การเพิ่มผลผลิตของมะม่วงพันธุ์มหาชนกและเทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑ์สู่เชิงพาณิชย์ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนมะม่วงมหาชนก ตำบลหนองหิน อำเภอหนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
การเพิ่มผลผลิตของมะม่วงพันธุ์มหาชนกและเทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑ์สู่เชิงพาณิชย์ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนมะม่วงมหาชนก ตำบลหนองหิน อำเภอหนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

การเพิ่มผลผลิตของมะม่วงพันธุ์มหาชนกและเทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑ์สู่เชิงพาณิชย์ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนมะม่วงมหาชนก ตำบลหนองหิน อำเภอหนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตรสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม และสาขาวิชาการตลาด คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์กลุ่มวิสาหกิจชุมชนมะม่วงมหาชนก ตำบลหนองหิน อำเภอหนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธุ์นางสาวอภิญญา ภูมิสายดอน22 หมู่ 12 บ้านหนองกุงศรี ตำบลหนองกุงศรี อำเภอหนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธุ์085-49244561. นางสาวนันทพร ญาณพิบูลย์ / เลขบัตรประจำตัวประชาชน 1469900417164 / สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร (วท.บ. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) / รายวิชาเทียบโอน 03-052-304 วิศวกรรมอาหาร 1 จำนวน 3 หน่วยกิต และรายวิชา 03-054-302 การสุขาภิบาลโรงงานและกฎหมายอาหาร จำนวน 3 หน่วยกิต
2. นายณัฐพงศ์ แก้ววันนา / เลขบัตรประจำตัวประชาชน 1103702499633 / สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร (วท.บ. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) / รายวิชาเทียบโอน 03-052-304 วิศวกรรมอาหาร 1 จำนวน 3 หน่วยกิต และรายวิชา 03-054-302 การสุขาภิบาลโรงงานและกฎหมายอาหาร จำนวน 3 หน่วยกิต
3. นายอิทธิ แสนแก้ว / เลขบัตรประจำตัวประชาชน 1469900364885 / สาขาวิศวกรรมเครื่องกล (วศ.บ. วิศวกรรมเครื่องกล) /รายวิชาเทียบโอน 04-031-306 เครื่องยนต์สันดาปภายใน / จำนวน 3 หน่วยกิต
4. นายโยธิน มุดนาเวท / เลขบัตรประจำตัวประชาชน 1469900354774 /สาขาวิศวกรรมเครื่องกล (วศ.บ. วิศวกรรมเครื่องกล) /รายวิชาเทียบโอน 04-031-306 เครื่องยนต์สันดาปภายใน / จำนวน 3 หน่วยกิต
5. นายนันต์ทวัช เนตร์วัน / เลขบัตรประจำตัวประชาชน 1461300160882 / สาขาวิศวกรรมเครื่องกล (วศ.บ. วิศวกรรมเครื่องกล) /รายวิชาเทียบโอน 04-031-306 เครื่องยนต์สันดาปภายใน / จำนวน 3 หน่วยกิต
6. นายภาณุพงษ์ พลเยี่ยม / เลขบัตรประจำตัวประชาชน 6043310530146 / สาขาวิศวกรรมเครื่องกล (วศ.บ. วิศวกรรมเครื่องกล) /รายวิชาเทียบโอน 04-031-306 เครื่องยนต์สันดาปภายใน / จำนวน 3 หน่วยกิต
7. นายกิติศักดิ์ พลศรี / เลขบัตรประจำตัวประชาชน 1459900599041 / สาขาวิศวกรรมเครื่องกล (วศ.บ. วิศวกรรมเครื่องกล) /รายวิชาเทียบโอน 04-031-306 เครื่องยนต์สันดาปภายใน / จำนวน 3 หน่วยกิต
8. นายปัญญา เถาว์ชาลี / เลขบัตรประจำตัวประชาชน 1469900376778 / สาขาวิชาการตลาด (บธ.บ. การตลาด) /รายวิชาเทียบโอน 05-031-402 สัมมนาทางการตลาด / จำนวน 3 หน่วยกิต
9. นายวัลลภ ปรีดีย์ / เลขบัตรประจำตัวประชาชน 1469900432759 / สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช (วท.บ.เทคโนโลยีการผลิตพืช) / รายวิชาเทียบโอน 03-021-205 โรคพืชและการป้องกันกำจัด / จำนวน 3 หน่วยกิต
10. นางสุภาพร พุ่มริ้ว / สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร / อาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัย
11. นางสาวพนิดา วงศ์ปรีดี / สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร/ อาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัย
12. นางสาวปุญญิศา ชารีรักษ์ / สาขาเทคโนโลยีการผลิตพืช/ อาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัย
13. นายภัคคิป ไกรโสดา / สาขาวิศวกรรมเครื่องกล/ อาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัย
14. นายสุพจน์ ดีบุญมี / สาขาวิชาการตลาด/ อาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัย

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ หนองกุงศรี หนองหิน

3. รายละเอียดชุมชน

พื้นที่ตำบลหนองหิน อำเภอหนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธุ์ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ของจังหวัดกาฬสินธุ์ พื้นที่ส่วนใหญ่ใช้ในการเกษตรกรรมรวมจำนวน 3,947 ไร่ สภาพทางเศรษฐกิจในเขตเทศบาลตําบลหนองหิน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางการเกษตร เช่น ทํานา ทําไร่อ้อย ไร่มันสําปะหลัง ปลูกมะม่วงมหาชนก และเลี้ยงสัตว์ เป็นต้น ประชากรส่วนใหญ่มีฐานะปานกลางถึงยากจน รายได้ประชากรต่อคนต่อปีประมาณ 20,000 บาทต่อปี ลักษณะของชุมชนในเขตเทศบาลตําบลหนองหินเป็นลักษณะกึ่งชนบท ประชาชนเป็นผู้นับถือศาสนาพุทธร้อยละ 95 ของจํานวนประชากรทั้งหมด นับถือศาสนาอิสลาม 5 คนจังหวัดกาฬสินธุ์เป็นแหล่งพื้นที่ในการเพาะปลูกมะม่วงพันธุ์มหาชนกที่สำคัญและมีศักยภาพทั้งในการพัฒนาและการส่งออกของประเทศโดยมีเกษตรกรหันมาปลูกมะม่วงพันธุ์มหาชนกมากขึ้น รวมเป็นพื้นที่ขณะนี้กว่า 1,000 ไร่ส่งออกมะม่วงพันธุ์มหาชนกไปต่างประเทศมูลค่ากว่า 30 ล้านบาทต่อปีซึ่งเกษตรกรส่งผลผลิตผ่านบริษัทเอกชนที่เข้ามารับซื้อเพื่อส่งออกไปยังประเทศญี่ปุ่น จีน รัสเซีย และประเทศแถบยุโรปคิดเป็นปริมาณร้อยละ 90 ส่งออกยังต่างประเทศ ส่วนที่เหลือจำหน่ายในพื้นที่และนำมาแปรรูปหลากหลาย เช่น แยมมะม่วง น้ำปั่นมะม่วง มะม่วงกวน เป็นต้นจากการสอบถามปัญหาในเบื้องต้นของชุมชนกลุ่มวิสาหกิจชุมชนมะม่วงมหาชนก ตำบลหนองหิน อำเภอหนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธุ์ ตั้งแต่ขั้นตอนกระบวนการเพาะปลูกจนกระทั่งการเก็บเกี่ยวผลผลิต เกษตรกรพบปัญหาการเกิดโรคพืชในมะม่วงพันธุ์มหาชนกที่ก่อให้เกิดความเสียหายโดยทำให้ผลผลิตลดลงหรือไม่มีผลผลิตเลย และยังทำให้คุณภาพของผลผลิตไม่เป็นไปตามที่ตลาดต้องการ ทำให้ราคาผลผลืตตกต่ำ ซึ่งได้แก่ โรคแอนแทรกโนสโรคราแป้งและโรคราดำ เป็นต้นโรคเหล่านี้หากระบาดรุนแรงจะส่งผลเสียหายแก่เกษตรกรเป็ยอย่างมาก