แบบเสนอโครงการ
คืนดงไร่ให้ดงไร่

1. ชื่อโครงการ

คืนดงไร่ให้ดงไร่มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ดสาขาวิชาการประถมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ดเทศบาลตำบลโนนแหลมทองบ้านดงไร ตำบลโนนแหลมทอง อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิวัฒน์ สาระขันธ์292/4 ม.6 ต.สมเด็จ อ.สมเด็จ จ.กาฬสินธุ์เบอร์โทร. 0621982676นายสมโพช ยี่สารพัฒน์ (กำนันตำบลโนนแหลมทอง), ผู้ช่วยศาสตราจารย์แสงจันทร์ กะลาม,อาจารย์อุมาพร ไวยารัตน์ ,อาจารย์เพิ่มพร สุ่มมาตย์

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

3. รายละเอียดชุมชน

บ้านดงไร่ หมู่ที่๒ ตำบลโนนแหลมทอง อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นหมู่บ้านขนาดเล็กมี ๑๒๘ ครัวเรือนประชาการ๖๔๒ คนแบ่งเป็นผู้ชาย ๒๘๖ คน ผู้หญิง๓๙๖ คนประชาการส่วนใหญ่ (๙๔%)ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเช่นทำนา ทำไร่( มันสำปะหลัง, ยางพารา) มีนายสมโพช ยี่สารพัฒน์ เป็นผู้นำหมู่บ้าน (กำนัน) ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านดงไร่ เป็นหมู่บ้านเก่าแก่ที่จัดตั้งมาตั้งแต่สมัย รัชกาลที่ ๔ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ราษฎรเขาชนเผ่าภูไท มีขนบธรรมเนียม วัตนธรรมของตนเอง สภาพทางภูมิศาสตร์เป็นพื้นที่อุดมสมบูรณ์(ในอดีต)มีป่าไม้ไผ่ไร่(พันธ์ไผ่ชนิดหนึ่ง) จำนวนมากซึ่งเป็นที่มาของชื่อดงไร่ มีแม่น้ำห้วยยาว(สาขาของลำน้ำปาว)ไหลผ่าน ทำให้ชาวบ้านสามารถทำนาได้ผลผลิตมาก ต่อมาเมื่อปีพ.ศ. ๒๕๑๑ รัฐบาลได้มีโครงการสร้างเขื่อนลำปาวที่จังหวัดกาฬสินธุ์ทำให้บ้านดงไร่ซึ่งเป็นพื้นที่เหนือเขื่อนได้รับผลกระทบเพราะที่นาจะโดนน้ำจากเขื่อนลำปาวท่วม ที่นาของชาวบ้านถูกเวณคืนเป็นที่ของกรมชลประทานทำให้มีความยากลำบากในการทำมาหากิน ประชากรบางส่วนจึงอพยพไปทำมาหากินที่อื่นจึงส่งผลให้กลายเป็นหมู่บ้านขนาดเล็ก ปัจจุบันปัญหาที่เกิดขึ้นในหมู่บ้านคือป่าไผ่ไร่ซึ่งเคยเป็นต้นไม้ที่เป็นเอกลักษณ์ของหมู่บ้าน ถูกถากถางจนเหลือน้อยลงซึ่งในอดีตนั้นต้าไผ่ชนิดนี้อยู่ตามริมตลิ่งลำน้ำและตามหมู่บ้าน ชาวบ้านได้อาศัยเก็บหน่อไผ่ไร่มาปรุงอาหารและ มันจะช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม ของห้วยยาวไม่ให้ตลิ่งห้วยพังทลายและเป็นแหล่งอนุบาลพันธ์ปลาน้ำจืดทำให้ชาวบ้านได้อาศัยหาปลา ต่อมาเมื่อต้นไผ่ไร่ลดน้อยลงทำให้ตลิ่งริมห้วยยาวซึ่งเป็นแหล่งน้ำที่ชาวบ้านได้อาศัยน้ำในการทำมาหากิน ตลิ่งพังถล่ม ส่งผลให้ลำน้ำห้วยยาวตื้นเขิน และเกิดความแห้งแล้ง ปลาน้ำจึดที่เคยอุดมสมบูรณลดน้อยลง ส่งผลให้ชาวบ้านมีความยากลำบากในการทำมาหากินทำการเกษตรผู้วิจัยซึ่งเป็นลูกหลานของชาวบ้านดงไร่เห็นปัญหา จึงได้จัด"โครงการวิจัยคืนดงไร่ให้ดงไร่"นี้ขึ้นชุมชนบ้านดงไร่มีโรงเรียนประถมศึกษาที่มีผู้นำคือนายวินัย รัตนมาลีเป็นผู้อำนวยการ ที่มีความเข้มแข็งที่ชาวบ้านให้การยอมรับ และมีผู้นำคือนายสมโพช ยี่สารพัฒน์ที่เป็นผู้นำนักพัฒนาที่ชาวบ้านให้การยอมรับ นอกจากนี้ชาวบ้านดงไร่เป็นกลุ่มชนชาวภูไทที่มีวัฒนธรรมประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์และเข้มแข็งป่าไม่โดยเฉพาะป่าไผ่ไร่ที่เคยมีมากถูกทำลายส่งผลให้เกิดความแห้งแล้ง ตลิ่งริมน้ำพังทะลาย และเกิดความแห้งแล้งตื้นเขินของแหล่งน้ำชาวบ้านต้องการให้แหล่งน้ำกลับมาอุดมสมบูรณ์โดยเฉพาะป่าไผ่ไร่

