: การพัฒนา"การ"ท่องเที่ยวเชิงชุมชนจากศักยภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อสร้างศักยภาพทางการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

แบบเสนอโครงการ
: การพัฒนา"การ"ท่องเที่ยวเชิงชุมชนจากศักยภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อสร้างศักยภาพทางการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

1. ชื่อโครงการ

: การพัฒนา"การ"ท่องเที่ยวเชิงชุมชนจากศักยภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อสร้างศักยภาพทางการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมาสถาบันวิจัยและพัฒนาคณะบริหารธุรกิจกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ @ View Share Farmผศ.ดุษฎี เทียมเทศ บุญมาสูงทรงสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ถนนสุรนารายณ์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000081-547-6552ดร.ธนาวัฒน์ ปัทมฤทธิกุล ผศ.ดร. สมใจ บุญหมื่นไวย ผศ.ดร.พลานุช คงคา ผศ.ดร.เพลงพิณ เพียรภูมิพงศ์ ดร.พรทิพย์รอดพ้นอ.ปุริม หนุนนัด

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
นครราชสีมา วังน้ำเขียว วังหมี

3. รายละเอียดชุมชน

คนพิการกลุ่มหนึ่งที่รวมตัวกันออกมาทำงานเป็นต้นแบบ ด้วยการพลิกพื้นที่ป่าข้าวโพด 20 ไร่ บนที่ลาดเชิงเขาให้เป็นแปลงเกษตรผสมผสานและฟาร์มสเตย์ในชื่อ ‘View Share Farm’ ที่รองรับนักท่องเที่ยวได้ทุกกลุ่มคน ฟาร์มเกษตรผสมผสาน พร้อมบ้านพักสำหรับการท่องเที่ยว ที่บริหารและดำเนินการโดยกลุ่มคนพิการและผู้ดูแลคนพิการในเขตจังหวัดนครราชสีมา ได้รับการสนับสนุนอาชีพคนพิการจากผู้ประกอบการตามมาตรา 35 ของพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 โดยใน พ.ศ. 2558 กลุ่มเครือข่ายคนพิการในจังหวัดนครราชสีมา จึงร่วมกันบุกเบิกเส้นทางใหม่เพื่อให้เกิดการสนับสนุนงานและอาชีพตามมาตรา 35 ให้เป็นจริงได้ กลุ่มคนพิการจำนวน 18 คน โดยสำเภา จงเยือกกลาง เจ้าของที่ดิน 20 ไร่ที่นำมาพัฒนาเป็น View Share Farm ร่วมกันพัฒนาเป็นฟาร์มสเตย์ ต้องการสร้างเป็นแหล่งท่องเที่ยว แหล่งสร้างรายได้ให้กับผู้พิการในจังหวัดนครราชสีมา โดยได้รับการสนับสนุนจากคุณณรงค์ ผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรบุคคลของ บริษัท เฮชจีเอสที ให้เงินทุนตามสิทธิ์คนพิการของกลุ่มจำนวน 10 คน มาตั้งต้นทำอาชีพตามโครงการให้สำเร็จ จากป่าข้าวโพดแห้งๆ สำหรับเลี้ยงสัตว์ ที่ไม่มีใครมองออกว่าจะเป็นพื้นที่ทำเกษตรได้อย่างไร ยิ่งลักษณะผืนดินแห่งนี้น่าจะยิ่งทวีความท้าทายสำหรับความสามารถของคนพิการ ในที่สุดพื้นที่แห่งนี้ก็กลายเป็นพื้นที่เกษตรผสมผสานได้อย่างลงตัว มีการแบ่งแปลงปลูกสำหรับพืชหลายชนิด รวมถึงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์ ปรับแปลงเพาะปลูกแห่งนี้โดยลดการใช้เคมีลงไปเรื่อยๆ เพื่อให้ผลผลิตในฟาร์มผ่านมาตรฐานอาหารเกษตรปลอดภัย เมื่อพื้นที่การเกษตรเห็นผลน่าชื่นใจ สร้างความมั่นใจให้คนพิการและผู้ประกอบการได้ สมาชิกในกลุ่มจึงขยายเพิ่มเป็น 71 คน พร้อมเพิ่มพื้นที่เกษตรของกลุ่มอีก 