โครงการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเห็ด ตำบลโนนสูง อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
โครงการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเห็ด ตำบลโนนสูง อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

โครงการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเห็ด ตำบลโนนสูง อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามคณะวิทยาการจัดการสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดกาฬสินธุ์กลุ่มเพาะเห็ด ตำบลโนนสูง อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์อาจารย์ธันยชนก ปะวะละคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม เลขที่ 80 ต.ตลาด อ.เมือง จ.มหาสารคาม 44000086-6409545รายชื่ออาจารย์
1. อาจารย์ธันยชนก ปะวะละ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ
2. อาจารย์ณฐภศา เดชานุเบกษา สาขาวิชาบริหารการเงิน คณะวิทยาการจัดการ
3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์กุณฑีรา อาษาศรี สาขาวิชาการบัญชี คณะวิทยาการจัดการ
4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรีพร คลังพระศรี สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ
5. อาจารย์ ดร. กุลธิดา ภูมิเหล่าแจ้ง สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ
6. อาจารย์ปริญญา ทองคำ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ
7. อาจารย์ ดร.พรพิษณุ ธรรมปัทม์ สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร

รายชื่อนักศึกษา
เทียบโอนหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต รายวิชาเศรษฐศาสตร์การเงินธุรกิจ รหัสวิชา 4040201 หน่วยกิต 3(3-3-0)
อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา อาจารย์ธันยชนก ปะวะละ
1. นางสาวปภาวดี ทมานนท์ เลขที่บัตรประชาชน 1460500257803 รหัสนักศึกษา 603140400105 สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
2. นางสาวประภาพร แสนเมือง เลขที่บัตรประชาชน 1440500185071 รหัสนักศึกษา 603140400106 สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
3. นางสาวเบญจมาศ หินไชยศรี เลขที่บัตรประชาชน 1459900691908 รหัสนักศึกษา 603140400113 สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

เทียบโอนกับรายวิชา หลักสูตรบัญชีบัณฑิต วิชาระเบียบวิธีวิจัย รหัสวิชา 4010305 หน่วยกิต 3 (2-2-5)
อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา ผู้ช่วยศาสตราจารย์กุณฑีรา อาษาศรี
4. นางสาวรุ่งทิวา ภูสี บัตรประจำตัวประชาชน 1309701206563รหัสนักศึกษา603140200125 สาขาวิชาการบัญชี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
5. นางสาวมณีกานต์ ภูแก้ว บัตรประจำตัวประชาชน 1440900237761 รหัสนักศึกษา 603140200115สาขาวิชาการบัญชี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

เทียบโอนกับรายวิชา โครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 2 รหัสวิชา4030401หน่วยกิต 3 (2-2-5)
อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา อจารย์ปริญญา ทองคำ
6. นางสาววิชุดา ชนะพันธ์บัตรประจำตัวประชาชน 1449900474648 รหัสนักศึกษา613340130116สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
7. นางสาวสุนันทา ซ้ายก่า บัตรประจำตัวประชาชน 1461300128784รหัสนักศึกษา 613340130117สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

เทียบโอนกับรายวิชา หลักสูตรเทคโนโลยีการอาหาร วิชาหลักการวิเคราะห์อาหาร รหัสวิชา5007304-3 หน่วยกิต 3 (3-3-0)
อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา ดร.พรพิษณุ ธรรมปัทม์สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร
8. นางสาวณัฎฐลินี โม้พิมพ์ บัตรประจำตัวประชาชน 1400600192100 รหัสนักศึกษา 603150030101 สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร
9. นางสาวดวงใจ วงค์แดง บัตรประจำตัวประชาชน 1451200060797 รหัสนักศึกษา 603150030102 สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ ยางตลาด โนนสูง ชนบท

3. รายละเอียดชุมชน

กลุ่มเพาะเห็ด
140 หมู่ 5 บ้านโนนสูง ต.โนนสูง อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์ 46120

ติดต่อ : นายทองปาน สุริสาร
โทร :01 260-7857
เรื่องราวของผลิตภัณฑ์/ภูมิปัญญา
จำนวนสมาชิก 50 คน

การจัดการ
กลุ่มจัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2540 เนื่องจากเกษตรกรเสร็จจากการเกี่ยวข้าว ไม่มีงานทำต้องเดินทางไปทำงานต่างจังหวัด ในระยะหลังประชาชนกลับมาอยู่ในหมู่บ้านเพราะเศรษฐกิจตกต่ำ เงินเดือนไม่สมดุลกับค่าครองชีพที่กรุงเทพฯ สูงขึ้น ในระยะแรกมีการเพาะเห็ดขอนขาวและเห็ดบด ประสบความสำเร็จจนเป็นอาชีพเสริมที่ทำรายได้ดี ชาวบ้านเริ่มให้ความสนใจกับการเพาะเห็ด โดยได้รับคำแนะนำจากนายทองปาน และทำกันเป็นจำนวนมากรายขึ้น จนกระทั่งจัดการรวมกลุ่ม มีคณะกรรมการบริหารกลุ่ม และดำเนินการตามระบบกลุ่มอย่างมีประสิทธิภาพ
สมาชิกกลุ่มมีการประชุมเดือนละครั้ง มีเงินทุนหมุนเวียนภายในกลุ่ม กติกากลุ่ม ผลผลิตจะขายในราคาเดียวกัน การจำหน่ายมีพ่อค้าคนกลางมารับซื้อ ปัจจุบันราคาอยู่ในระดับดุลยภาพ1. ขาดการแปรรูป
2. ขาดช่องทางการจัดจำหน่ายที่หลากหลาย
3. ขาดรูปแบบผลิตภัณฑ์ที่ทันสมัย
การแปรรูป การสร้างมูลค่าเพิ่ม พัฒนาช่องทางการตลาด การบริหารจัดการ การวางแผนธุรกิจตลาดออนไลน์