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

ใช้สิ่งแวดล้อมศึกษา ปลูกป่าในใจคน

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มพื้นที่ป่าไผ่ไร่ให้กับบ้านดงไร่

มีป่าไผ่ไร่เพิ่มขึ้น๓,๐๐๐ ต้น

4.50 5.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 กระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษาปลูกป่าไผ่ไร่(ใน)ใจคน

ชื่อกิจกรรม
กระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษาปลูกป่าไผ่ไร่(ใน)ใจคน
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    ๑.จัดสัมนาปลูกป่าในใจคนดงไร่ (๒ วัน)งบประมาณ๑๗๘.๐๐๐ บาท
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    3 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ผลผลิต(Output) ได้พื้นที่ปลูกไผ่ไร่ (๓,๐๐๐ ต้น)
    ผลลัพธ์(Outcome) ชาวบ้านและนักศึกษาตระหนักและเห็นความสำคัญของสิ่งแวดล้อมและช่วยกันอนุรักษ์ต้นไม้ต่อไป
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ต้นไผ่ไร่
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    เทศบาลตำบลโนนแหลมทอง(เข้าร่วมโครงการ) ,โรงเรียนดงไร่ราษฎร์พัฒนา(เข้าร่วมโครงการ)
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ค่าวิทยากร ๔ คน จำนวน ๒ วัน ๔ x ๒,๐๐๐ x ๒

    0 คน 0 0 0
    ค่าตอบแทนการประสานงาน

    ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปเก็บข้อมูล ประสานงานในพื้นที่ แบบเหมาจ่าย ๔ X ๓,๐๐๐= ๑๒,๐๐๐

    0 คน 0 1 0
    ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

    ค่าจัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ ๒X ๑,๐๐๐ = ๒,๐๐๐

    0 ชุด 0 1 0
    ค่าเช่าสถานที่

    ค่าเช่าสถานที่จัดสัมนา ๕,๐๐๐

    1 ครั้ง 0 1 0
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหารกลางวัน สัมมนา ๒ วัน ๔๒๐x ๑๐๐ x ๒ =๘๔,๐๐๐ ค่าอาหารว่าง สัมนา ๔ ครั้ง ๔๒๐ x ๕๐ x ๒ =๘๔,๐๐๐

