การเพิ่มประสิทธิภาพระบบเติมอากาศในบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกรามด้วยการประยุกต์ใช้พลังงานแสงอาทิตย์

แบบเสนอโครงการ
การเพิ่มประสิทธิภาพระบบเติมอากาศในบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกรามด้วยการประยุกต์ใช้พลังงานแสงอาทิตย์

1. ชื่อโครงการ

การเพิ่มประสิทธิภาพระบบเติมอากาศในบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกรามด้วยการประยุกต์ใช้พลังงานแสงอาทิตย์มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์แผนกวิชาช่างยนต์ วิทยาลัยสารพัดช่างอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานีบ้านตูม หมู่ที่ 19 ตำบลบัวบาน อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์นายอนุวัช แสนพงษ์สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ เลขที่ 62/1 ถนนเกษตรสมบูรณ์ ตำบลกาฬสินธุ์ อำเภอเมืองกาใสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์083-32975851. นายเนรมิต ภูมิซองแมว นักศึกษา หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเครื่องกล เลขบัตรประชาชน 1469900190658
2. นายณัฐวุฒิ ยอดยศ นักศึกษา หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเครื่องกล เลขบัตรประชาชน 1460500239457
3. นายจิระพงศ์ ฉิมาภาคย์ นักศึกษา หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเครื่องกล เลขบัตรประชาชน 1411800168211
4. นายพิภพ สนสุรัตน์ นักศึกษา หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเครื่องกล เลขบัตรประชาชน 1411800175510
5. นางสาวศรัญญาวิระพันธุ์ นักศึกษา หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ เลขบัตรประชาชน 1469900400016
6. นางสาวชุติมา ศรีสวัสดิ์ นักศึกษา หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ เลขบัตรประชาชน 1461000194366
7. นายพีรพล พลแสน นักศึกษา หลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีเครื่องกล เลขบัตรประชาชน 1419901772545
8. นายคมวิทย์ จงศักดิ์สิทธิ์ นักศึกษา หลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีเครื่องกล เลขบัตรประชาชน 1469900449333
9. นายมานะ วิชางาม อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม แผนกวิชาช่างยนต์ วิทยาลัยสารพัดช่างอุบลราชธานี เลขบัตรประชาชน 3341400118206
10. นายอภิชน มุ่งชู อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม สาขาวิศวกรรมเครื่องกล เลขบัตรประชาชน 1440700002949
11. นายสิทธิศักดิ์ เริงฤทธิ์ อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม สาขาเครื่องจักรกลอุตสาหกรรมเกษตร เลขบัตรประชาชน 3369900154870
12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรสิทธิ์ พ่อค้า อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม สาขาวิศวกรรมเครื่องกล เลขบัตรประชาชน 3320901208550
13. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุกัญญา ดวงอุปมา อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ เลขบัตรประชาชน 3480200206819