นอกจากนี้มะม่วงมหาชนกในกลุ่มนิยมจำหน่ายในรูปแบบผลสด ซึ่งเกษตรกรจะส่งผลผลิตผ่านบริษัทเอกชนที่เข้ามารับซื้อเพื่อส่งออกไปยังต่างประเทศ อย่างไรก็ตามในการส่งออกมะม่วงมหาชนกนั้นต้องมีขนาดของผลที่ใหญ่ได้มาตรฐาน ทั้งสีและน้ำหนัก ทั้งนี้ผลของมะม่วงที่ตกเกรดหรือผลที่ไม่ได้ขนาดตามมาตรฐานการส่งออกก็จำหน่ายได้ราคาต่ำเช่นกันนั้น อีกทั้งเกษตรกรต้องรับภาระในการหาตลาดในการจำหน่ายเอง รวมไปถึงในฤดูกาลที่มะม่วงออกผลผลิตพร้อมกันทั่วประเทศทำให้เกิดปัญหาการล้นตลาด เกษตรกรจำหน่ายออกไปไม่ทัน ส่งผลให้ราคาจำหน่ายตกต่ำอีกด้วย ซึ่งจากเดิมเกษตรกรจำหน่ายได้ในราคา 40-60 บาทต่อกิโลกรัมในช่วงต้นฤดู (เดือนมีนาคมถึงกลางเดือนเมษายน) และลดลงเป็น 15-20 บาทต่อกิโลกรัม ในช่วงฤดูกาลที่ผลผลิตออกพร้อมกัน ซึ่งปัญหาเหล่านี้ทำให้มะม่วงมีราคาตกต่ำ และเนื่องจากมะม่วงมหาชนกยังเป็นมะม่วงที่ทำให้ผลผลิตออกนอกฤดูยังไม่ได้ เกษตรกรเกิดปัญหาในการเก็บรักษา รวมทั้งขาดองค์ความรู้ในการแปรรูปผลิตภัณฑ์มะม่วงให้มีความหลากหลายและน่าสนใจ เข้ากับยุคสมัยของผู้บริโภคในปัจจุบัน อีกทั้งยังขาดเครื่องมือและเทคโนโลยีในการแปรรูปอีกด้วยความต้องการในเบื้องต้นของชุมชนกลุ่มวิสาหกิจชุมชนมะม่วงมหาชนก ตำบลหนองหิน อำเภอหนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธุ์ ดังนี้
1. ต้องการองค์ความรู้และนวัตกรรมที่จะแก้ปัญหาโรคพืชในมะม่วงมหาชนก ในระยะออกดอกและติดผล
2. ต้องการการเสริมสร้างศักยภาพด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ในกระบวนการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากมะม่วงมหาชนก
3. ต้องการการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากมะม่วงมหาชนกในเชิงพาณิชย์ ซึ่งจะสามารถช่วยลดปัญหาผลผลิตที่ไม่ได้มาตรฐานการส่งออกและผลผลิตในช่วงล้นตลาด ราคาตกต่ำ
4. ต้องการส่งเสริมให้ผลิตภัณฑ์แปรรูปอาหารจากมะม่วงมหาชนกให้เป็นที่ยอมรับ และสามารถขยายตลาดการค้าผ่านช่องทางการตลาดต่างๆ ทั้งในรูปแบบออนไลน์ และออฟไลน์

