การพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยววิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าอย่างมีส่วนร่วมสู่กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิทัล เพื่อเพิ่มมูลค่าขีดความสามารถการแข่งขันอย่างสมดุล บ้านเพราะช้าง ตำบลวาเล่ย์ อำเภอพบพระ จังหวัดตาก

แบบเสนอโครงการ
การพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยววิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าอย่างมีส่วนร่วมสู่กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิทัล เพื่อเพิ่มมูลค่าขีดความสามารถการแข่งขันอย่างสมดุล บ้านเพราะช้าง ตำบลวาเล่ย์ อำเภอพบพระ จังหวัดตาก

1. ชื่อโครงการ

การพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยววิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าอย่างมีส่วนร่วมสู่กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิทัล เพื่อเพิ่มมูลค่าขีดความสามารถการแข่งขันอย่างสมดุล บ้านเพราะช้าง ตำบลวาเล่ย์ อำเภอพบพระ จังหวัดตากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่/วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น/มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก1. ดร. เจษฏา ช.เจริญยิ่ง ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจชนากลางและขนาดเล็กแห่งประเทศไทย (ธพว.)2. นางจุฑามาศ นวลพริ้ง ผู้อำนวยการอาวุโส ฝ่ายตรวจสอบภายใน ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจชนากลางและขนาดเล็กแห่งประเทศไทย (ธพว.)3. ผศ. ดร. กมลทิทย์ คำใส วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่4. ผศ.ดร. พรทิพย์ ชุ่มเมืองปัก คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ5. นายอดิศร พรไพรสณฑ์ ประธานกลุ่มการท่องเที่ยวบ้านเพราะช้าง6. สมาชิกกลุ่มการท่องเที่ยวบ้านเพราะช้าง 7. เยาวชนในหมู่บ้านกลุ่มชุนชนบ้านเพราะช้าง (หมู่บ้านยะพอ ต.วาเล่ย์ อ.พบพระ จ.ตาก)8. อพท.4 สำนักงานพื้นที่พิเศษ 4ชาวชุมชนหมู่บ้านห้วยน้ำนักและกลุ่มชุนชนบ้านเพราะช้าง (บ้านเพราะช้าง:หมู่บ้านยะพอ หมู่ 5 ตำบลวาเล่ย์ อำเภอพบพระ จังหวัดตาก)อาจารย์ เบญญาภา กันทะวงศ์วาร /ดร. รัฐนันท์ พงศ์วิริทธิ์ธร/ดร. ภาคภูมิ ภาควิภาส/ผศ. ดร. กมลทิทย์ คำใส/ดร. สุธีมนต์ ทรงศิริโรจน์/ผศ.ดร. พรทิพย์ ชุ่มเมืองปัก/อาจารย์ จักรพันธ์ วงศ์ฤกษ์ดี/ดร. กัญญาการณ์ ไซเออร์/ นางสาวธนภรณ์ นาคนรินทร์1. อาจารย์เบญญาภา กันทะวงศ์วาร/ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่ ถนนห้วยแก้ว ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50300/ 2. ดร. รัฐนันท์ พงศ์วิริทธิ์ธร/คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น เลขที่ 888 หมู่ 2 ตำบลหนองบัวใต้ อำเภอเมือง จังหวัดตาก 63000/ 3. อาจารย์ เบญญาภา กันทะวงศ์วาร/คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่ ถนนห้วยแก้ว ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50300/ 4. ดร.กัญญกาญจน์ไซเออร์ส/ คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น ที่อยู่ 150 ถ.ศรีจันทร์ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40000/ 5.อาจารย์ จักรพันธ์ วงศ์ฤกษ์ดี คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก 41 หมู่ 7 ถนนพหลโยธิน ตำบลไม้งาม อำเภอเมือง จังหวัดตาก 63000ดร.รัฐนันท์ พงศ์วิริทธิ์ธร คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น เลขที่ 888 หมู่ 2 ตำบลหนองบัวใต้ อำเภอเมือง จังหวัดตาก 63000/e-mail: tok2029@gmail.com/อาจารย์เบญญาภา กันทะวงศ์วาร คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่ ถนนห้วยแก้ว ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50300/e-mail: benymeaw@gmail.com1. กลุ่มชุนชนบ้านเพราะช้าง(บ้านเพราะช้าง:หมู่บ้านยะพอ ตำบลวาเล่ย์ อำเภอพบพระ จังหวัดตาก) จำนวน 15 คน/
2. นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น จำนวน 5 คน/
3. นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก เชียงใหม่ จำนวน5 คน/
4. อาจารย์คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น
คณะบริหารธุรกิจ มทร.ชม. มทร.ตาก จำนวน10 คน/
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ จำนวน 3 คน/
5. หน่วยงานภาครัฐตำบลพบพระ อำเภอพบพระ จังวหัดตาก จำนวน 5 คน/
6. ชาวชุมชนเยาวชนในหมู่บ้านกลุ่มชุนชนบ้านเพราะช้าง จำนวน 25 คน

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
ตาก พบพระ วาเลย์
ตาก พบพระ วาเลย์ พื้นที่เฉพาะ:พื้นที่สูง