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ ยางตลาด บัวบาน

3. รายละเอียดชุมชน

การเลี้ยงกุ้งก้ามกรามจะพบมากในเขตพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์จะมีจำนวน 3 อำเภอ 5 ตำบล คือ
1. อำเภอยางตลาด ในเขต ตำบลบัวบาน ตำบลนาเชือก และ ตำบลเขาพระนอน มีเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งก้ามกราม 946 ราย รวมพื้นที่เลี้ยง 4,530 บ่อ ครอบคลุมพื้นที่ 6,966.60 ไร่
2. อำเภอเมือง ในเขต ตำบลลำคลอง มีเกษตรกรเลี้ยงกุ้ง 95 ราย รวมพื้นที่เลี้ยง 509 บ่อ ครอบคลุมพื้นที่ 672.75 ไร่
3. อำเภอห้วยเม็ก ในเขต ตำบลหัวหิน มีเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งก้ามกราม 106 ราย รวมพื้นที่เลี้ยง 455 บ่อ ครอบคลุมพื้นที่ 686.50 ไร่ โดยใช้น้ำจากเขื่อนลำปาว
กาฬสินธุ์เป็นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์จังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ในปัจจุบัน (2562) จังหวัดกาฬสินธุ์ แบ่งการปกครองออกเป็น 18 อำเภอ 135 ตำบล 1,584 หมู่บ้าน เนื่องจากเป็นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์ ดินดี น้ำดี ทำให้มีผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรในจังหวัดกาฬสินธุ์มากมาย เช่น ข้าว มันสำปะหลัง อ้อย กุ้งก้ามกราม ยางพารา โรงงานผลิตแป้งมัน,แป้งข้าวโพด โรงงานน้ำตาล เป็นต้น และเป็นที่ทราบกันดีว่าจังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นแหล่งเลี้ยงกุ้งก้ามกรามที่ใหญ่ที่สุดในภาคอีสาน และส่งไปขายในจังหวัดต่างๆ รวมถึงที่ประเทศลาวด้วยจากการศึกษาพบว่าการเลี้ยงกุ้งก้ามกรามของเกษตรกรจะเลี้ยงในบ่อดินที่มีขนาดประมาณ กว้าง 40 เมตร ยาว 110 เมตร และลึก 1.30 เมตร ซึ่งมีอัตราการเลี้ยงที่ 10,000 ตัวต่อบ่อ ใช้ระยะเวลาการเลี้ยงกุ้งก้ามกราม 5 เดือนก็สามารถจับขายได้ แต่ปัญหาสำคัญที่ผู้เลี้ยงกุ้งก้ามกรามพบคือ กุ้งก้ามกรามตายจากปัญหาการน็อกและน้ำเสีย อันมีสาเหตุมาจากระดับออกซิเจนต่ำกว่าค่าที่กุ้งก้ามกรามจะดำรงชีวิตอยู่ได้ ส่งผลทำให้กุ้งก้ามกรามตาย เป็นเหตุให้รายได้จากการเลี้ยงกุ้งก้ามกรามไม่เป็นไปตามที่คาดหวัง ประสบปัญหาขาดทุน ต้องไปกู้หนี้ยืมสินจากสถาบันการเงินทั้งในระบบและนอกระบบมาลงทุนต่อ
จากปัญหาการน็อกของกุ้งก้ามกรามในบ่อดินที่เกษตรกรเลี้ยงอันมีสาเหตุมาจากระดับออกซิเจนต่ำ เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งก้ามกรามจึงแก้ปัญหาด้วยการใช้เครื่องตีน้ำแบบใช้ปั๊มลมเพื่อเพิ่มปริมาณออกซิเจนในน้ำ ซึ่งสามารถแก้ปัญหาได้ในระดับหนึ่ง แต่จากการใช้ปั๊มลมในการเติมอากาศส่งผลให้มีความสิ้นเปลืองค่าไฟฟ้าตามมา ส่งผลให้มีรายจ่ายในครัวเรือนเพิ่มขึ้น
เพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการอาสาประชารัฐ สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กลุ่มภารกิจด้านการอุดมศึกษา) ประจำปีงบประมาณ 2563 โครงการนี้จึงมุ่งเน้นที่จะเพิ่มประสิทธิภาพการเลี้ยงกุ้งก้ามกรามที่มีขั้นตอนและกระบวนการเดิมๆ ของเกษตรกรให้ดีขึ้น โดยนำเอาองค์ความรู้และเทคโนโลยีทางด้านสมาร์ทฟาร์ม สมาร์ทเทคโนโลยี เข้ามาช่วยยกระดับการเลี้ยงกุ้งก้ามกราม ในพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์ ซึ่งโครงการวิจัยนี้จะศึกษาเชิงทดลองและสร้างนวัตกรรมต้นแบบให้กับชุมชน ด้วยการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบเติมอากาศในบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกรามด้วยการประยุกต์ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ ยังพื้นที่ฟาร์มกุ้งก้ามกราม ตำบลบัวบาน อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ เพื่อช่วยในการแก้ปัญหากุ้งก้ามกรามน็อกและน้ำเสีย อันเนื่องมาจากระดับออกซิเจนละลายในน้ำต่ำ ส่งผลทำให้กุ้งตาย ยังช่วยลดรายจ่ายจากการใช้พลังงานไฟฟ้าจากการใช้ปั๊มลมเติมอากาศ ส่งผลให้มีเกษตรมีรายได้ในครัวเรือนเพิ่มขึ้น