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

องค์ความรู้และนวัตกรรมด้านโรคพืชในการแก้ไขปัญหาโรคพืชในมะม่วงมหาชนก ได้แก่ โรคแอนแทรกโนส โรคราแป้ง และโรคราดำ เป็นต้น โดยการใช้ใช้ชีวภัณฑ์กำจัดแมลงศัตรูพืช เพื่อป้องกันควบคุม กำจัดโรคและแมลงศัตรูพืชต่างๆ ทดแทนการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช ซึ่งทำให้เกิดความปลอดภัยทั้งเกษตรกรผู้ใช้และผู้บริโภค องค์ความรู้ด้านวิศวกรรมเครื่องกลนำมาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาการขาดแคลนเทคโนโลยีและเครื่องมือในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ โดยจะทำการสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ในงานโครงการนี้ ซึ่งจะส่งผลให้ประหยัดการจ้างแรงงานคนและการผลิตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพอีกด้วย องค์ความรู้ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากมะม่วงมหาชนกจากศาสตร์ของนักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร นำมาพัฒนาผลิตภัณฑ์จากมะม่วงมหาชนกรวมทั้งการเลือกบรรจุภัณฑ์ ตลอดจนการพัฒนากระบวนการผลิตที่เหมาะสมกับชุมชน โดยคณะดำเนินงานผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวอภิญญา ภูมิสายดอน เคยได้รับมอบหมายจากมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ ในการจัดโครงการสำหรับผลผลิตบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 คือ โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากมะม่วงมหาชนก ณ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนมะม่วงมหาชนก ตำบลหนองหิน อำเภอหนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธุ์ และมีความต้องการที่จะขยายผลด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากมะม่วงมหาชนกให้มีสามารถแก้ปัญหาความยากจนในชุมชน ส่วนด้านการตลาดจะนำองค์ความรู้ด้านการวางแผนการเงิน จัดทำบัญชี การจัดการราคาความสามารถในการทำกำไร การจัดการการตลาด ออกแบบตรายี่ห้อของผลิตภัณฑ์ให้เป็นเอกลักษณ์ของชุมชน การจัดการช่องทางจัดจำหน่าย เพื่อให้ชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืน

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มผลผลิตของมะม่วงพันธุ์มหาชนกด้วยเทคโนโลยีชีวภาพในการกำจัดโรคพืช

ร้อยละของปริมาณของผลผลิตของมะม่วงมหาชนกมากขึ้นและมีคุณภาพร้อยละ 5

20.00 100.00
2 เพื่อออกแบบและสร้างเทคโนโลยีในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่ตรงกับความต้องการของชุมชน

เทคโนโลยีหรือนวัตกรรมที่ใช้ในการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากมะม่วงมหาชนก อย่างน้อย 1 เทคโนโลยี/นวัตกรรม

20.00 100.00
3 เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ต้นแบบจากมะม่วงมหาชนกในการสร้างมูลค่าเพิ่มสู่เชิงพาณิชย์

จำนวนผลิตภัณฑ์ต้นแบบจากมะม่วงมหาชนกอย่างน้อย 2 ผลิตภัณฑ์

20.00 100.00
4 เพื่อวางแผนกลยุทธ์การตลาดสมัยใหม่ รวมทั้งช่องทางการจัดจำหน่ายทั้งรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์

จำนวนช่องทางการจำหน่ายอย่างน้อย 2 ช่องทาง และมีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 จากรายได้เดิม

20.00 100.00
5 เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในแก้ไขปัญหา สร้างนวัตกรรมที่มีคุณค่า และทำงานร่วมกับชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ร้อยละของความพึงพอใจที่สามารถแก้ปัญหาของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนมะม่วงมหาชนกได้มากกว่าร้อยละ 80

20.00 100.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
1. นางสาวนันทพร ญาณพิบูลย์ /สาขาเทคโนโลยีการอาหาร 1
2. นายณัฐพงศ์ แก้ววันนา / สาขาเทคโนโลยีการอาหาร 1
3. นายอิทธิ แสนแก้ว / สาขาวิศวกรรมเครื่องกล 1
4. นายโยธิน มุดนาเวท / สาขาวิศวกรรมเครื่องกล 1
5. นายนันต์ทวัช เนตร์วัน / สาขาวิศวกรรมเครื่องกล 1
6. นายภาณุพงษ์ พลเยี่ยม / สาขาวิศวกรรมเครื่องกล 1
7. นายกิติศักดิ์ พลศรี / สาขาวิศวกรรมเครื่องกล 1
8. นายปัญญา เถาว์ชาลี / สาขาวิชาการตลาด 1
9. นายวัลลภ ปรีดีย์ / สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช 1

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 ประชุมเตรียมความพร้อมของทีมนักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษา

ชื่อกิจกรรม
ประชุมเตรียมความพร้อมของทีมนักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษา
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในแก้ไขปัญหา สร้างนวัตกรรมที่มีคุณค่า และทำงานร่วมกับชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
รายละเอียดกิจกรรม
วางแผนงานเพื่อเตรียมความพร้อมในการลงสำรวจและเก็บข้อมูลในพื้นที่อย่างละเอียด
ระยะเวลาดำเนินงาน
15 มกราคม 2563 ถึง 22 กุมภาพันธ์ 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ได้แบบสอบถามของประเด็นปัญหาที่ต้องไปสอบถามเกษตรกร และแนวทางการปฏิบัติงานร่วมกันเพื่อให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
รวมค่าใช้จ่าย 0

กิจกรรมที่ 2 ลงพื้นที่เพื่อสำรวจความต้องการ

ชื่อกิจกรรม
ลงพื้นที่เพื่อสำรวจความต้องการ
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในแก้ไขปัญหา สร้างนวัตกรรมที่มีคุณค่า และทำงานร่วมกับชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
รายละเอียดกิจกรรม
สำรวจความต้องการและเก็บข้อมูลพื้นที่ พร้อมทั้งประเด็นปัญหา โดยนักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อศึกษาข้อมูลบริบทชุมชนกลุ่มวิสาหกิจชุมชนมะม่วงมหาชนก ตำบลหนองหิน อำเภอหนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธุ์ และมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
ระยะเวลาดำเนินงาน
15 มกราคม 2563 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ทราบความต้องการเชิงพื้นที่อย่างละเอียดเพื่อนำมาวิเคราะห์แนวทางแก้ปัญหาร่วมกันกับชุมชน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยนักศึกษา จำนวน 9 คน × 3 วัน × 120 บาท

9 คน 120 3 3,240
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 15 คน × 100 บาท × 1 มื้อ × 3 วัน

15 คน 100 3 4,500
ค่าที่พักตามจริง

ค่าที่พักห้องพักคู่จำนวน 7 ห้อง × 500 บาท × 3 วัน

7 คน 500 3 10,500
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์นิเทศ จำนวน 6 คน × 3 วัน × 180 บาท

6 คน 180 3 3,240
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าถ่ายเอกสารจำนวน 100 ชุด × 30 บาท

100 ชุด 30 1 3,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล จำนวน 4 คัน × 120 กิโลเมตร (ไป-กลับ) × 4 บาท

4 เที่ยว 480 1 1,920
รวมค่าใช้จ่าย 26,400

กิจกรรมที่ 3 นักศึกษาร่วมกับเกษตรกรในชุมชนร่วมวิเคราะห์ปัญหาและกำหนดทิศทางการออกแบบเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมมาใช้ในการแก้ปัญหาด้านโรคพืชในมะม่วงมหาชนก

ชื่อกิจกรรม
นักศึกษาร่วมกับเกษตรกรในชุมชนร่วมวิเคราะห์ปัญหาและกำหนดทิศทางการออกแบบเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมมาใช้ในการแก้ปัญหาด้านโรคพืชในมะม่วงมหาชนก
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อเพิ่มผลผลิตของมะม่วงพันธุ์มหาชนกด้วยเทคโนโลยีชีวภาพในการกำจัดโรคพืช
รายละเอียดกิจกรรม
ร่วมวิเคราะห์ปัญหา และกำหนดทิศทางการออกแบบเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมมาใช้ในการแก้ปัญหาด้านโรคพืชในมะม่วงมหาชนก ได้แก่ โรคแอนแทรกโนส โรคราแป้ง โรคราดำ เป็นต้น โดยการใช้ใช้ชีวภัณฑ์กำจัดแมลงศัตรูพืช เพื่อป้องกันควบคุม กำจัดโรคและแมลงศัตรูพืชต่างๆ ทดแทนการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช ซึ่งทำให้เกิดความปลอดภัยทั้งเกษตรกรผู้ใช้และผู้บริโภค
ระยะเวลาดำเนินงาน
15 มกราคม 2563 ถึง 19 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
สารชีวภัณฑ์ที่ใช้ในการควบคุมโรคพืชในมะม่วงมหาชนก
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยนักศึกษา จำนวน 1 คน × 28 วัน × 120 บาท

