การยกระดับผ้าทอย้อมครามเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์และการตลาดยุคดิจิทัล พื้นที่บ้านนาค้อ ตำบลกุดโดน อำเภอห้วยเม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
การยกระดับผ้าทอย้อมครามเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์และการตลาดยุคดิจิทัล พื้นที่บ้านนาค้อ ตำบลกุดโดน อำเภอห้วยเม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

การยกระดับผ้าทอย้อมครามเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์และการตลาดยุคดิจิทัล พื้นที่บ้านนาค้อ ตำบลกุดโดน อำเภอห้วยเม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามคณะครุศาสตร์สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษาบ้านนาค้อ ตำบลกุดโดน อำเภอห้วยเม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์ดร.ชัยวัฒน์ สุภัควรกุล80 ถ.นครสวรรค์ ต.ตลาด อ.เมือง จ.มหาสารคาม 44000095-671-5143นายบดินทร์ อาจวิชัย นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา เลขบัตรประชาชน 1460501304066
นางสาวอโนชา วันสา นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา เลขบัตรประชาชน 1440601300241
นายยุทธการ หิรัญรักษ์ นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา เลขบัตรประชาชน 1449900610223
นางสาวปิยาภรณ์ บุตรวงษ์ นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา เลขบัตรประชาชน 1449900471789
นายพัฒน์ธนวรรธก์ หลักคำ นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา เลขบัตรประชาชน 1461300186601
นายธนากฤต ชนะพาล นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา เลขบัตรประชาชน 5361201057670
นายบุญเดช พุทธาหอม นักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา เลขบัตรประชาชน 1440900216675
นางสาวสุพัตรา บัวลอย นักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา เลขบัตรประชาชน 1451101303781
นางสาวแพรวนภา ชนบัญชา นักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา เลขบัตรประชาชน 1451600027576
นางสาวธัญญภรณ์ ผลสินธ์ นักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา เลขบัตรประชาชน 1342500040599
นางสาวอมรรัตน์ ช่อประพันธ์ อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา เลขบัตรประชาชน 3440600118810
นางสาวนัชชา อู่เงิน อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา เลขบัตรประชาชน 1409900326070
นายชยกร สมศิลา อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา เลขบัตรประชาชน 3449900350775
นางสาวธนวรรณพร ศรีเมือง อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา เลขบัตรประชาชน 3679900130820
รองศาสตราจารย์ ดร.ประภัสสร ปรี่เอี่ยม อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ เลขบัตรประชาชน 4349900005821

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ ห้วยเม็ก กุดโดน

3. รายละเอียดชุมชน

ตำบลกุดโดนแบ่งเขตการปกครอง เป็น 10 หมู่บ้าน ประกอบด้วยหมู่บ้าน หมู่1 บ้านหนองไผ่ , หมู่1 บ้านนาสีนวล , หมู่2 บ้านหนองแวงม่วง , หมู่3 บ้านหนองแวงดง , หมู่4 บ้านนาค้อ , หมู่5 บ้านหนองปะโอ , หมู่6 บ้านหนองปะโอ , หมู่7 บ้านมิตรหนองเรียง , หมู่8 บ้านคำปะโอ , หมู่9 บ้านหนองแวงศรีสวัสดิ์
บ้านนาค้อ คนในชุมชนส่วนใหญ่เป็นคนเชื้อสายญ้อ คนเก่าแก่มีทักษะฝีมือด้านการทอผ้า และมีการทอผ้าไว้ใช้เอง และใช้วัสดุในชุมชน คือ ปลูกฝ้ายไว้สำหรับทอผ้าเอง
กลุ่มทอผ้าพื้นเมืองบ้านนาค้อ คนในชุมชนส่วนใหญ่เป็นคนเชื้อสายญ้อ คนเก่าแก่มีทักษะฝีมือด้านการทอผ้า และมีการทอผ้าไว้ใช้เอง และใช้วัสดุในชุมชน คือ ปลูกฝ้ายไว้สำหรับทอผ้าเอง สำหรับผ้าที่นิยมทอไว้ใช้เอง คือ ผ้าฝ้ายมัดหมี่ พื้นสีดำ และตีนสีแดง ซึ่งถือว่าเป็นอัตลักษณ์ของผ้าบ้านนาค้อ ที่สืบทอดต่อกันมาจนถึงลูกหลาน โดยกลุ่มทอพื้นเมืองเกิดจากการรวมตัวกันของชาวบ้านในหมู่บ้านนาค้ออาชีพหลักประกอบอาชีพเกษตรกรรมแต่ประสบปัญหาภัยแล้งนอกจากนี้หลังจากฤดูเก็บเกี่ยวผลผลิตทางเกษตรกรรมจะว่างงานต้องไปประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป ทำให้รายได้ไม่เพียงพอต่อการเลี้ยงชีพ นอกจากนี้กลุ่มทอผ้าพื้นเมืองบ้านนาค้อเองก็ประสบปัญหาการขายผลิตภัณฑ์เนื่องจากสินค้าชนิดเดียวกันและใกล้เคียงเช่นผ้าไหมในท้องตลาดที่มีหลากหลาย และมีจำนวนมากทำให้การชูอัตลักษณ์ของผ้าบ้านนาค้อไม่เป็นที่ดึงดูดความสนใจของผู้ซื้อได้ ทำให้เกษตรกรประสบปัญหาอย่างต่อเนื่องชาวบ้านในหมู่บ้านนาค้อ ที่อาชีพหลักประกอบอาชีพเกษตรกรรมแต่ประสบปัญหาภัยแล้งนอกจากนี้หลังจากฤดูเก็บเกี่ยวผลผลิตทางเกษตรกรรมจะว่างงานต้องไปประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป ทำให้รายได้ไม่เพียงพอต่อการเลี้ยงชีพ