3. รายละเอียดชุมชน

อำเภอแม่สอดพื้นที่ชายแดนฝั่งแม่น้ำเมย เป็นชุมชนของชนเผ่าที่มีวัดที่มีศิลปะแบบพม่า ที่สร้างขึ้นโดยจิตศรัทธาของชาวพม่า แต่ว่าอยู่ในเขตพื้นที่ประเทศไทย และน่าจะเป็นวัดพม่า ที่สวยลำดับต้นๆ ในเมืองไทยเลยทีเดียวโดย “บ้านเพราะช้าง” ตั้งอยู่ติดกับชายแดนพม่าเลย มีเพียงแม่น้ำเมยที่กั้นเอาไว้ โดยชุมชนยังมีวัฒนธรรม ศาสนา ความเชื่อและพิธีกรรมส่วนใหญ่จะนับถือผี มีการบวงสรวงและเซ่นสังเวย เชื่อเรื่องต้นไม้ป่าใหญ่ แต่ภายหลังหันมานับถือศาสนาพุทธ และศาสนาคริสต์มากขึ้น แต่ก็ยังคงความเชื่อเดิมอยู่บ้าง หมู่บ้านจะมีลักษณะภูมิประเทศเป็นเทือกเขาสูงชันสลับซับซ้อนมีพื้นราบอยู่เพียงเล็กน้อย ลักษณะภูมิอากาศมีสภาพอากาศที่เย็นสบายตลอดทั้งปี รวมไปถึงพันธุ์ไม้ และสัตว์ป่าชนิดต่าง ๆ ยังคงความอุดมสมบูรณ์ ในหมู่บ้านยังมีสถานที่ท่องเที่ยวหลายแห่ง ได้แก่ ถ้ำผาขาว - ผาแดง, ดอยตะโจ, น้ำตกผาขาว – ผาแดง และถ้ำขาวมรกตอีกทั้งยังมีผลิตภัณฑ์หลากหลายในหมู่บ้าน เช่น ตะกร้าไม้ไผ่ และผ้าทอกระเหรี่ยง เป็นต้น สภาพทางธรรมชาติบนเทือกเขาชมวิวทิวทัศน์การแสดงวัฒนธรรมชนเผ่าพื้นบ้าน ร้านแสดงสินค้า ชาวเขา พื้นบ้าน และ ผลิตผลทางการเกษตร การนั่งช้างชมธรรมชาติ การ ล่องเรือ คายัค ลำน้ำเมย และพื้นที่ชุมชนเป็นหมู่บ้านกะเหรี่ยงเลี้ยงช้าง ที่เปิดให้นักท่องเที่ยวได้เข้ามาสัมผัสประสบการณ์เลี้ยงช้างด้วยตัวเอง ความพิเศษของที่นี้คือ การให้ได้อยู่ในสภาวะที่เหมือนกับธรรมชาติจริงๆจะไม่มีการขึ้นขี่หลังช้างใดๆ ทั้งสิ้น เลี้ยงเหมือนเพื่อน เหมือนญาติสนิทในครอบครัวเลย การนำช้างเล่นน้ำ ในพื้นที่ชายแดน จังหวัดตาก โดยสภาพอากาศที่ย่างเข้าสู่ฤดูร้อนในกลางวัน เฉลี่ยประมาณ 39-42 องศาเซลเซียส ทำให้บ้านเพราะข้าง หมู่บ้านยะพอ ตำบลแม่เลย์ อำเภอพบพระ จังหวัดตาก แหล่งท่องเที่ยว ชมความน่ารักของช้าง ซึ่งเป็นหมู่บ้านวิถีชีวิตของชาวปกาเกอะญอ ที่มีความผูกผันระหว่างคนกับช้างต่าต้องหาวิธีช่วยคลายร้อนให้กับช้าง เนื่องจากช้างซึ่งเป็นสัตว์ขนาดใหญ่และอาจจะเกิดอาการตกมันจากอากศที่ร้อนจัดได้ โดยต้องพาช้างลงไปแช่น้ำในแหล่งน้ำธรรมชาติ เพื่อช่วยคลายร้อน และช่วยฉีดน้ำให้กับช้าง รวมทั้งเสริมด้วยอาหารแช่แข็งเย็น ให้ช้างดับกระหาย รวมทั้งกล้วยของชอบของช้าง สภาพอากาศที่ร้อนจัด ในพื้นที่ชายแดน นอกเหนือจากร่มไหม้ที่สัตว์จะใช้บังแดดแล้วในช่วงที่อากาศร้อนจัด จะต้องหาวิธีคลายร้อนให้กับสัตว์ด้วย ทั้งพาแช่น้ำและฉีดน้ำเพื่อลดอุณภูมิในร่างกาย ทำให้ช้างเกิดความร่าเรงและไม่หงุดหงิด และทำให้เกิดศักยภาพในการเชื่อมโยงการท่องเที่ยวไปยังชุมชนอื่นๆ ที่จะทำให้เกิดการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ อันได้แก่ การท่องเที่ยวธรรมชาติ การท่องเที่ยววัฒนธรรม โดยกิจกรรมที่สามารถทำร่วมกันได้แก่ การนั่งช้างชมธรรมชาติ การ ล่องเรือ คายัค ลำน้ำเมย ซึ่งบริบทพื้นที่ชุมชนได้มีการจัดตั้งเป็นศูนย์การเรียนรู้ในปี 2559 บ้านเพราะช้างนอกจากจะจัดตั้งเป็นศูนย์การเรียนรู้เพื่อเด็กและเยาวชน เพื่อสืบสานวัฒนธรรมชนเผ่าและองค์ความรู้ต่อยอดเพื่อให้เกิดรายได้ลดความเหลื่อมล้ำในชุมชนชนบทและชุมชนเมือง ส่งผลต่อการเพิ่มรายได้โดยกระบวนการชุมชนเพื่อให้เกิดการเป็นระเบียบร้อยและยังคงอัตลักษณ์ของชนเผ่าซึ่งทำให้เกิดแหล่งท่องเที่ยวของอำเภอพบพระแห่งหนึ่งการจัดตั้งเป็นแหล่งท่องเที่ยวนั้น เป็นการให้ความรู้เกี่ยวกับกิจกรรมที่จัดขึ้นให้นักท่องเที่ยวได้ร่วมทำกิจกรรมร่วมกัน โดยมีบ้านพักโฮมสเตย์การเรียนรู้ทำอาหารพื้นบ้านของเผ่าปกาเกอญอเรียนรู้วิถีประเพณีวัฒนาธรรมของชนเผ่าโดยชุมชนบ้านยะพอ มีวัฒนธรรม ศาสนา ความเชื่อและพิธีกรรมส่วนใหญ่จะนับถือผี มีการบวงสรวงและเซ่นสังเวย เชื่อเรื่องต้นไม้ป่าใหญ่ แต่ภายหลังหันมานับถือศาสนาพุทธ และศาสนาคริสต์มากขึ้น แต่ก็ยังคงความเชื่อเดิมอยู่บ้าง หมู่บ้านจะมีลักษณะภูมิประเทศเป็นเทือกเขาสูงชันสลับซับซ้อนมีพื้นราบอยู่เพียงเล็กน้อย ลักษณะภูมิอากาศมีสภาพอากาศที่เย็นสบายตลอดทั้งปี รวมไปถึงพันธุ์ไม้ และสัตว์ป่าชนิดต่าง ๆ ยังคงความอุดมสมบูรณ์ ในหมู่บ้านยังมีสถานที่ท่องเที่ยวหลายแห่ง ได้แก่ ถ้ำผาขาว - ผาแดง, ดอยตะโจ, น้ำตกผาขาว – ผาแดง และถ้ำขาวมรกตอีกทั้งยังมีผลิตภัณฑ์หลากหลายในหมู่บ้าน เช่น ตะกร้าไม้ไผ่ และผ้าทอกระเหรี่ยง เป็นต้น สภาพทางธรรมชาติบนเทือกเขาชมวิวทิวทัศน์การแสดงวัฒนธรรมชนเผ่าพื้นบ้าน ร้านแสดงสินค้า ชาวเขา พื้นบ้าน และ ผลิตผลทางการเกษตร การนั่งช้างชมธรรมชาติ การ ล่องเรือ คายัค ลำน้ำเมยบ้านยะพอ หมู่ที่ 5 ตำบลวาเล่ย์ อำเภอพบพระ จังหวัดตาก เพื่อสำรวจข้อมูล และดูช้างที่บ้านของนายอดิศร พรไพสณฑ์ และที่ดิน 15 ไร่ ของนางราตรี พรไพรสณฑ์ ซึ่งพบช้างทั้งหมดจำนวน 5 เชือก (ของนายอดิสร 3 เชือก)ง และญาติ ๆ 2 เชือก ซึ่งช้างทั้งหมดเป็นช้างแสนรู้ ที่เคยผ่านการฝึกมาแล้วจาก ซึ่งที่ผ่านช้างทั้งหมดได้เคยเร่ร่อนแสดงให้นักท่องเที่ยวได้ชมที่จังหวัดกระบี่ มีรายได้ 25,000 บาท/เดือน ต่อเชือก ซึ่งเจ้าของช้างมีความคิดว่าอยากจะให้ช้างทั้งหมดของตนไม่ต้องออกไปเร่ร่อน ไปไหน และมาเปิดเป็นศูนย์เรียนรู้ และแหล่งท่องเที่ยว โดยนำที่ดิน 15 ไร่ของนางราตรี พรไสนฑ์ (มารดา) มาพัฒนา ทำลานแสดงช้าง ทำสปาช้าง เพื่อให้ประชาชนใกล้เคียงและนักท่องเที่ยวได้มาเรียนรู้วิถีชีวิตของช้าง ดูการแสดงของช้างแสนรู้ และมาพักผ่อนพักผ่อนใช้ชีวิตคนกับช้าง เป็นทางเลือกให้กับประชาชนชาวไทยและนักท่องเที่ยวที่จะมาเที่ยวจังหวัดตาก ที่จะเติบโตเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ เเละเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวตามนโยบายของรัฐบาล โดยนักท่องเที่ยวที่ได้มาท่องเที่ยวจะเกิดความหลงรักช้าง ณ บ้านเพราะช้าง หมู่บ้านยะพอ ต.วาเล่ย์ อ.พบพระ จ.ตาก โดยในชุมชนนี้เชื่อว่า ช้างและคน คือ ครอบครัวเดียวกัน ตามวิถีควาญและศาสตร์เฉพาะของการเลี้ยงช้างตามวิถีชาวกะเหรี่ยง “ช้าง” เหล่านี้แต่เดิมเคยออกทำงานหนักชักลากไม้อยู่ในป่าเพื่อนบ้าน(ประเทศเมียนมาร์) แต่ตอนหลังเมื่อเกิดสงครามตามรอยตะเข็บชายแดน ก็เลิกราเพราะเสี่ยงต่อการเหยียบกับระเบิดที่กองกำลังฝั่งตรงข้ามฝังวางกันไว้ กอร์ปกับทางรัฐบาลมีนโยบายไม่ให้นำช้างหากินเร่ร่อน ช้างและควาญเลยต้องตกงานไปโดยปริยายชาวบ้าน จึงนำช้างกลับมาเลี้ยงกันในหมู่บ้านเนื่องจากยังพอมีแหล่งอาหารและแหล่งน้ำตามธรรมชาติ แต่ยังมีช้างบางเชือกออกไปทำงานตามปางช้าง ตามแหล่งท่องเที่ยวขนาดใหญ่ เมื่อเกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝันเกิดขึ้นในปี พ.ศ.2559 ช้างพลายหนุ่มที่ไปทำงานที่ปางช้างขนาดใหญ่ทางภาคใต้ได้จากพวกเขาไปอย่างไม่มีวันกลับ เพราะอาการป่วยจากการทำงานหนัก ชาวบ้านจึงนำช้างที่เหลือของพวกเขากลับมาบ้านเกิด และไม่อยากให้ช้างไปทำงานต่างพื้นที่อีกเลย ชาวชุมชนจึงริเริ่มโครงการ ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ กับกิจกรรม เรียนรู้ วิถีช้าง วิถีควาญ และการใช้ชีวิตร่วมกัน ระหว่างคนและช้าง ที่ได้จากการเรียนรู้วิธีการอยู่กับช้าง กิจกรรม คือ ปลูกหญ้าเนเปีย เกี่ยวหญ้าให้ช้าง พาช้างลงสปาโคลน เพื่อบำบัดแบบธรรมชาติตามแนววิถีช้าง พาช้างอาบน้ำทำความสะอาด เนื่องจากช้างต้องอาบน้ำวันละ 3 รอบเป็นอย่างน้อย ร่วมกันทำวิตามินให้ช้าง (กิจกรรมตำสมุนไพรให้ช้าง) หาสมุนไพรในหมู่บ้าน เพราะมีสมุนไพรบางอย่างมีเฉพาะในพื้นที่ โดยสังเกตจากการกินของช้างเป็นหลัก การโชว์กิจกรรมน้องช้าง บริบทพื้นที่มีศักยภาพในการพัฒนาการท่องเที่ยวและวัฒนธรรมชนเผ่าหมู่บ้านพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขาเส้นทางการเดินทางไกลจากตัวเมือง การติดต่อสื่อสารจะใช้การสื่อสารผ่านโทรศัพท์มือถือเป็นหลักในการติดต่อสื่อสาร ซึ่งจากการศึกษาและสำรวจหมู่บ้านบ้านเพราะช้าง:หมู่บ้านยะพอ ตำบลวาเล่ย์ อำเภอพบพระ จังหวัดตาก ยังไม่เป็นที่รู้จักแก่ผู้คนทั่วไป ยังขาดการเข้าถึงเว็บไซต์ประชาสัมพันธ์ข่าวสารของผลิตภัณฑ์ท่องเที่ยวหรือการบริหารจัดการด้านการตลาดรวมถึงสื่อสารเทคโนดิจิดอล จึงทำให้ผู้ที่สนใจเกิดความยากลำบากในการเดินทางเพื่อมาท่องเที่ยวและใช้บริการที่จะค้นหาข้อมูลการท่องเที่ยว โดยยังไม่มีระบบจัดการฐานข้อมูลโดยเป็นการเริ่มจากกระบวนการทำ Village Profile ในเชิงลึกของหมู่บ้าน และการประชาสัมพันธ์สื่อสารการตลาด การท่องเที่ยววิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่า และขาดมัคคุเทศก์ในการเล่าเรื่องราวและบรรยายถึงการท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยว ประเพณี วัฒนธรรม วิถึชีวิตชนผาปาเกอะญอ วิถีคนกับช้าง เพื่ออนุรักษ์และสืบทอดวัฒนธรรมอันดีงามต่อไปในอนาคต1. การพัฒนาการท่องเที่ยวกับการบริหารจัดการพื้นที่ชุมชนและสร้างกลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนต่อยอดองค์ความรู้เพื่อให้ได้ข้อมูลที่จะสามารถนำไปต่อยอดเชิงพาณิชย์หรือการท่องเที่ยวชุมชนยั่งยืน
2. โครงการยกระดับหมู่บ้าน Village Profile
3. การรวบรวมข้อมูลมีเทคโนโลยีรองรับเพื่ออำนวยความสะดวกให้กับชุมชน เพื่อเพิ่มการพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้วิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น
4. การพัฒนากลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล เพื่อส่งเสริมสร้างภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนอย่างมีส่วนร่วมและเพิ่มมูลค่าขีดความสามารถการแข่งขัน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