2 แห่ง ในอำเภอพิมายและอำเภอโนนชัย จังหวัดนครราชสีมา โครงการของ View Share Farm ได้รับเงินสนับสนุนตามมาตรา 35 ตามสิทธิ์คนพิการเพิ่มขึ้น ปัจจุบันสมาชิกในกลุ่มคิดต่อยอดมาก พวกเขาต้องการพัฒนางานและหารายได้เลี้ยงกลุ่มให้ได้ โดยต้องการพัฒนาเป็นการทำการเกษตรเชิงท่องเที่ยว ให้เป็นที่ท่องเที่ยว ไปพร้อมกับเป็นสถานที่ดูงาน และศูนย์การเรียนรู้ สร้างผลิตภัณฑ์แปรรูปทางการเกษตรให้มีมุลค่าเพิ่ม และนำเก็บไว้รอการจำหน่ายได้นานขึ้น ซึ่งถือเป็นการสร้างอาชีพเพื่อคนพิการที่ยั่งยืนเลี้ยงตัวเองให้ได้จุดเด่นของวังน้ำเขียวคือ อากาศดี เป็นแหล่งโอโซนอันดับ 7 รวมถึงสถานที่เป็นของกลุ่มผู้พิการไม่ต้องเสียค่าเช่า เพราะเป็นของสำเภา จงเยือกกลาง สมาชิกผู้บุกเบิก View Share Farm รวมถึงสภาพภูมิอากาศที่เอ้ื้ออำนวยในการทำการเกษตรทั้งเกษตรอินทรีย์ ที่ปลูกผักและผลไม้ได้ตลอดปี และการเกษตรเชิงท่องเที่ยว อีกทั้งยังมีหน่วยงานภาคเอกชนให้การสนับสนุนจาก มาตรา 35 และความมุ่งมั่นตั้งใจของสมาชิกที่ต้องการ "ลดความเห็นใจ ขยายความเท่าเทียม" สร้างความมั่นใจและความภาคภูมิใจให้กลุ่มคนผู้พิการกลุ่มมีการปลูกต้นหม่อนแบบอินทรีย์ได้รับมาตรฐาน GAP ต้นหม่อนใช้เวลาปลูก 8 เดือน สามารถเก็บผลผลิตได้ ผลจากลูกหม่อนจะออกพร้อมๆ กันจำนวนมาก ทำให้แปรรูปไม่ทัน จึงต้องนำไปแช่แข็ง แต่อย่างไรก็ตาม ปริมาณตู้แช่แข็งก็ไม่เพียงพอสำหรับการเก็บรักษาผลผลิตไว้เพื่อการแปรรูปในระยะเวลานาน บางส่วนของผลผลิตจึงต้องปล่อยให้ร่วงทิ้ง ทางผู้ประกอบการจึงอยากที่จะนำผลลูกหม่อนแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เก็บไว้เพื่อการจำหน่ายให้นานขึ้น
สภาพความพิการของสมาชิก การขาดองค์ความรู้ในการบริหารจัดการในด้านการเกษตรและการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ผลผลิตทางการเกษตรขาดการแปรรูปที่ถือว่าเป็นการเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ ขาดการทำตลาดและการสื่อสารการตลาดอย่างต่อเนื่อง (การตลาดเชิงรุก)
การพัฒนาสู่การเกษตรเชิงท่องเที่ยว และการแปรรูปผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

การเกษตรเชิงท่องเที่ยว การแปรรูปผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม การทำตลาดสมัยใหม่ การพัฒนาแบรนด์และบรรจุภัณฑ์

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากหม่อนแบบอินทรีย์ได้รับมาตรฐาน GAP

ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากหน่อมแบบอินทรีย์ได้รับมาตรฐาน GAP 100%

1.00 1.00
2 เพิ่มจำนวนนักท่องเที่ยวมาท่องเที่ยวที่ View Share Farm

จำนวนนักท่องเที่ยวเพิ่มสูงขึ้นกว่าปี 2652 อย่างน้อย 5%

0.00 0.00
3 พัฒนาแบรนด์ สร้างช่องทางการจัดจำหน่าย สร้างการรับรู้ และพัฒนาระบบการตลาดสมัยใหม่และ
  1. แบรนด์ 1 แบรนด์ ที่มีอัตลักษณ์ของกลุ่มผู้พิการ
  2. ช่องทางการตลาดออนไลน์
  3. ช่องทางการสือสารทางการตลาดเพิ่มขึ้น
1.00 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 ศึกษาหาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์และวางแผน