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

กลุ่มทอผ้าพื้นเมืองบ้านนาค้อ คนในชุมชนส่วนใหญ่เป็นคนเชื้อสายญ้อ คนเก่าแก่มีทักษะฝีมือด้านการทอผ้า และมีการทอผ้าไว้ใช้เอง และใช้วัสดุในชุมชน คือ ปลูกฝ้ายไว้สำหรับทอผ้าเอง สำหรับผ้าที่นิยมทอไว้ใช้เอง คือ ผ้าฝ้ายมัดหมี่ พื้นสีดำ และตีนสีแดง ซึ่งถือว่าเป็นอัตลักษณ์ของผ้าบ้านนาค้อ ที่สืบทอดต่อกันมาจนถึงลูกหลาน โดยกลุ่มทอพื้นเมืองเกิดจากการรวมตัวกันของชาวบ้านในหมู่บ้านนาค้อ ที่อาชีพหลักประกอบอาชีพเกษตรกรรมแต่ประสบปัญหาภัยแล้งนอกจากนี้หลังจากฤดูเก็บเกี่ยวผลผลิตทางเกษตรกรรมจะว่างงานต้องไปประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป ทำให้รายได้ไม่เพียงพอต่อการเลี้ยงชีพ นอกจากนี้กลุ่มทอผ้าพื้นเมืองบ้านนาค้อเองก็ประสบปัญหาการขายผลิตภัณฑ์เนื่องจากสินค้าชนิดเดียวกันและใกล้เคียงเช่นผ้าไหมในท้องตลาดที่มีหลากหลาย และมีจำนวนมากทำให้การชูอัตลักษณ์ของผ้าบ้านนาค้อไม่เป็นที่ดึงดูดความสนใจของผู้ซื้อได้ ทำให้เกษตรกรประสบปัญหาอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นเพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาดังกล่าวการประยุกต์นวัตกรรมเข้ามาช่วยในการผลิต โดยการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Eco-Friendly Textile) เช่น การย้อมสีธรรมชาติ โดยเฉพาะการย้อมด้วยคราม (Indigofera tinctoria L.) ซึ่งถือกันว่าครามคือ “ราชาแห่งสีย้อม” ทำให้ได้ผ้าพื้นเมืองที่มีสีสันสวยงาม นอกจากนี้ผ้าที่ย้อมด้วยสีของต้นครามจะมีคุณสมบัติพิเศษที่สามารถช่วยป้องกันผิวของผู้ที่สวมใส่จากรังสีอัลตราไวโอเลต และยังสามารถดูดซับกลิ่นเหงื่อของผู้ที่สวมใส่ เป็นการเพิ่มคุณสมบัติบนผืนผ้า (Functional Textile) ได้อีกด้วย อีกทั้งการออกแบบลายผ้าหรือการประยุกต์ลายผ้าด้วยระบบคอมพิวเตอร์จะช่วยเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ผ้าทอพื้นเมือง ตลอดจนการจัดการผลิตหลังการเก็บเกี่ยว การแปรรูป บรรจุภัณฑ์ การตลาด การเงิน บัญชี และการจัดการด้วยระบบ E-Commerce ทำให้เกษตรกรสามารถพัฒนาอาชีพได้อย่างยั่งยืน และมีรายได้เสริมจากการทำนา สามารถพึ่งพาตนเองพัฒนาทักษะและองค์ความรู้ ตลอดจนสามารถพัฒนาเป็นนักวิจัยชุมชนร่วมกับคณะผู้ดำเนินโครงการ และวิทยากรในด้านการนำองค์ความรู้และนวัตกรรมใหม่ๆมาประยุกต์ใช้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการและมาตรฐานกำหนด รวมทั้งชุมชนสามารถพัฒนาความรู้ การศึกษาค้นคว้า รู้จักแก้ปัญหาได้ด้วยวิธีการต่างๆ อีกทั้งมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามสามารถที่จะนำนักศึกษาในหลักสูตรดังกล่าวมาทำการเรียนการสอนร่วมกับเกษตรกรในพื้นที่เพื่อให้เกิดเป็นรูปธรรมและเป็นประโยชน์ต่อกลุ่มเกษตรกร ซึ่งการช่วยเหลือและการสร้างบุคคลากรเป็นภารกิจหลักของมหาวิทยาลัย ยังเป็นการส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรให้สามารถผลิตผ้าทอมือได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืนเนื่องจากนี้ ยังสามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ของนักศึกษาและผู้สนใจงานด้านการเกษตร และส่งเสริมการท่องเทียวเชิงเกษตรในจังหวัดกาฬสินธุ์ได้ในอนาคต

