โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการด้านอาหารปลอดภัยในแหล่งท่องเที่ยวพื้นที่อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการด้านอาหารปลอดภัยในแหล่งท่องเที่ยวพื้นที่อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการด้านอาหารปลอดภัยในแหล่งท่องเที่ยวพื้นที่อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติจังหวัดสกลนครสำนักงานสาธารณสุขอำเภอสหัสขันธ์ตำบลสหัสขันธ์ดร.ศรีบุษย์ ศรีไชยจรูญพง59 ม.1 ตำบลเชียงเครือ อ.เมือง จ.สกลนคร0885725772น.ส.ดอกแก้ว ไพศาล/สาชาอนามัยชุมชน

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ สหัสขันธ์ สหัสขันธ์

3. รายละเอียดชุมชน

อำเภอสหัสขันธ์แบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 8 ตำบล 85 หมู่บ้าน

1. ภูสิงห์ (Phu Sing) 9 หมู่บ้าน 5. นิคม (Nikhom) 7 หมู่บ้าน
2. สหัสขันธ์ (Sahatsakhan) 13 หมู่บ้าน 6. โนนแหลมทอง (Non Laem Thong) 12 หมู่บ้าน
3. นามะเขือ (Na Makhuea) 12 หมู่บ้าน 7. โนนบุรี (Non Buri) 11 หมู่บ้าน
4. โนนศิลา (Non Sila) 13 หมู่บ้าน 8. โนนน้ำเกลี้ยง (Non Nam Kliang) 8 หมู่บ้าน
ตำบลสหัสขันธ์ มีร้านค้าประกอบการ ทียินดีเข้าร่วมดครงการ 30 ร้านค้า
ผลการดำเนินการในปี ๒๕๕9 พบว่าตลาดสดประเภทที่ 1 แห่ง ผ่านเกณฑ์ตลาดสดน่าซื้อระดับดี และมีชมรมผู้ประกอบการตลาดสด 1 ชมรม ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารในเขตพื้นที่จำนวนทั้งหมด 21ร้าน ผ่านเกณฑ์มาตรฐานCFGT จำนวน21 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 100 มีการเฝ้าระวังความปลอดภัยจากสารปนเปื้อน ๖ ชนิด(Food Safety ) ผลการสุ่มตรวจอาหารทั้งหมดจำนวน505ตัวอย่าง ตรวจพบสารปนเปื้อน จำนวน 4ตัวอย่าง (ฟอร์มาลิน ใน หมึกสด 3 ตัวอย่างสไบนาง1 ตัวอย่าง )มีความปลอดภัย ร้อยละ 99.20จากสถานการณ์ดังกล่าวความปลอดภัยด้านอาหารยังเป็นปัญหาของพื้นที่ดังนั้น เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาด้านสารปนเปื้อนในอาหารสด และพัฒนายกระดับสถานประกอบการด้านอาหารให้ได้มาตรฐาน ร้านอาหารไทยปลอดภัย สุขภาพดี Clean Food Good Taste Plusผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 7 ข้อ1) ต้องผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารสะอาด รสชาติอร่อย 2) มีช้อนกลางสำหรับผู้บริโภค 3) มีอ่างล้างมือสำหรับผู้บริโภค 4) ส้วมในร้านอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐาน HAS (Healthy Accessibility Safety) และมีส้วมสำหรับผู้พิการที่รถเข็นสามารถเข้าถึงได้ 5) ผักสดปลอดสารพิษฆ่าแมลง 6) ผู้สัมผัสอาหารต้องผ่านการอบรมและมีบัตรประจำตัวผู้สัมผัสอาหาร และ 7) ใช้ถุงมือสัมผัสอาหารยกระดับมาตรฐานอาหารปลอดภัยในร้านประกอบการในแหล่งท่องเที่ยว

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

ให้ความรู้เรื่องอาหารปลอดภัย แก่ ร้านค้าประกอบการ เพื่อให้ได้มาตรฐาน อาหารปลอดภัย Clean food good taste

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 0.00 บาท

รวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 0.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 100.00%

11. งบประมาณ

0.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output)
ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลกระทบ (Impact)
นำเข้าสู่ระบบโดย Sribud123 Sribud123 เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2562 17:01 น.