    0 คน 0 0 0
    รางวัลเพื่อการยกย่อง

    ค่าของที่ระลึกให้แขกผู้ร่วมงาน ๑๐ x ๒,๐๐๐= ๒๐,๐๐๐

    0 ชุด 0 1 0
    ค่าเช่ารถ

    ค่าเช่ารถตู้ไปประสานงานและร่วมงาน ๕ x ๒,๐๐๐= ๑๐,๐๐๐

    1 เที่ยว 0 0 0
    ค่าวัสดุสำนักงาน

    ค่าวัสดุที่ใช้ในการสัมนาและดำเนินโครงการ ๕,๐๐๐

    1 ชุด 0 1 0
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

    ค่าใช้จ่ายในการลงพิ้นที่ ๔x๑,๐๐๐=๔,๐๐๐

    0 คน 0 0 0
    ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

    ค่าเหมารถบัส จำนวน ๒ วัน ๒x ๑๐,๐๐๐= ๒๐,๐๐๐

    0 เที่ยว 0 1 0
    รวมค่าใช้จ่าย 0

    กิจกรรมที่ 2 ๒.ช่วยกันปลูกป่าไผ่ไร่ให้ดงไร่งบประมาณ ๒๓๘,๐๐๐ บาท

    ชื่อกิจกรรม
    ๒.ช่วยกันปลูกป่าไผ่ไร่ให้ดงไร่งบประมาณ ๒๓๘,๐๐๐ บาท
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      ๑. จัดหาพันธ์ไผ่ไร่
      ๒. ช่วยกันปลูกไผ่ไร่
      ๓. ช่วยกันดูแลรักษา
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      6 กรกฎาคม 2563 ถึง
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      ผลผลิต(Output) ได้ปลูกต้นไผ่ไร่ ๓,๐๐๐ ต้น
      ผลลัพธ์(Outcome) ๑.ผู้ร่วมโครงการมีจิตสำนึกด้านอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
      ๒. ชาวบ้านมีน้ำอุดมสมบูรณในการทำการเกษตร
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      พันธ์ไผ่ไร่
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      เทศบาลตำบลโนนแหลมทอง(เข้าร่วมโครงการ) ,โรงเรียนดงไร่ราษฎร์พัฒนา(เข้าร่วมโครงการ)
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      ค่าตอบแทนวิทยากร

      ค่าวิทยากรจากสำนักงานป่าไม้จังหวัด ๒,๐๐๐

      0 คน 0 1 0
      ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

      ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ ๒ ชิ้น ๒X ๑,๐๐๐=๒,๐๐๐

      0 ชิ้น 0 1 0
      ค่าอาหาร

      ค่าอาหารกลางวัน ๔๒๐x ๑๐๐ = ๔๒,๐๐๐ ค่าอาหารว่าง ๔๒๐x๕๐x๒=๔๒,๐๐๐ รวมทั้งสิ้น ๘๔,๐๐๐

      0 คน 0 1 0
      ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

      ค่าพันธ์ไผ่ไร่ ๓,๐๐๐ ต้น ๓,๐๐๐x ๕๐=๑๕๐,๐๐๐

      0 ชิ้น 0 1 0
      รวมค่าใช้จ่าย 0

      รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 0.00 บาท

      ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
      ค่าใช้จ่าย (บาท) 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
      เปอร์เซ็นต์ (%) nan% nan% nan% nan% 100.00%

      11. งบประมาณ

      0.00บาท

      12. การติดตามประเมินผล

      ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
      ผลผลิต (Output) ได้ป่าไผ่ไร่จำนวน ๓,๐๐๐ต้น ได้รายงานโครงการจำนวน ๒๐ โครงการ
      ผลลัพธ์ (Outcome) ชาวบ้านมีจิตสำนึกด้านการอนุรักษ์ส่งแวดล้อม นักศึกษามีจิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อม
      ผลกระทบ (Impact) ชาวบ้านมีน้ำในแม่น้ำใช้อย่างเพียงพอ มีคุณภาพชีวิตที่ดี นักศึกษาได้รับความรู้และประสบการณ์ในการทำงานกับชุมชน
      นำเข้าสู่ระบบโดย nisarakhan2511 nisarakhan2511 เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2562 20:50 น.