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

1. องค์ความรู้เกี่ยวกับการเกษตรเพาะเลี้ยงเห็ด
2. องค์ความรู้เกี่ยวกับการแปรรูปผลิตภัณฑ์
3. องค์ความรู้เกี่ยวกับการวางแผนธุรกิจ
4. องค์ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาตราสินค้าและการทำตลาดออนไลน์

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ได้กลุ่มเพาะเห็ดต้นแบบในการพัฒนาแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเห็ด

จำนวนของกลุ่มเพาะเห็ดต้นแบบในการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเห็ด

5.00 5.00
2 เพื่อให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่โดยการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเห็ด

จำนวนรูปแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ที่ได้จากการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเห็ด

1.00 1.00
3 เพื่อให้ได้ตราสินค้าหรือพัฒนาตราสินค้าของกลุ่มเพาะเห็ดต้นแบบ

จำนวนตราสินค้าที่ได้รับการพัฒนา

5.00 5.00
4 เพื่อให้ได้ช่องทางการจัดจำหน่ายออนไลน์ช่วยเพิ่มรายได้ของชุมชน

จำนวนช่องทางการจัดจำหน่ายออนไลน์

1.00 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
สมาชิกกลุ่มเพาะเห็ด ต.โนนสูง อ.ยางตลาด 50

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 ประเมินศักยภาพของกลุ่มเพาะเห็ดและอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากเห็ด และคัดเลือกกลุ่มเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์

ชื่อกิจกรรม
ประเมินศักยภาพของกลุ่มเพาะเห็ดและอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากเห็ด และคัดเลือกกลุ่มเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้ได้กลุ่มเพาะเห็ดต้นแบบในการพัฒนาแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเห็ด
รายละเอียดกิจกรรม
สำรวจ อบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากเห็ด และคัดเลือกกลุ่มเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ และประเมินเพื่อคัดเลือกกลุ่มเพาะเห็ดที่มีความพร้อมที่จะพัฒนาผลิตภัณฑ์
ระยะเวลาดำเนินงาน
10 March 2020 ถึง 12 March 2020
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
-ได้กลุ่มเพาะเห็ดที่พร้อมเข้ารับการพัฒนาแปรรูปผลิต จำนวน 5 กลุ่ม
ทรัพยากรอื่น ๆ
-
ภาคีร่วมสนับสนุน
สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดกาฬสินธุ์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรม

100 คน 150 3 45,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างผู้เข้าอบรม

100 คน 25 6 15,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

วิทยากร 1คน ผู้ช่วยวิทยากร 2คน ทำหน้าที่ให้ความรู้และคัดเลือกกลุ่ม

3 คน 600 18 32,400
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวันนักศึกษา

10 คน 50 3 1,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างนักศึกษา

10 คน 20 6 1,200
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าเอกสารอบรม

100 ชุด 50 1 5,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าวัสดุในการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ

100 ชุด 200 1 20,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรม

1 ครั้ง 10,000 1 10,000
รวมค่าใช้จ่าย 130,100

กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากเห็ด

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากเห็ด
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่โดยการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเห็ด
รายละเอียดกิจกรรม
1. อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการแปรรูปอาหาร เป็นระยะเวลา 5วัน
2. พัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ใหม่โดยการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเห็ด (ดำเนินการอย่างต่อเนื่องหลังจากอบรม)
ระยะเวลาดำเนินงาน
16 March 2020 ถึง 17 April 2020
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
-ได้รูปแบบผลิตภัณฑ์ใหม่จากการพัฒนาแปรรูปเห็ด
ทรัพยากรอื่น ๆ
-โรงเรือนเพาะเห็ด
-เครื่องอบ
ภาคีร่วมสนับสนุน
สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดกาฬสินธุ์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรม

50 คน 150 5 37,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างผู้เข้าอบรม

50 คน 25 10 12,500
ค่าตอบแทนวิทยากร

วิทยากร 1คน ผู้ช่วยวิทยากร 2คน

3 คน 600 30 54,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวันนักศึกษา

10 คน 50 5 2,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างนักศึกษา

10 คน 20 10 2,000
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าเอกสารอบรม

50 ชุด 70 1 3,500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าวัสดุฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ

50 ชุด 300 1 15,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่าวัสดุอุปกรณ์โครงการ

