ่าย 157,000

กิจกรรมที่ 4 การได้รูปแบบการเสริมสร้างสายสัมพันธ์และความกตัญญูของเยาวชน

ชื่อกิจกรรม
การได้รูปแบบการเสริมสร้างสายสัมพันธ์และความกตัญญูของเยาวชน
วัตถุประสงค์
  1. การเสริมสร้างสายสัมพันธ์และความกตัญญูระหว่างผู้สูงอายุและเยาวชนเพื่อเพิ่มความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและลดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ
รายละเอียดกิจกรรม
1. การทดลองรูปแบบการเสริมสร้างสายสัมพันธ์และความกตัญญูของเยาวชนเพื่อการส่งเสริมความมีคุณค่าในตนเอง และการลดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ
2. การสะท้อนผลการปฏิบัติ และประเมินผล
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พ.ค. 2563 ถึง 31 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
การได้รูปแบบการเสริมสร้างสายสัมพันธ์และความกตัญญูของเยาวชน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
ชุมชนท่าข้าม องค์การบริหารส่วนตำบล ผู้นำชุมชน และประชาชน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่

ค่าเดินทางทดลองรูปแบบ

1 ครั้ง 2,000 3 6,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารในเวทีสะท้อนผลการปฏิบัติและการประเมินผล

20 คน 150 1 3,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 3 ชิ้น 1,000 1 3,000
ค่าวัสดุสำนักงาน 20 ชิ้น 100 1 2,000
รวมค่าใช้จ่าย 14,000

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 222,250.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 6,000.00 3,000.00 111,250.00 2,000.00 100,000.00 222,250.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 2.70% 1.35% 50.06% 0.90% 44.99% 100.00%

11. งบประมาณ

222,250.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) 1. รูปแบบการเสริมสร้างสายสัมพันธ์และความกตัญญูของเยาวชนเพื่อการส่งเสริมความมีคุณค่าในตนเอง และการลดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ โดย
เยาวชน ผู้สูงอายุ ครอบครัว ครู และโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ไ้รับประโยชน์ ดังนี้ : 1)มีความรู้แนวทางในการรูปแบบการเสริมสร้างสายสัมพันธ์และความกตัญญูของเยาวชนเพื่อการส่งเสริมความมีคุณค่าในตนเอง และการลดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ 2) เยาวชนมีความกตัญญู 3) ครอบครัวและโรงเรียนมีแนวทางในการส่งเสริมความกตัญญู
2. การได้ต้นแบบของรูปแบบการเสริมสร้างสายสัมพันธ์และความกตัญญูของเยาวชนเพื่อการส่งเสริมความมีคุณค่าในตนเอง และการลดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ
2. การมีเครือข่ายการเสริมสร้างสายสัมพันธ์และความกตัญญูของเยาวชนเพื่อการส่งเสริมความมีคุณค่าในตนเอง และการลดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ
3. การมีสื่อในการสร้างความกตัญญูแก่ เยาวชนในการ มีคุณภาพชีวิตที่ดี และลดพฤติกรรมเสี่ยง และพัฒนาเยาวชนเชิงบวก
1. นักศึกษาเข้าใจกระบบวนการศึกษาวิจัยอย่างเป็นระบบ เช่น การได้เรียนรู้การศึกษาปัญหา และวิเคราะห์ปัญหา เพื่อนำมาซึ่ง เข้าใจสถานการณ์สุขภาพ ปัญหาสุขภาพ และระบบกสารดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ
2. นักศึกษาได้เรียนรู้กระบวนการพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างสายสัมพันธ์และความกตัญญูของเยาวชนเพื่อการส่งเสริมความมีคุณค่าในตนเอง และการลดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ ซึ่งสามารถนำไปปรับใช้ในอนาคต
3. นักศึกษาได้รับการปลูกฝัง และซึมซับการมีความกตัญญู ที่จะนำไปสู่การเป้นคนดีของสังคม
ผลลัพธ์ (Outcome) การได้รูปแบบการเสริมสร้างสายสัมพันธ์และความกตัญญูของเยาวชนเพื่อการส่งเสริมความมีคุณค่าในตนเอง และการลดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ ที่สามารถนำไปใช้ได้จริงและเป็นต้นแบบสำหรับหน่วยงานอื่นๆ
- ผู้สูงอายุรับรู้ถึงความมีคุณค่าในตนเองและมีคุณภาพชีวิตที่ดี
- เยาวชนได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ และสามารถนำไปสู่การดูแลสุขภาพตนเองการปลูกฝัง และแสดงออกถึงคุณลักษณะที่ดี เช่น ความกตัญญู กตเวที การมีจิตใจที่ดงาม การช่วยเหลือผู้อื่นและการมีสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ
- เยาวชนได้รับการปลูกฝัง และแสดงออกถึงคุณลักษณะที่ดี เช่น ความกตัญญู กตเวที การมีจิตใจที่ดงาม การช่วยเหลือผู้อื่นและการมีสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ
- ระบบบริการสุขภาพมีระบบในการดูแล ช่วยเหลือผู้สูงอายุ
1. นักศึกษา และเยาวชนได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ และสามารถนำไปสู่การดูแลสุขภาพตนเองการปลูกฝัง และแสดงออกถึงคุณลักษณะที่ดี เช่น ความกตัญญู กตเวที การมีจิตใจที่ดงาม การช่วยเหลือผู้อื่นและการมีสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ
2. นักศึกษาและเยาวชนได้รับการปลูกฝัง และแสดงออกถึงคุณลักษณะที่ดี เช่น ความกตัญญู กตเวที การมีจิตใจที่ดงาม การช่วยเหลือผู้อื่นและการมีสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ
ผลกระทบ (Impact) 1. ผู้สูงอายุรับรู้ถึงความมีคุณค่าในตนเองและมีคุณภาพชีวิตที่ดี
2. เยาวชนได้รับความรู้ และการปลูกฝังในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ และสามารถนำไปสู่การดูแลสุขภาพตนเองการปลูกฝัง และแสดงออกถึงคุณลักษณะที่ดี เช่น ความกตัญญู กตเวที การมีจิตใจที่ดงาม การช่วยเหลือผู้อื่นและการมีสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ
3. เยาวชนได้รับการปลูกฝัง และแสดงออกถึงคุณลักษณะที่ดี เช่น ความกตัญญู กตเวที การมีจิตใจที่ดงาม การช่วยเหลือผู้อื่นและการมีสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ
4. การสร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และสามารถต่อยอดสู่การพัฒนาในประเด็นอื่นๆ
1. การสร้างชุมชนและสังคมแห่งความดี การมีความกตัญญู ซึ่งส่งผลต่อสังคมไทยในภาพกว้าง
นำเข้าสู่ระบบโดย Karnsunaphat Karnsunaphat เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 07:24 น.