1 คน 120 28 3,360
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 2 คน × 100 บาท × 1 มื้อ × 28 วัน

2 คน 100 28 5,600
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์นิเทศ จำนวน 1 คน × 28 วัน × 180 บาท

1 คน 180 28 5,040
ค่าที่พักตามจริง

ค่าที่พักห้องพักคู่จำนวน 1 ห้อง × 500 บาท × 10 วัน

1 คน 500 10 5,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล จำนวน 1 คัน × 120 กิโลเมตร (ไป-กลับ) × 4 บาท × 10 เที่ยว

1 เที่ยว 480 10 4,800
รวมค่าใช้จ่าย 23,800

กิจกรรมที่ 4 นักศึกษาและกลุ่มเกษตรกรร่วมกันระดมความคิด หาแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากมะม่วงมหาชนก

ชื่อกิจกรรม
นักศึกษาและกลุ่มเกษตรกรร่วมกันระดมความคิด หาแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากมะม่วงมหาชนก
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อออกแบบและสร้างเทคโนโลยีในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่ตรงกับความต้องการของชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม
นักศึกษาและกลุ่มเกษตรกรร่วมกันระดมความคิด หาแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากมะม่วงมหาชนก โดยจะทำการออกแบบและสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ ให้ตรงตามความต้องการที่จะแปรรูปผลิตภัณฑ์
ระยะเวลาดำเนินงาน
15 มกราคม 2563 ถึง 19 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
เครื่องทำไอศกรีมแบบแท่ง
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยนักศึกษา จำนวน 5 คน × 28 วัน × 120 บาท

5 คน 120 28 16,800
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 6 คน × 100 บาท × 1 มื้อ × 28 วัน

6 คน 100 28 16,800
ค่าที่พักตามจริง

ค่าที่พักห้องพักคู่จำนวน 3 ห้อง × 500 บาท × 10 วัน

3 คน 500 10 15,000
อื่น ๆ

ค่าวัสดุ 1.แผ่นสแตนเลสเรียบ เกรด 304 หนา 3 mm กว้าง 4 ฟุต × ยาว 8 ฟุต × 10 แผ่น × 8,000 บาท 2. แผ่นแบนสแตนเลส เกรด 304 หนา 1/2 นิ้ว กว้าง 6 นิ้ว × ยาว 6 m × 5 แผ่น × 4,000 บาท 3. ฉากสแตนเลส เกรด 304 หนา 12 mm กว้าง 152.4 mm × ยาว 6 cm × 10 แผ่น × 1,500 บาท 4. ชุดทำความเย็น 5. เซ็นเซอร์ควบคุมอุณหภูมิ 1 ชุด 6. ล้อขนาด จำนวน 4 ล้อ

1 ชุด 147,340 1 147,340
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์นิเทศ จำนวน 1 คน × 28 วัน × 180 บาท

1 คน 180 28 5,040
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล จำนวน 1 คัน × 120 กิโลเมตร (ไป-กลับ) × 4 บาท × 10 เที่ยว

1 เที่ยว 480 10 4,800
รวมค่าใช้จ่าย 205,780

กิจกรรมที่ 5 การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากมะม่วงมหาชนก

ชื่อกิจกรรม
การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากมะม่วงมหาชนก
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ต้นแบบจากมะม่วงมหาชนกในการสร้างมูลค่าเพิ่มสู่เชิงพาณิชย์
รายละเอียดกิจกรรม
นักศึกษาร่วมกับกลุ่มเกษตรกรทำการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากมะม่วงมหาชนกที่ผู้บริโภคมีความชอบสูงสุด จนได้สูตรของผลิตภัณฑ์ต้นแบบเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม
ระยะเวลาดำเนินงาน
15 มกราคม 2563 ถึง 19 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลิตภัณฑ์ต้นแบบจากมะม่วงมหาชนกอย่างน้อย 2 ผลิตภัณฑ์
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยนักศึกษา จำนวน 2 คน × 28 วัน × 120 บาท