ชื่อกิจกรรม
ศึกษาหาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์และวางแผน
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    ลงพื้นที่สำรวจ สัมภาษณ์ สังเกต เพื่อนำมาวิเคราะห์วางแผน เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูป สร้างแบรนด์ ช่องทางการจำหน่าย การสื่อสารการตลาด และการทำตลาดเชิงรุก
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 พ.ค. 2563 ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ข้อมูล แผน ในการพัฒนาพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูป สร้างแบรนด์ ช่องทางการจำหน่าย การสื่อสารการตลาด และการทำตลาดเชิงรุก
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    คอมพิวเตอร์ กล้องถ่ายรูป เครื่องมือในการสัมภาษณ์
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร 10 คน 0 1 0
    รวมค่าใช้จ่าย 0

    กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการแปรรูปจากหม่อน

    ชื่อกิจกรรม
    อบรมเชิงปฏิบัติการแปรรูปจากหม่อน
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      อบรมการทำน้ำหม่อน แยมหม่อน การบรรจุภัณฑ์
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      18 พ.ค. 2563 ถึง 29 พ.ค. 2563
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      องค์ความรู้ในการทำผลิตภัณฑ์จากหม่อน
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      บรรจุภัณฑ์
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      ค่าตอบแทนวิทยากร 3 คน 7,200 3 64,800
      ค่าตอบแทนวิทยากร 1 ครั้ง 2,500 3 7,500
      ค่าอาหาร 20 คน 200 3 12,000
      ค่าที่พักตามจริง 10 คน 500 3 15,000
      ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 20 คน 300 3 18,000
      รวมค่าใช้จ่าย 117,300

      กิจกรรมที่ 3 การออกแบบแบรนด์

      ชื่อกิจกรรม
      การออกแบบแบรนด์
      วัตถุประสงค์
        รายละเอียดกิจกรรม
        การจัดทำแบรนด์แบบมีส่วนร่วม
        ระยะเวลาดำเนินงาน
        1 มิถุนายน 2563 ถึง
        ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
        แบรนด์ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากหม่อน
        ทรัพยากรอื่น ๆ
        ภาคีร่วมสนับสนุน
        รายละเอียดงบประมาณ
        ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
        ค่าตอบแทนวิทยากร

        จัดทำแบรนด์

        3 คน 2,400 3 21,600
        ค่าเช่ารถ

        เหมารถ

        1 ครั้ง 2,500 3 7,500
        อื่น ๆ

        ค่าพิมพ์สติกเกอร์ แบรนด์

        300 ชิ้น 20 2 12,000
        ค่าวัสดุสำนักงาน

        ค่าวัสดุจัดทำแบรนด์

        1 ชุด 5,000 1 5,000
        ค่าอาหาร

        ค่าอาหารและอาหารว่าง

        20 คน 200 3 12,000
        รวมค่าใช้จ่าย 58,100

        กิจกรรมที่ 4 อบรมการเป็นผู้ประกอบการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

        ชื่อกิจกรรม
        อบรมการเป็นผู้ประกอบการท่องเที่ยวเชิงเกษตร
        วัตถุประสงค์
          รายละเอียดกิจกรรม
          จัดอบรม การต้อนรับ การจัดโต๊ะ การปูผ้า การให้บริการต่าง ๆ การสร้างเส้นทางการท่องเที่ยว การคิดต้นทุน การกำหนดราคา
          ระยะเวลาดำเนินงาน
          22 มิถุนายน 2563 ถึง
          ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
          เส้นทางการท่องเที่ยว ราคาเส้นทางการท่องเที่ยว การเป็นผู้ประกอบการการท่องเที่ยว
          ทรัพยากรอื่น ๆ
          ภาคีร่วมสนับสนุน
          รายละเอียดงบประมาณ
          ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
          ค่าตอบแทนวิทยากร