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ยกระดับผ้าทอย้อมครามเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ในระดับอุตสาหกรรมท้องถิ่น ให้มีความหลากหลายและมีคุณภาพตามความต้องการของตลาด

ผลิตภัณฑ์ผ้าทอพื้นเมืองย้อมคราม 5 ผลิตภัณฑ์

2.00 5.00
2 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของเกษตรกรในชุมชนด้วยนวัตกรรม สร้างรายได้และยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนให้ดีขึ้นอย่างยั่งยืน

รายได้ของเกษตรกรเพิ่มขึ้นร้อยละ 20

5.00 20.00
3 เพื่อพัฒนากระบวนการผลิตผ้าทอมือตั้งแต่การผลิต การทอ การออกแบบลวดลาย ตลอดจนการพัฒนาผ้าทอมือด้วยการประยุกต์นวัตกรรมและการตลาดยุคดิจิทัลที่เหมาะสม

เกษตรกรเข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นร้อยละ 20

5.00 20.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
นักศึกษาในโครงการ 10
บ้านนาค้อ ตำบลกุดโดน อำเภอห้วยเม็ก จังหวัดกาฬสินธุ 30

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 การวางแผนการดำเนินการ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 การวางแผนการดำเนินการ
วัตถุประสงค์
  1. ยกระดับผ้าทอย้อมครามเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ในระดับอุตสาหกรรมท้องถิ่น ให้มีความหลากหลายและมีคุณภาพตามความต้องการของตลาด
  2. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของเกษตรกรในชุมชนด้วยนวัตกรรม สร้างรายได้และยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนให้ดีขึ้นอย่างยั่งยืน
รายละเอียดกิจกรรม
1. ประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินงานและกำหนดการ
2. จัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์สำหรับใช้ดำเนินงาน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2562 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
แผนการดำเนินงานและกำหนดการ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ

1 ครั้ง 1,500 1 1,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน

20 ชุด 120 1 2,400
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

20 ชุด 35 1 700
ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม

ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม

6 คน 1,000 1 6,000
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่

เดินทางลงพื้นที่ ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงกิโลเมตรล่ะ 4 บาท x ระยะทาง 47 กม. ไป-กลับ 94 กม. x จำนวน 2 ครั้ง

1 ครั้ง 376 2 752
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าถ่ายเอกสารเข้าร่วมประชุม

6 ชุด 100 1 600
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

10 คน 120 2 2,400
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์

6 คน 240 2 2,880
รวมค่าใช้จ่าย 17,232

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2 กระบวนการผลิต (ต้นน้ำ)

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 กระบวนการผลิต (ต้นน้ำ)
วัตถุประสงค์
  1. ยกระดับผ้าทอย้อมครามเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ในระดับอุตสาหกรรมท้องถิ่น ให้มีความหลากหลายและมีคุณภาพตามความต้องการของตลาด
  2. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของเกษตรกรในชุมชนด้วยนวัตกรรม สร้างรายได้และยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนให้ดีขึ้นอย่างยั่งยืน
รายละเอียดกิจกรรม
1. การเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีและกระบวนการผลิตผ้าทอพื้นเมืองย้อมคราม
2. อาจารย์ที่ปรึกษาลงพื้นที่นิเทศก์นักศึกษา
3. นักศึกษาในโครงการลงพื้นที่ร่วมถ่ายทอดองค์ความรู้กับชุมชนในพื้นที่
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
การเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีและกระบวนการผลิตผ้าทอพื้นเมืองย้อมคราม
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์นิเทศ