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

1. สมาร์ทฟาร์มเมอร์
“สมาร์ทฟาร์มเมอร์” เป็นวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์ที่ 1 จาก 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาการเกษตร ซึ่งสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 แนวคิดนี้เน้นการพัฒนาเกษตรกรให้มีความสามารถในการพึ่งพาตนเองได้ มีภูมิคุ้มกันพร้อมรับความเสี่ยงในมิติของการผลิตและการตลาด รวมทั้งมีความสามารถในการผลิตและการตลาดในระดับที่พร้อมก้าวสู่การเป็นผู้จัดการฟาร์มมืออาชีพที่ทำการเกษตรได้จนประสบความสำเร็จ
2. พลังงานแสงอาทิตย์
พลังงานแสงอาทิตย์ เป็นพลังงานทดแทนประเภทหมุนเวียนที่ใช้แล้วเกิดขึ้นใหม่ได้ตามธรรมชาติ เป็นพลังงานที่สะอาด ปราศจากมลพิษ และเป็นพลังงานที่มีศักยภาพสูง ในการใช้พลังงานแสงอาทิตย์สามารถแยกออกเป็น 3 รูปแบบคือ การใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า การใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อผลิตความร้อน และการใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อผลิตความเย็น สำหรับในประเทศไทยแล้วเทคโนโลยีการใช้พลังงานแสงอาทิตย์ ได้นิยมนำมาใช้อย่างแพร่หลายเนื่องจากมีความคุ้มค่าในสภาวะปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นการนำเอามาเพื่อประยุกต์ใช้เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า และความร้อนในรูปแบบของการผลิตน้ำร้อนและการอบแห้งก็ตาม
เกษตรกรรมผู้เลี้ยงกุ้งก้ามกราม ในจังหวัดกาฬสินธุ์ยังประสบปัญหาหลายด้าน โดยเฉพาะในมิติของผลิตภาพ (Productivity) ยังอยู่ในเกณฑ์ที่ไม่สูงและรายได้เกษตรกรมีอัตราเฉลี่ยต่ำ เนื่องจากเกษตรกรไม่มีความรู้เพียงพอ ขาดข้อมูล เชิงลึกด้านการตลาดสำหรับวางแผนการผลิต รวมทั้งความรู้ในการผลิตสินค้าเกษตรคุณภาพสูงที่มีความปลอดภัยต่อผู้บริโภคและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม รวมถึงการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่สะอาดเข้ามาช่วยขับเคลื่อนวิถีชีวิตสำหรับดำเนินการในกระบวนการผลิต ประเด็นปัญหาดังกล่าวสะท้อนว่าอาชีพเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งก้ามกรามยังขาดการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยเฉพาะการสร้างความเข้มแข็งให้สามารถพึ่งตนเองได้ในระยะยาว ซึ่งจะทำให้ภาครัฐไม่จำเป็นต้องกำหนดนโยบายเพื่อแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าและโอบอุ้มเกษตรกร แนวคิด “สมาร์ทฟาร์มเมอร์” จึงเป็นกลไกสำคัญสำหรับการพัฒนาและคาดว่าอาจสามารถพลิกโฉมการเกษตรไทยในอนาคต
3. ขั้นการศึกษาโครงการวิจัยและเก็บข้อมูลพื้นฐานภูมิหลัง
งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเชิงทดลองและสร้างนวัตกรรมต้นแบบให้กับชุมชนโดยจะดำเนินการศึกษาทำสำรวจข้อมูลพื้นฐานบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกรามที่เป็นบ่อดิน ซึ่งจะเป็นลักษณะการเลี้ยงกุ้งก้ามกรามแบบดั้งเดิมของเกษตรกร ซึ่งมีที่ตั้งอยู่ที่บริเวณ บ้านตูม หมู่ที่ 19 ตำบลบัวบาน อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ โดยข้อมูลที่เกี่ยวข้องในการสอบถามจะประกอบไปด้วยข้อมูล ลักษณะการเลี้ยงกุ้งก้ามกรามของเกษตรกรแบบดั้งเดิม จำนวนความหนาแน่นของประชากรกุ้งก้ามกรามต่อบ่อ ที่มีขนาดบ่อ กว้าง 40 เมตร ยาว 110 เมตรและระดับความลึกของน้ำ 1.30 เมตร ประเภทของบ่อเลี้ยง ระยะเวลาการเลี้ยงกุ้งก้ามกรามจนกระทั้งจับกุ้งขาวให้กับผู้รับซื้อ สภาพแวดล้อมทั่วไปและการบริหารจัดการภายในฟาร์มของเกษตรกร เพื่อใช้กำหนดและการวางแผนสำหรับศึกษาดำเนินการทดลอง พร้อมกำหนดจุดสำหรับตรวจสอบปริมาณออกซิเจนละลายในน้ำและค่า PH ซึ่งจะเริ่มเก็บข้อมูลตั้งแต่เริ่มนำกุ้งก้ามกรามที่เป็นกุ้งอนุบาลอายุประมาณ 1 เดือนลงบ่อเลี้ยง โดยจะทำการบันทึกค่าน้ำหนักเฉลี่ยของกุ้งก้ามกรามอนุบาลอายุ 1 เดือน ก่อนปล่อยลงบ่อที่จัดเตรียมไว้ทั้ง 2 บ่อ ที่เป็นลักษณะบ่อแบบดั้งเดิมและบ่อแบบติดตั้งระบบควบคุม
4. ขอบเขตของโครงการ
4.1 ตัวแปรต้น
4.1.1 รูปแบบการเติมอากาศในบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกราม
4.1.1.1 บ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกรามแบบควบคุม
4.1.1.2 บ่อเลี้ยงกุ้งแบบดั้งเดิม
4.2 ตัวแปรตาม
3.2.1 ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ
3.2.2 น้ำหนักเฉลี่ยกุ้งก้ามกรามเฉลี่ยตัวต่อกิโลกรัม
3.2.3 ปริมาณค่า PH ในน้ำ
4.3 ตัวแปรควบคุม
4.3.1 บ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกรามขนาด กว้าง 40 เมตร x ยาว 110 เมตร ลึก 1.30 เมตร (ระดับน้ำ)
4.3.2 อัตราความหนาแน่นของกุ้งก้ามกราม 10,000 ตัวต่อบ่อ
4.3.3 ปริมาณอาหารกุ้ง
4.3.4 พื้นที่บ่อเลี้ยงกุ้ง ตำบลบัวบาน อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์
4. ขั้นการเก็บตัวอย่างและบันทึกข้อมูล
สำหรับการเก็บตัวอย่างและบันทึกข้อมูล ตามวัตถุประสงค์ของการศึกษาเชิงทดลองและสร้างนวัตกรรมต้นแบบให้กับชุมชน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบเติมอากาศในบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกรามด้วยการประยุกต์ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ เพื่อความน่าเชื่อถือของข้อมูล ผู้วิจัยจึงได้ทำการศึกษาเปรียบเทียบพารามิเตอร์ต่างๆ ของบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกรามแบบดั้งเดิมและบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกรามแบบควบคุมที่ติดกัน ภายใต้สภาพแวดล้อมเดียวกัน จำนวนความหนาแน่นของประชากรกุ้งก้ามกรามเท่ากัน คือ 10,000 ตัวต่อบ่อ โดยให้อาหารปริมาณเวลาเดียวกัน และให้อาหารในปริมาณที่เท่ากัน เป็นต้น จากนั้นจึงทำการเก็บข้อมูลค่าปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำและค่า PH ด้วยเครื่องมือวัดที่สามารถบันทึกข้อมูลได้ แบบ Real time ตลอด 24 ชั่วโมง และทำการชั่งน้ำหนักเฉลี่ยกุ้งก้ามกรามเฉลี่ยตัวต่อกรัม ทุกสัปดาห์