2 คน 120 28 6,720
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 5 คน × 100 บาท × 1 มื้อ × 28 วัน

5 คน 100 28 14,000
ค่าที่พักตามจริง

ค่าที่พักห้องพักคู่จำนวน 3 ห้อง × 500 บาท × 10 วัน

3 คน 500 10 15,000
อื่น ๆ

วัสดุ 1.น้ำตาลทราย 25 กิโลกรัม × 24 บาท 2. สารคาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลส 5 กิโลกรัม × 1,500 บาท 3. ตู้แช่แข็งขนาด 11.2 คิว 4. บรรจุภัณฑ์พร้อมฉลาก

1 ชุด 89,445 1 89,445
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์นิเทศ จำนวน 3 คน × 28 วัน × 180 บาท

3 คน 180 28 15,120
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล จำนวน 1 คัน × 120 กิโลเมตร (ไป-กลับ) × 4 บาท × 10 เที่ยว

1 เที่ยว 480 10 4,800
รวมค่าใช้จ่าย 145,085

กิจกรรมที่ 6 จัดทำแผนธุรกิจ และจัดหาช่องทางการจำหน่าย

ชื่อกิจกรรม
จัดทำแผนธุรกิจ และจัดหาช่องทางการจำหน่าย
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อวางแผนกลยุทธ์การตลาดสมัยใหม่ รวมทั้งช่องทางการจัดจำหน่ายทั้งรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์
รายละเอียดกิจกรรม
นักศึกษาและกลุ่มเกษตรกรร่วมกันคำนวณต้นทุน ราคาจำหน่าย ระดมความคิดเพื่อหาแบรนด์สินค้าร่วมกัน จัดทำแผนธุรกิจ จัดหาช่องทางการจำหน่ายที่เหมาะสม
ระยะเวลาดำเนินงาน
15 มกราคม 2563 ถึง 19 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
แผนธุรกิจในการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากมะม่วงมหาชนก และช่องทางในการจัดจำหน่ายอย่างน้อย 2 ช่องทาง
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยนักศึกษา จำนวน 1 คน × 28 วัน × 120 บาท

1 คน 120 28 3,360
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 2 คน × 100 บาท × 1 มื้อ × 28 วัน

2 คน 100 28 5,600
ค่าที่พักตามจริง

ค่าที่พักห้องพักคู่จำนวน 1 ห้อง × 500 บาท × 10 วัน

1 คน 500 10 5,000
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์นิเทศ จำนวน 1 คน × 28 วัน × 180 บาท

1 คน 180 28 5,040
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล จำนวน 1 คัน × 120 กิโลเมตร (ไป-กลับ) × 4 บาท × 10 เที่ยว

1 เที่ยว 480 10 4,800
รวมค่าใช้จ่าย 23,800

กิจกรรมที่ 7 ประเมินผลของโครงการ สรุปผล และถ่ายทอดเทคโนโลยี

ชื่อกิจกรรม
ประเมินผลของโครงการ สรุปผล และถ่ายทอดเทคโนโลยี
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในแก้ไขปัญหา สร้างนวัตกรรมที่มีคุณค่า และทำงานร่วมกับชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
รายละเอียดกิจกรรม
นักศึกษานำเสนอรายงานโครงงานรูปแบบ Video และ Power Point ต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อประเมินผลการดำเนินกิจกรรมโครงงาน 50 คะแนนพร้อมทั้งประเมินผลโครงการตามตัวชี้วัดปริมาณและคุณภาพ ร้อยละของความพึงพอใจในโครงการมากกว่าร้อยละ 80และรวบรวมข้อมูลผลการทดลองจากโครงงานวิจัย พร้อมถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่กลุ่มเกษตรกร
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2563 ถึง 30 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ร้อยละของความพึงพอใจของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนต่อผลสำเร็จของโครงการมากกว่าร้อยละ 80และนักศึกษาได้รับผลการเรียนโดยการเทียบโอนหน่วยกิตทดแทนการเรียนในชั้นเรียน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากรภายใน ภาคปฏิบัติ (การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพิ่มผลิตของมะม่วงพันธุ์มหาชนกและเทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑ์สู่เชิงพาณิชย์) จำนวน 6 คน × 1 วัน × 6 ชั่วโมง × ุ600 บาท