6 คน 240 18 25,920
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

10 คน 120 18 21,600
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่

ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงกิโลเมตรล่ะ 4 บาท x ระยะทาง 47 กม. ไป-กลับ 94 กม. x จำนวน 18 ครั้ง

1 เที่ยว 376 18 6,768
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

จ้างเหมาบริการทำเอกสารประกอบการอบรม

30 ชุด 100 3 9,000
อื่น ๆ

ค่าจ้างวิเคราะห์เฉดสีของคราม (องค์ประกอบทางเคมี ค่าเฉดสี)

3 ครั้ง 3,000 1 9,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน

40 ชุด 120 6 28,800
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

40 ชุด 35 12 16,800
ค่าตอบแทนวิทยากร

(วิทยากร 4 คน x 600 บาทต่อชั่วโมง x 6 ชั่วโมงต่อวัน x 4 ครั้ง)

4 คน 3,600 4 57,600
รวมค่าใช้จ่าย 175,488

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 3 กระบวนการแปรรูป (กลางน้ำ)

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 3 กระบวนการแปรรูป (กลางน้ำ)
วัตถุประสงค์
  1. ยกระดับผ้าทอย้อมครามเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ในระดับอุตสาหกรรมท้องถิ่น ให้มีความหลากหลายและมีคุณภาพตามความต้องการของตลาด
  2. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของเกษตรกรในชุมชนด้วยนวัตกรรม สร้างรายได้และยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนให้ดีขึ้นอย่างยั่งยืน
รายละเอียดกิจกรรม
1. การทอผ้าพื้นเมืองย้อมครามให้มีลวดลายประยุกต์ร่วมสมัย เพื่อมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น ตามความต้องการทางการตลาดในปัจจุบันและความเหมาะสมกับพื้นที่
2. อาจารย์ที่ปรึกษาลงพื้นที่นิเทศก์นักศึกษา
3. นักศึกษาในโครงการลงพื้นที่ร่วมถ่ายทอดองค์ความรู้กับชุมชนในพื้นที่
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
การทอผ้าพื้นเมืองย้อมครามให้มีลวดลายประยุกต์ร่วมสมัย เพื่อมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น ตามความต้องการทางการตลาดในปัจจุบันและความเหมาะสมกับพื้นที่
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าจัดทำต้นแบบผลิตภัณฑ์ (prototype) พร้อมบรรจุภัณฑ์เพื่อทดสอบทางการตลาด

5 ชุด 10,500 1 52,500
อื่น ๆ

ค่าวัตถุดิบ ส่วนผสม และอุปกรณ์บางส่วนในกระบวนการย้อมคราม, พัฒนาผลิตภัณฑ์ และการถ่ายทอดองค์ความรู้

5 ชิ้น 15,000 1 75,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

(วิทยากร 4 คน x 600 บาทต่อชั่วโมง x 6 ชั่วโมงต่อวัน x 4 ครั้ง)

4 คน 3,600 5 72,000
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์นิเทศ

6 คน 240 5 7,200
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

10 คน 120 5 6,000
รวมค่าใช้จ่าย 212,700

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมที่ 4 การสร้างช่องทางการตลาด (ปลายน้ำ)

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 4 การสร้างช่องทางการตลาด (ปลายน้ำ)
วัตถุประสงค์
  1. ยกระดับผ้าทอย้อมครามเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ในระดับอุตสาหกรรมท้องถิ่น ให้มีความหลากหลายและมีคุณภาพตามความต้องการของตลาด
  2. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของเกษตรกรในชุมชนด้วยนวัตกรรม สร้างรายได้และยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนให้ดีขึ้นอย่างยั่งยืน
  3. เพื่อพัฒนากระบวนการผลิตผ้าทอมือตั้งแต่การผลิต การทอ การออกแบบลวดลาย ตลอดจนการพัฒนาผ้าทอมือด้วยการประยุกต์นวัตกรรมและการตลาดยุคดิจิทัลที่เหมาะสม
รายละเอียดกิจกรรม
1. การสร้างช่องทางการตลาดของผลิตภัณฑ์ผ้าพื้นเมืองย้อมคราม ที่เหมาะสมกับพื้นที่ของเกษตรในพื้นที่บ้านนาค้อ ตำบลกุดโดน อำเภอห้วยเม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์
2. อาจารย์ที่ปรึกษาลงพื้นที่นิเทศก์นักศึกษา
3. นักศึกษาในโครงการลงพื้นที่ร่วมถ่ายทอดองค์ความรู้กับชุมชนในพื้นที่
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
การสร้างช่องทางการตลาดของผลิตภัณฑ์ผ้าพื้นเมืองย้อมคราม ที่เหมาะสมกับพื้นที่ของเกษตร
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์เพื่อนำไปใช้ในการสร้างช่องทางการตลาดให้กับผลิตภัณฑ์