คณะผู้จัดทำโครงการได้รับทุนและโครงการวิจัยฯ นี้เป็นการพัฒนาย่อยอดจาก “โครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาผลิตภาพการผลิต (Productivity Improvement Loan)” ของธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (ธพว.) ที่คณะผู้วิจัยได้รับอนุมัติให้เป็นผู้ดำเนินการโครงการฯ ดังกล่าว จำนวนงบประมาณ 36 ล้านนาบาท เลขที่สัญญา รพ.ปน.01/2558, รพ.ปน. 02/2558, รพ.ปน. 03/2558, รพ.ปน. 06/2558ในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนบน ภาคเหนือตอนล่าง ภาคใต้ตอนบน ภาคอีสานตอนบน จำนวนลูกค้าทั้งสิ้นจำนวน 3,000 ราย ในปี 2558 ซึ่งกำหนดให้มีขั้นตอนในการจ้างผู้เชี่ยวชาญเพื่อให้คำปรึกษาแนะนำ หรืออบรมเพื่อเพิ่มผลิตภาพ รวมถึงติดตามผลภายหลังจากการได้รับอนุมัติสินเชื่อเพื่อพัฒนาผลิตภาพการผลิตแก่ลูกค้าที่เข้าร่วมโครงการทุกราย เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์จุดมุ่งหมายของโครงการสินเชื่อ โดยผลการดำเนินการดังกล่าวทำให้คณะผู้วิจัยเห็นปัญหาหลายปัญหาของผู้ประกอบการและหาแนวทางพัฒนาและลดความเสี่ยงให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จึงเกิดการวิจัยทั้งสองโครงการฯ เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องและพัฒนาเทคโนโลยีระบบสารสนเทศต่างๆ เพื่อให้ทันต่อการตัดสินใจของผู้ประกอบการฯ เพื่อให้เกิดศักยภาพและการดำเนินงานที่ยั่งยืนของ SMEs โครงการที่เคยได้รับทุนจากฝ่ายวิชาการ สกว.: ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจของธุรกิจ SMEs : แผนธุรกิจ
ผลสำเร็จและความคุ้มค่าของการวิจัยตามแผนการบริหารงานและแผนการดำเนินงานตลอดโครงการ สามารถเป็นผลสำเร็จตามเป้าประสงค์ (Goal results) โดยเป็นผลสำเร็จตามเป้าประสงค์ที่สามารถก่อให้เกิดศักยภาพและมีแนวทางการในการทำให้เกิดผลกระทบต่อสังคม ชุมน วัฒนธรรมที่มีสามารถทำให้อนุรักณ์ต่อยอดงานวิจัยสู่เชิงพาณิชย์ ดังนี้
1. ความรู้ด้านวิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าและด้านการจัดการท่องเที่ยวส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้วิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนของกลุ่มท่องเที่ยวบ้านเพราะช้าง
2. ตัวแบบในการการถ่ายทอดกระบวนการพัฒนาการท่องเที่ยวกับการบริหารจัดการพื้นที่ชุมชนและสร้างกลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนเพื่อให้เกิดการต่อยอดให้กับชุมชนกลุ่มอื่นๆ ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ในเขตภาคเหนือ