6 คน 600 6 21,600
ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม

ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมการถ่ายทอดเทคโนโลยี (การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพิ่มผลิตของมะม่วงพันธุ์มหาชนกและเทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑ์สู่เชิงพาณิชย์) จำนวน 30 คน × 1 วัน × ุ80 บาท

30 คน 80 1 2,400
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 45 คน × 100 บาท × 1 มื้อ × 1 วัน

45 คน 100 1 4,500
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยนักศึกษา จำนวน 9 คน × 1 วัน × 120 บาท

9 คน 120 1 1,080
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

จ้างเหมาบริการจัดทำป้ายไวนิลโครงการ จำนวน 1 ป้าย × 1,000 บาท

1 ชิ้น 1,000 1 1,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

มะม่วงสุก 100 กิโลกรัม น้ำตาลทราย 50 กิโลกรัม กรดซิตริก 5 กิโลกรัม เจลาตริน 5 กิโลกรัม น้ำแข็ง 5 กระสอบ เกลือเม็ด 2 กระสอบ

1 ชุด 32,885 1 32,885
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล จำนวน 4 คัน × 120 กิโลเมตร (ไป-กลับ) × 4 บาท

4 เที่ยว 480 1 1,920
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าถ่ายเอกสารจำนวน 45 ชุด × 80 บาท

45 ชุด 120 1 5,400
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากรภายใน ภาคบรรยาย (การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพิ่มผลิตของมะม่วงพันธุ์มหาชนกและเทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑ์สู่เชิงพาณิชย์) จำนวน 1 คน × 1 วัน × 2 ชั่วโมง × ุ600 บาท

1 คน 600 2 1,200
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มของผู้เข้าอบรม จำนวน 45 คน × 35 บาท × 2 มื้อ × 1 วัน

45 คน 35 2 3,150
รวมค่าใช้จ่าย 75,135

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 25,200.00 1,000.00 136,090.00 32,885.00 304,825.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 5.04% 0.20% 27.22% 6.58% 60.97% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) สารชีวภัณฑ์ที่ใช้ในการควบคุมโรคพืชในมะม่วงมหาชนก เครื่องทำไอศกรีมแบบแท่ง ผลิตภัณฑ์จากมะม่วงมหาชนกอย่างน้อย 2 ผลิตภัณฑ์ และแผนธุรกิจในการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากมะม่วงมหาชนกอย่างน้อย 2 ช่องทาง นักศึกษาสามารถเทียบโอนหน่วยกิตทดแทนการเรียนในชั้นเรียนได้
ผลลัพธ์ (Outcome) ควบคุมและกำจัดโรคพืชในมะม่วงมหาชนก เทคโนโลยีในการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากมะม่วงมหาชนก เพิ่มทางเลือกให้ผู้บริโภคนอกจากการบริโภคผลสด และสามารถจำหน่ายผลิตภัณฑ์ได้มากขึ้น กลุ่มวิสาหกิจชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ของรายได้เดิม นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการแก้ไขปัญหา และทำงานร่วมกับชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ผลกระทบ (Impact) เพิ่มผลิตผลมะม่วงมหาชนกที่มีคุณภาพมากขึ้นร้อยละ 5 จากปริมาณผลผลิตเดิม ลดต้นทุนในการใช้สารเคมีในการกำจัดโรคพืช มีผลิตภัณฑ์จากมะม่วงมหาชนกออกจำหน่ายได้ตลอดทั้งปี เพิ่มรายได้และเพิ่มมูลค่าให้กับมะม่วงมหาชนก และชุมชนมีรายได้เพิ่มมากขึ้น สร้างจิตสำนึกให้นักศึกษาทำงานร่วมกับชุมชน
นำเข้าสู่ระบบโดย apinya.bh apinya.bh เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2562 17:27 น.