          ค่าตอบแทนวิทยากร

          3 คน 2,400 6 43,200
          ค่าอาหาร

          ค่าอาหารและอาหารว่าง

          20 คน 200 6 24,000
          ค่าเช่ารถ

          เหมารถ

          1 คน 2,500 6 15,000
          อื่น ๆ

          ค่าวัสดุ ดอกไม้ กระดาษ ผ้า วัสดุสำนักงาน

          1 ชิ้น 10,000 1 10,000
          รางวัลเพื่อการยกย่อง

          โล่รางวัลผู้ชนะ

          5 คน 700 1 3,500
          ค่าที่พักตามจริง 10 คน 500 2 10,000
          รวมค่าใช้จ่าย 105,700

          กิจกรรมที่ 5 จัดทำสื่อสารทางการตลาดพัฒนาช่องทางการตลาด

          ชื่อกิจกรรม
          จัดทำสื่อสารทางการตลาดพัฒนาช่องทางการตลาด
          วัตถุประสงค์
            รายละเอียดกิจกรรม
            จัดทำสื่อสารการตลาด สร้างสื่อและช่องทางการจำหน่ายออนไลน์ และร้านค้าปลีก
            ระยะเวลาดำเนินงาน
            1 กรกฎาคม 2563 ถึง
            ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
            สื่อโฆษณา ช่องทางการจำหน่ายออนไลน์ และร้านค้าปลีก
            ทรัพยากรอื่น ๆ
            ภาคีร่วมสนับสนุน
            รายละเอียดงบประมาณ
            ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
            ค่าตอบแทนวิทยากร 3 คน 2,400 5 36,000
            ค่าถ่ายเอกสาร

            คู่มือช่องทางการตลาดและการตลาดออนไลน์

            20 คน 150 2 6,000
            ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

            ค่าโบว์ชัวร์

            5,000 คน 5 1 25,000
            อื่น ๆ

            ค่าจ้างทำ เว็บไซด์

            1 ชิ้น 20,000 1 20,000
            อื่น ๆ

            ค่าจ้างทำเพจ

            1 ชิ้น 10,000 1 10,000
            อื่น ๆ

            ค่าจ้างทำโฆษณา

            1 ชิ้น 30,000 1 30,000
            อื่น ๆ

            จัดทำบูทจำหน่ายผลิตภัณฑ์

            1 ชิ้น 15,000 1 15,000
            อื่น ๆ

            ค่าของส่งเสริมการขายผลิตภัณฑ์ใหม่

            500 คน 50 1 25,000
            ค่าเช่ารถ 5 ครั้ง 2,500 1 12,500
            อื่น ๆ

            ค่าจ้างพนักงานขายผลิตภัณฑ์ใหม่

            1 คน 400 15 6,000
            รวมค่าใช้จ่าย 185,500

            รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 466,600.00 บาท

            ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
            ค่าใช้จ่าย (บาท) 173,100.00 25,000.00 117,500.00 23,000.00 128,000.00 466,600.00
            เปอร์เซ็นต์ (%) 37.10% 5.36% 25.18% 4.93% 27.43% 100.00%

            11. งบประมาณ

            466,600.00บาท

            12. การติดตามประเมินผล

            ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
            ผลผลิต (Output) ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากหม่อน 2 ชนิด สื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ ช่องทางการตลาดทั้งออนไลน์ และออฟไลน์ ความรู้ในการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากหม่อน การหาข้อมูลทางการตลาดเพื่อนำไปวางแผนการตลาด สำหรบธุรกิจการท่องเที่ียวเชิงเกษตร
            ผลลัพธ์ (Outcome) ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากหม่อนรูปแบบ วิธีการจัดแสดงสินค้า และการสื่อสารการตลาดสมัยใหม่ การตลาดเชิงรุก ในการเป็นผู้ประกอบการการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจำหน่ายผลิตภัณฑ์แปรรูป นักศึกษาเห็นความสำคัญของการเป็นผู้ประกอบการ นำองค์ความรู้ที่มีไปถ่ายทอดสู่ชุมชน
            ผลกระทบ (Impact) กลุ่มผู้พิการ มีรายได้เพิ่ม ภาคภูมิใจ เกิดรายได้ที่มั่นคง และนำไปต่อยอดให้กับผู้พิการในกลุ่มอื่น ๆ ต่อไป มีความเข้าใจในผู้อื่น
            นำเข้าสู่ระบบโดย anndusadee anndusadee เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2562 21:26 น.