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้วิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนของกลุ่มท่องเที่ยวบ้านเพราะช้าง

1.การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้วิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน 2.ชุมชนมีองค์ความรู้ในด้านการท่องเที่ยวตามมาตรฐานที่เกี่ยวข้องและสามารถนำไปต่อยอดและขยายผลต่อกระบวนการผลิต เพื่อลดรายจ่ายต้นทุนและเพิ่มรายได้จากภูมิปัญญาผลิตภัณฑ์ชุมชน 3. การสร้างมัคคุเทศก์น้อย อย่างน้อย 15 คน

3.00 1.00
2 รูปแบบผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนที่ได้รับการพัฒนาให้มีความหลากหลายเหมาะสมกับความต้องการของชุมชนกับกลุ่มนักท่องเที่ยว
  1. รูปแบบการท่องเที่ยวที่มีการหลากหลายตามความต้องการของชุมชนและนักท่องเที่ยว
  2. ผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวที่มีการหลากหลายตามความต้องการของชุมชนโดยชุมชนเพื่อชุมชนที่เป็นที่ยอมรับนักท่องเที่ยวที่มาใช้บริการ
  3. การเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวด้วยภูมิปัญญา วิถีชุมชน และอนุรักษ์วัฒนธรรมชนเผ่า
3.00 1.00
3 การพัฒนากลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล เพื่อส่งเสริมสร้างภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนอย่างมีส่วนร่วมและเพิ่มมูลค่าขีดความสามารถการแข่งขันอย่างสมดุล
  1. ฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile)  จำนวนอย่าน้อย 1 ผลงาน
  2. กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้วิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ได้แก่ การทำตลาดออนไลน์ โดยผ่านการทำตลาดสมัยใหม่ ผ่านการพัฒนาเว็บไซต์ การพัฒนาแฟนเพจ การทำบัญชีไลน์แอด (LINE @)
  3. การจัดทำสื่อสารการทางการตลาดต้นไม้พูดได้ (QR Code) 4.ตัวแบบในการการถ่ายทอดกระบวนการองค์ความรู้การได้มาซึ่งความรู้ด้านวิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าและด้านการจัดการท่องเที่ยวและการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้วิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนของกลุ่มท่องเที่ยวบ้านเพราะช้าง
4.00 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มชุนชนบ้านเพราะช้างบ้านเพราะช้าง:หมู่บ้านยะพอ 15
คณะบริหารธุรกิจ มทร.ชม. มทร.ตาก 6
ชาวชุมชนเยาวชนในหมู่บ้านกลุ่มชุนชนบ้านเพราะช้าง 25
นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ มทร.ตาก เชียงใหม่ 5
นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น 5
หน่วยงานภาครัฐตำบลพบพระ อำเภอพบพระ จังวหัดตาก 5
อาจารย์คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น 5
อาจารย์คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม 3

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 การศึกษาวิเคราะห์ ส่งเสริม และพัฒนาผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยว

ชื่อกิจกรรม
การศึกษาวิเคราะห์ ส่งเสริม และพัฒนาผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยว
วัตถุประสงค์
  1. การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้วิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนของกลุ่มท่องเที่ยวบ้านเพราะช้าง
  2. รูปแบบผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนที่ได้รับการพัฒนาให้มีความหลากหลายเหมาะสมกับความต้องการของชุมชนกับกลุ่มนักท่องเที่ยว
  3. การพัฒนากลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล เพื่อส่งเสริมสร้างภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนอย่างมีส่วนร่วมและเพิ่มมูลค่าขีดความสามารถการแข่งขันอย่างสมดุล
รายละเอียดกิจกรรม
1. ศึกษาสังเคราะห์แนวคิดทฤษฎีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ได้องค์ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชน ตามแนวคิดการจัดการความรู้ แนวคิดการพัฒนาชุมชน แนวคิดวิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่า แนวคิดการท่องเที่ยวโดยชุมชน การจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) ด้านเศรษฐกิจ ทรัพยากร กายภาพ ชีวภาพทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญา เพื่อเพิ่มมูลค่าขีดความสามารถการแข่งขันอย่างสมดุล
2. ผู้วิจัยนำองค์ความรู้ที่ได้จากการสังเคราะห์ในข้อที่ 1 มาดำเนินการจัดทำรูปแบบการพัฒนาศักยภาพบริพื้นที่การท่องเที่ยววิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่ามีการหลากหลายตามความต้องการของชุมชนและนักท่องเที่ยวชุมชนและพัฒนาผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวเพื่อเพิ่มมูลค่าขีดความสามารถ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พ.ค. 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1.การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้วิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน 2. ชุมชนมีองค์ความรู้ในด้านการท่องเที่ยวตามมาตรฐานที่เกี่ยวข้องและสามารถนำไปต่อยอดและขยายผลต่อกระบวนการผลิต เพื่อลดรายจ่ายต้นทุนและเพิ่มรายได้จากภูมิปัญญาผลิตภัณฑ์ชุมชน 3. การสร้างมัคคุเทศก์น้อย อย่างน้อย 15 คน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 4 คน 9,600 1 38,400
ค่าที่พักตามจริง 2 ครั้ง 6,000 1 12,000
ค่าเช่ารถ 2 ครั้ง 6,000 1 12,000
ค่าอาหาร 4 ครั้ง 15,000 1 60,000
ค่าถ่ายเอกสาร 4 ครั้ง 5,000 1 20,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 4 ครั้ง 2,000 1 8,000
อื่น ๆ

ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ดในการดำเนินงาน

4 ครั้ง 8,500 1 34,000
ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ 4 ครั้ง 4,000 1 16,000
ค่าตอบแทนการประสานงาน 2 ครั้ง 8,000 1 16,000
รวมค่าใช้จ่าย 216,400

กิจกรรมที่ 2 รูปแบบการท่องเที่ยววิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าที่มีการหลากหลายตามความต้องการของชุมชนและนักท่องเที่ยว

ชื่อกิจกรรม
รูปแบบการท่องเที่ยววิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าที่มีการหลากหลายตามความต้องการของชุมชนและนักท่องเที่ยว
วัตถุประสงค์
  1. การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้วิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนของกลุ่มท่องเที่ยวบ้านเพราะช้าง
  2. รูปแบบผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนที่ได้รับการพัฒนาให้มีความหลากหลายเหมาะสมกับความต้องการของชุมชนกับกลุ่มนักท่องเที่ยว
  3. การพัฒนากลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล เพื่อส่งเสริมสร้างภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนอย่างมีส่วนร่วมและเพิ่มมูลค่าขีดความสามารถการแข่งขันอย่างสมดุล
รายละเอียดกิจกรรม
1. ผู้วิจัยจะทำการทดสอบผลิตภัณฑ์ท่องเที่ยวชุมชน(ต้นแบบ) (Tourism Product Testing) กับกลุ่มนักท่องเที่ยวหรือกลุ่มตัวอย่างนักท่องเที่ยวหรือนักวิชาการ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน
2. การประเมินผลและถอดบทเรียนรูปแบบการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยววิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าตามแนวคิดการจัดการความรู้ แนวคิดการพัฒนาชุมชน แนวคิดวิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่า แนวคิดการท่องเที่ยวโดยชุมชน การจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) ด้านเศรษฐกิจ ทรัพยากร กายภาพ ชีวภาพทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญา
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1.รูปแบบการท่องเที่ยวที่มีการหลากหลายตามความต้องการของชุมชนและนักท่องเที่ยว อย่างน้อย 2-5 รูปแบบ
2.ผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวที่มีการหลากหลายตามความต้องการของชุมชนโดยชุมชนเพื่อชุมชนที่เป็นที่ยอมรับนักท่องเที่ยวที่มาใช้บริการ อย่างน้อย 2-5 ผลิตภัณฑ์
3.การเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวด้วยภูมิปัญญา วิถีชุมชน และอนุรักษ์วัฒนธรรมชนเผ่า การเพิ่มขึ้นของรายได้ร้อยละ 5 รายได้ครัวเรือน/และมีจำนวนนักท่องเที่ยวเพิ่มขี้นร้อยละ 5
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 4 คน 9,600 1 38,400
ค่าที่พักตามจริง 2 ครั้ง 6,000 1 12,000
ค่าเช่ารถ 3 ครั้ง 6,000 1 18,000
ค่าอาหาร 4 ครั้ง 5,000 1 20,000
อื่น ๆ

ค่าเบ็ดเตล็ดในการดำเนินเกี่ยวกับโครงการ

2 ครั้ง 6,000 1 12,000
ค่าตอบแทนการประสานงาน 3 คน 5,000 1 15,000
ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ 4 คน 3,000 1 12,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 2 ครั้ง 2,000 1 4,000
รวมค่าใช้จ่าย 131,400

กิจกรรมที่ 3 ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้วิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน

ชื่อกิจกรรม
ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้วิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
วัตถุประสงค์
  1. การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้วิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนของกลุ่มท่องเที่ยวบ้านเพราะช้าง
  2. รูปแบบผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนที่ได้รับการพัฒนาให้มีความหลากหลายเหมาะสมกับความต้องการของชุมชนกับกลุ่มนักท่องเที่ยว
  3. การพัฒนากลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล เพื่อส่งเสริมสร้างภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนอย่างมีส่วนร่วมและเพิ่มมูลค่าขีดความสามารถการแข่งขันอย่างสมดุล
รายละเอียดกิจกรรม
1.ดำเนินการพัฒนาโดยกระบวนการ การจัดอบรมให้ความรู้อย่างมีส่วนร่วมของกลุ่มการท่องเที่ยวเชิงการท่องเที่ยววิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าหน่วยงานภาครัฐ คณะผู้วิจัย ผู้เชี่ยวชาญ เกี่ยวกับการพัฒนผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยว การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์การท่องเทียว การกำหนดกิจกรรมการเที่ยวชุมชน การกำหนดส่วนประสมทางการตลาด และการกำหนดกลุ่มเป้าหมาย และการออกแบบสื่อการตลาดดิจิตอล การจัดการตลาดบูรณาการ การจัดการฐาน Village Profile การสร้างมัคคุเทศก์น้อย ต้นไม้พูดได้การส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนให้ได้มาตรฐานการท่องเที่ยว และการสร้างตราตราสินค้าชุมชน
2.การพัฒนาสื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์กลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นโดยประยุกต์ใช้กลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัลและส่งเสริมการจัดการตลาด กลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล โดยประยุกต์ใช้การทำตลาดออนไลน์ โดยผ่านการทำตลาดสมัยใหม่ ผ่านการพัฒนาเว็บไซต์ การพัฒนาแฟนเพจ การทำบัญชีไลน์แอด (LINE @) แนวคิดส่วนประสมทางการตลาด
3.เพื่อพัฒนาตัวแบบในการการถ่ายทอดกระบวนการองค์ความรู้การได้มาซึ่งความรู้ด้านการจัดการท่องเที่ยวและการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยววิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้วิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าเพื่อการจัดการการท่องเที่ยววิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่า
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1.ฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) จำนวนอย่าน้อย 1 ผลงาน
2.กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้วิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ได้แก่ การทำตลาดออนไลน์ โดยผ่านการทำตลาดสมัยใหม่ ผ่านการพัฒนาเว็บไซต์ การพัฒนาแฟนเพจ การทำบัญชีไลน์แอด (LINE @) รวมสื่อดิจตอลอย่างน้อย 3-5 สื่อ
3.การจัดทำสื่อสารการทางการตลาดต้นไม้พูดได้ (QR Code) 4.ตัวแบบในการการถ่ายทอดกระบวนการองค์ความรู้การได้มาซึ่งความรู้ด้านวิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าและด้านการจัดการท่องเที่ยวและการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้วิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนของกลุ่มท่องเที่ยวบ้านเพราะช้าง สื่ออย่างน้อย 2-3 สื่อ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่้าทำตลาดดิจิทัและฐานข้อมูลการตลาดเพื่อากรท่องเที่ยวทั้งกิจกรรมโครงการเกี่ยวกับดิจิทัล

1 ครั้ง 91,800 1 91,800
ค่าตอบแทนวิทยากร 4 คน 3,600 1 14,400
ค่าอาหาร 20 คน 50 1 1,000
ค่าที่พักตามจริง 1 ครั้ง 6,000 1 6,000
ค่าเช่ารถ 4 ครั้ง 6,000 1 24,000
ค่าตอบแทนการประสานงาน 3 คน 5,000 1 15,000
รวมค่าใช้จ่าย 152,200