1 ครั้ง 10,700 1 10,700
รวมค่าใช้จ่าย 137,700

กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับช่องทางการจัดจำหน่าย และการพัฒนาตราสินค้า

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับช่องทางการจัดจำหน่าย และการพัฒนาตราสินค้า
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้ได้ตราสินค้าหรือพัฒนาตราสินค้าของกลุ่มเพาะเห็ดต้นแบบ
รายละเอียดกิจกรรม
1. อบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับช่องทางการจัดจำหน่ายที่หลากหลายจำนวน 3 วัน
2. พัฒนาตราสินค้าของกลุ่มเพาะเห็ดต้นแบบ (ดำเนินการอย่างต่อเนื่องหลังจากอบรม)
ระยะเวลาดำเนินงาน
20 April 2020 ถึง 24 April 2020
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
-ได้ตราสินค้าของกลุ่มเพาะเห็ดต้นแบบได้รับคัดเลือก
ทรัพยากรอื่น ๆ
-
ภาคีร่วมสนับสนุน
สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดกาฬสินธุ์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรม

50 คน 150 3 22,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างผู้เข้าอบรม

50 คน 25 6 7,500
ค่าตอบแทนวิทยากร

วิทยากร 1คน ผู้ช่วยวิทยากร 2คน

3 คน 600 18 32,400
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวันนักศึกษา

10 คน 50 3 1,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างนักศึกษา

10 คน 20 6 1,200
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าเอกสารอบรม

50 ชุด 70 1 3,500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าวัสดุฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ

50 ชุด 250 1 12,500
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่าวัสดุอุปกรณ์โครงการ

1 ครั้ง 10,000 1 10,000
รวมค่าใช้จ่าย 91,100

กิจกรรมที่ 4 พัฒนาช่องทางการจัดจำหน่ายออนไลน์และอบรมเชิงปฏิบัติการขายสินค้าออนไลน์และการจัดส่ง

ชื่อกิจกรรม
พัฒนาช่องทางการจัดจำหน่ายออนไลน์และอบรมเชิงปฏิบัติการขายสินค้าออนไลน์และการจัดส่ง
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้ได้ช่องทางการจัดจำหน่ายออนไลน์ช่วยเพิ่มรายได้ของชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม
1. จัดทำช่องทางการจัดจำหน่ายออนไลน์
2. อบรมเชิงปฏิบัติการใช้งานการขายสินค้าออนไลน์บนช่องทางที่พัฒนาขึ้นและการจัดส่ง ระยะเวลา 3 วัน
3. ประชาสัมพันธ์ช่องทางการจัดจำหน่าย (ดำเนินการอย่างต่อเนื่องหลังจากอบรม)
ระยะเวลาดำเนินงาน
27 April 2020 ถึง 15 May 2020
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
-ได้ช่องทางการจัดจำหน่ายออนไลน์ (เว็บไซด์)
ทรัพยากรอื่น ๆ
-
ภาคีร่วมสนับสนุน
สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดกาฬสินธุ์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าจ้างทำเว็บไซด์ขายสินค้าออนไลน์

1 ชิ้น 40,000 1 40,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรม

50 คน 150 3 22,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างผู้เข้าอบรม

50 คน 25 6 7,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวันนักศึกษา

10 คน 50 3 1,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างนักศึกษา

10 คน 20 6 1,200
ค่าตอบแทนวิทยากร

วิทยากร 1 คน ผู้ช่วยวิทยากร 2คน

3 คน 600 18 32,400
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าเอกสารอบรม

50 ชุด 70 1 3,500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าวัสดุฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ

50 ชุด 250 1 12,500
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่าวัสดุอุปกรณ์โครงการ

1 ครั้ง 10,000 1 10,000
อื่น ๆ

ค่าจ้างทำสื่อประชาสัมพันธ์ เช่น วีดีโอ และสื่อสิ่งพิมพ์ เป็นต้น

1 ครั้ง 10,000 1 10,000
รวมค่าใช้จ่าย 141,100

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 151,200.00 198,100.00 100,700.00 50,000.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 30.24% 39.62% 20.14% 10.00% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากเห็ด 1.ทักษะการประกอบการการวิเคราะห์ต้นทุนธุรกิจ การวางแผนกำไร แผนธุรกิจ เทียบรายวิชาเศรษฐศาสตร์การเงินธุรกิจ
2.ระบบบัญชี รายวิชา ระเบียบวิธีวิจัย
3.ระบบการขายออนไลน์ ช่องทางการจัดจำหน่าย รายวิชา โครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ2
4.การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเห็ด รายวิชา หลักการวิเคราะห์อาหาร
ผลลัพธ์ (Outcome) นวตกรรมการผลิตและการแปรรูปเห็ด องค์ความรู้เกี่ยวกับเห็ด สามารถนำไปต่อยอดสร้างอาชีพได้
ผลกระทบ (Impact) ชุมชนสามารถขายสินค้าได้มากขึ้น และมีรายได้เพิ่มขึ้น ได้รับความรู้และประสบการณ์จริงนอกห้องเรียน
นำเข้าสู่ระบบโดย Thanyachanok Thanyachanok เมื่อวันที่ 30 October 2019 17:33 น.