1 ครั้ง 14,600 1 14,600
อื่น ๆ

ค่าบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมสำหรับผลิตภัณฑ์ผ้าพื้นเมืองย้อมคราม

5 ชิ้น 11,000 1 55,000
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์นิเทศ

6 คน 240 2 2,880
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

10 คน 120 2 2,400
ค่าตอบแทนวิทยากร

(วิทยากร 2 คน x 600 บาทต่อชั่วโมง x 6 ชั่วโมงต่อวัน x 3 ครั้ง)

2 คน 3,600 1 7,200
รวมค่าใช้จ่าย 82,080

กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมที่ 5 การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 5 การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์
  1. ยกระดับผ้าทอย้อมครามเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ในระดับอุตสาหกรรมท้องถิ่น ให้มีความหลากหลายและมีคุณภาพตามความต้องการของตลาด
  2. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของเกษตรกรในชุมชนด้วยนวัตกรรม สร้างรายได้และยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนให้ดีขึ้นอย่างยั่งยืน
  3. เพื่อพัฒนากระบวนการผลิตผ้าทอมือตั้งแต่การผลิต การทอ การออกแบบลวดลาย ตลอดจนการพัฒนาผ้าทอมือด้วยการประยุกต์นวัตกรรมและการตลาดยุคดิจิทัลที่เหมาะสม
รายละเอียดกิจกรรม
1. ติดตามผลจากการทำแบบสอบถามเพื่อประเมินผล
2. สรุปผลการดำเนินงาน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กันยายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลการดำเนินงาน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าถ่ายเอกสาร

จ้างเหมาบริการจัดทำรูปเล่มรายงาน

5 ชิ้น 2,500 1 12,500
รวมค่าใช้จ่าย 12,500

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 142,800.00 1,500.00 69,320.00 9,000.00 277,380.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 28.56% 0.30% 13.86% 1.80% 55.48% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) ผลิตภัณฑ์ผ้าทอพื้นเมืองย้อมคราม นักศึกษาจะได้ฝึกประสบการณ์จริงและได้เรียนรู้ทักษะการผลิตผ้าทอพื้นเมืองย้อมคราม ตั้งแต่กระบวนการผลิต การพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการตลาด ในการลงพื้นที่ทำงานร่วมกับเกษตรกร
ผลลัพธ์ (Outcome) เกษตรกรในพื้นที่จะได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้และสนับสนุนเทคโนโลยีในการผลิต การพัฒนาผลิตภัณฑ์ 1.นักศึกษาได้ร่วมถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับเกษตรกร
2.การเรียนรู้ในยุคศตวรรษที่ 21 สามารถเทียบโอนประสบการ์เทียบเคียงการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี ในรายวิชาต่างๆ ดังนี้
- หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต รายวิชาการส่งเสริมและบริการวิชาการด้านสุขภาพในชุมชน หน่วยกิต 2(1-2-3)
- หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต รายวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาในโรงเรียนและชุมชน หน่วยกิต 2(1-2-3)
- หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต รายวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น หน่วยกิต 3(2-2-5)
- หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต รายวิชาทักษะในศตวรรษที่ 21 เพื่อชีวิตและอาชีพ หน่วยกิต 3(2-2-5)
- หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต รายวิชาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หน่วยกิต 3(2-2-5)
- หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต รายวิชาระบบการศึกษาแบบอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยกิต 3(2-2-5)
ผลกระทบ (Impact) การแก้ปัญหาความยากจนของจังหวัดกาฬสินธุ์ นักศึกษาได้ประสบการณ์ในการทำงานและลงพื้นที่จริง
นักศึกษาสามารถเป็นวิทยากรถ่ายทอดองค์ความรู้ได้
นำเข้าสู่ระบบโดย holy_tapaa holy_tapaa เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2562 21:48 น.