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 165,200.00 12,000.00 185,000.00 137,800.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 33.04% 2.40% 37.00% 27.56% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) 1. รูปแบบผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวที่มีความหลากหลายเหมาะสมกับความต้องการของชุมชนกับกลุ่มนักท่องเที่ยว จำนวน 2-5 รูปแบบ
2. การสร้างมัคคุเทศก์น้อยหรือมัคคุเทก์ชุมชน อย่างน้อย 15 คน
1. ฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile)จำนวนอย่าน้อย 1 ผลงาน
2. กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้วิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ได้แก่ การทำตลาดออนไลน์ โดยผ่านการทำตลาดสมัยใหม่ ผ่านการพัฒนาเว็บไซต์ การพัฒนาแฟนเพจ การทำบัญชีไลน์แอด (LINE @)
3. การจัดทำสื่อสารการทางการตลาดต้นไม้พูดได้ (QR Code)
1. ผลงานวิจัยเป็นประโยชน์ในแง่ของการได้มาซึ่งองค์รวม (Body of Knowledge) ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในด้านการเรียนการสอนและผู้ที่สนใจ สถาบันนการศึกษา หน่วยงานภาครัฐและเอกชน หรือหน่วยงานส่งเสริมพัฒนาชุมชน
2. มีคณะกรรมการในการบริหารจัดการอย่างเป็นรูปธรรมโดยชุมชนมีส่วนร่วม อย่างน้อย 1 กลุ่ม
3. ได้องค์ความรู้และภูมิปัญญาที่สามารถสร้างความเข้มแข็งและต่อยอดของชุมชน สังคม ประเทศ
1. การคิด วิเคราะห์ การแก้ไขปัญหาชุมชนอย่างมีส่วนร่วม และกระบวนการชุมชนในการแก้ไขปัญหา สร้างให้เกิดการเป็นบัณฑิตนักปฏิบัติในการประยุกต์ใช้ความรู้ ด้านการบริหารจัดการธุรกิจ การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ การบริหารจัดการกล่าม การสร้างความเข้มแข็งจากภูมิปัญหาของชุมชน และประยุกต์ใช้กับการบริการจัดการธุรกิจ เพื่อทีจะนำองค์ความรู้ที่ได้มาเป็นต้นแบบในการทำธุรกิจหรือการเป็นผู้ประกอบการที่มีประสิทธิภาพ และการสร้างเครือข่ายในการขยายงอค์ความรู้หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรม ประเพณีให้มีสืบทอดต่อยอดไปในเชิงพาณิชย์
2. ได้องค์ความรู้ เทคนิค และแนวทางผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวจากภูมิปัญญาท้องถิ่นและอัตลักษณ์เพื่อต่อยอดให้เกิดการท่องเที่ยวมาตรฐานในระดับสูงขึ้น
ผลลัพธ์ (Outcome) 1. ลดค่าใช้จ่าย(ต้นุทน)ของรูปแบบผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนให้ลดลงทำให้กำไรเพิ่มขั้นร้อยละ 5
2. ลดค่าใช้จ่ายของภาครัฐ สนับสนุนเงินทุนส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชน
3. ลดความเสี่ยงของการดำเนินงานกลุ่มการท่องเที่ยวชุมชน
4. การมีรายได้และความเป็นอยู่ที่เพิ่มสูงขึ้นร้อยละ 5
5.กลุ่มการท่องเที่ยวชุมชนได้มีคุณภาพชีวิตทีดีขึ้นจากการการให้บริการการท่องเที่ยวชุมชน
6. ได้นักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นร้อยละ 10
7. ฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้วิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนของกลุ่มท่องเที่ยว ที่มีการใช้เพื่อการบริหารชุมชนอย่างน้อย 3 เรื่องที่จะพัฒนาชุนชนหมู่บ้านใกล้เคียง
8. สร้างองค์ความรู้ให้กับผู้ประกอบการใหม่โดยได้องค์รวม (Body of Knowledge) ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในด้านการเรียนการสอนและผู้ที่สนใจ สถาบันนการศึกษา ผู้ประกอบการ อย่างน้อย 2 องค์ความรู้
9. สร้างศักยภาพของชุมชน กลุ่มท่องเที่ยววิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่า ให้การตัดสินใจลงทุนในการพัฒนาการท่องเที่ยว เพื่อลดค่าใช้จ่ายของต้นทุนการท่องเที่ยว และเพิ่มรายได้จากผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนที่ได้รับการพัฒนาให้มีความหลากหลายและรูปแบบผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวใหม่ๆจากการใช้ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างน้อย 2-5 รูปแบบหรือผลิตภัณฑ์กลุ่มท่องเที่ยววิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่า
1. การคิด วิเคราะห์ การแก้ไขปัญหาชุมชนอย่างมีส่วนร่วม และกระบวนการชุมชนในการแก้ไขปัญหา สร้างให้เกิดการเป็นบัณฑิตนักปฏิบัติในการประยุกต์ใช้ความรู้ ด้านการบริหารจัดการธุรกิจ การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ การบริหารจัดการกล่าม การสร้างความเข้มแข็งจากภูมิปัญหาของชุมชน และประยุกต์ใช้กับการบริการจัดการธุรกิจ เพื่อทีจะนำองค์ความรู้ที่ได้มาเป็นต้นแบบในการทำธุรกิจหรือการเป็นผู้ประกอบการที่มีประสิทธิภาพ และการสร้างเครือข่ายในการขยายงอค์ความรู้หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรม ประเพณีให้มีสืบทอดต่อยอดไปในเชิงพาณิชย์
2. ได้องค์ความรู้ เทคนิค และแนวทางผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวจากภูมิปัญญาท้องถิ่นและอัตลักษณ์เพื่อต่อยอดให้เกิดการท่องเที่ยวมาตรฐานในระดับสูงขึ้น
ผลกระทบ (Impact) 1. ลดค่าใช้จ่าย(ต้นุทน)ของรูปแบบผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนให้ลดลงทำให้กำไรเพิ่มขั้นร้อยละ 5
2. ลดค่าใช้จ่ายของภาครัฐ สนับสนุนเงินทุนส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชน
3. ลดความเสี่ยงของการดำเนินงานกลุ่มการท่องเที่ยวชุมชน
4. การมีรายได้และความเป็นอยู่ที่เพิ่มสูงขึ้นร้อยละ 5%
5. ชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
6. สร้างความเข้มแข็งทางความมั่นคงทางสังคม ชุม ชน ประเทศชาติ
7. การมีประสิทธิภาพของการดำเนินงานกลุ่มการท่องเที่ยวชุมขน
8. ได้นักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นร้อยละ 10
9. ฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้วิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนของกลุ่มท่องเที่ยว ที่มีการใช้เพื่อการบริหารชุมชนอย่างน้อย 3 เรื่องที่จะพัฒนาชุนชนหมู่บ้านใกล้เคียง หรืออำเภอ
10. สร้างองค์ความรู้ให้กับผู้ประกอบการใหม่โดยได้องค์รวม (Body of Knowledge) ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในด้านการเรียนการสอนและผู้ที่สนใจ สถาบันนการศึกษา ผู้ประกอบการ อย่างน้อย 2 องค์ความรู้
11. สร้างศักยภาพของชุมชน กลุ่มท่องเที่ยววิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่า ให้การตัดสินใจลงทุนในการพัฒนาการท่องเที่ยว เพื่อลดค่าใช้จ่ายของต้นทุนการท่องเที่ยว และเพิ่มรายได้จากผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนที่ได้รับการพัฒนาให้มีความหลากหลายและรูปแบบผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวใหม่ๆจากการใช้ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างน้อย 2-5 รูปแบบหรือผลิตภัณฑ์กลุ่มท่องเที่ยววิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่า
1. การคิด วิเคราะห์ การแก้ไขปัญหาชุมชนอย่างมีส่วนร่วม และกระบวนการชุมชนในการแก้ไขปัญหา สร้างให้เกิดการเป็นบัณฑิตนักปฏิบัติในการประยุกต์ใช้ความรู้ ด้านการบริหารจัดการธุรกิจ การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ การบริหารจัดการกล่าม การสร้างความเข้มแข็งจากภูมิปัญหาของชุมชน และประยุกต์ใช้กับการบริการจัดการธุรกิจ เพื่อทีจะนำองค์ความรู้ที่ได้มาเป็นต้นแบบในการทำธุรกิจหรือการเป็นผู้ประกอบการที่มีประสิทธิภาพ และการสร้างเครือข่ายในการขยายงอค์ความรู้หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรม ประเพณีให้มีสืบทอดต่อยอดไปในเชิงพาณิชย์
2. ได้องค์ความรู้ เทคนิค และแนวทางผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวจากภูมิปัญญาท้องถิ่นและอัตลักษณ์เพื่อต่อยอดให้เกิดการท่องเที่ยวมาตรฐานในระดับสูงขึ้น
นำเข้าสู่ระบบโดย tok2029 tok2029 เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2562 21:03 น.