5. สำหรับการเก็บข้อมูลเปรียบเทียบผลจะแบ่งช่วงของการเก็บข้อมูลของบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกราม ออกเป็น 3 ระยะ คือเดือนที่ 1-3 หลังจากการติดตั้งระบบควบคุมการเติมอากาศแล้ว โดยอายุกุ้งก้ามกรามในบ่อจะไม่น้อยกว่า 2 เดือน
5.1 ช่วงระยะการบันทึกข้อมูลบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกรามเดือนที่ 1
5.2 ช่วงระยะการบันทึกข้อมูลบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกรามเดือนที่ 2
5.3 ช่วงระยะการบันทึกข้อมูลบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกรามเดือนที่ 3
6. พารามิเตอร์ต่างๆ จะทำการบันทึกผลการทดลองจำนวน 3 ซ้ำ มีดังต่อไปนี้
6.1 ปริมาณออกซิเจนละลายในน้ำ (มิลลิกรัมต่อลิตร) บันทึกค่าทุกสัปดาห์
6.2 ค่า PH ในน้ำ บันทึกผลทุกสัปดาห์
6.4 อุณหภูมิของน้ำในบ่อ บันทึกผลทุกสัปดาห์
6.4 น้ำหนักกุ้งก้ามกรามเฉลี่ย (กรัม) บันทึกผลทุกสัปดาห์
6.5 จำนวนกุ้งที่ตาย (ตัว) บันทึกผลทุกสัปดาห์
สำหรับระบบเติมอากาศในบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกรามจะใช้การควบคุมด้วยระบบอัตโนมัติ โดยกรณีที่ระดับออกซิเจนในบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกรามต่ำกว่าที่ค่ากำหนด ชุดเซนเซอร์จะส่งสัญญาณให้ระบบปั๊มน้ำทำงาน ซึ่งทำการเติมอากาศบริเวณบนผิวน้ำ โดยจะพ่นน้ำเป็นฝอยเข้าบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกรามเพื่อทำการเพิ่มปริมาณออกซิเจนในบ่อเลี้ยงก้ามกราม ส่วนระบบเติมอากาศอีกหนึ่งจะทำการเติมอากาศใต้ผิวน้ำด้วยระบบ Venturi การใช้พลังงานของปั๊มน้ำสำหรับการเติมอากาศทั้งผิวน้ำและใต้น้ำ ให้กับบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกราม จะใช้พลังงานจากแบตเตอรี่ที่ถูกสะสมพลังงาน มาจากพลังงานแผงแสงอาทิตย์ ส่วนปริมาณของออกซิเจนที่ละลายในน้ำและค่า PH ทั้งสองบ่อ ทั้งที่เป็นบ่อที่มีการเลี้ยงกุ้งกรามกรามแบบดั้งเดิมและแบบควบคุม จะถูกบันทึกข้อมูลแบบ Real time

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพระบบเติมอากาศในบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกรามด้วยการประยุกต์ใช้พลังงาน

ได้ระบบการเติมอากาศในบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกรามด้วยการประยุกต์ใช้พลังงานที่มีประสิทธิภาพ

1.00 1.00
2 เพื่อแก้ไขปัญหาการตายของกุ้งก้ามกรามที่เกิดจากการน็อก

สามารถลดปัญหาการตายของกุ้งก้ามกรามที่เกิดจากการน็อกได้

100.00 80.00
3 เพื่อลดต้นทุนในการเลี้ยงกุ้งก้ามกราม จากการใช้พลังงานไฟฟ้าจากครัวเรือน

สามารถลดต้นทุนในการเลี้ยงกุ้งก้ามกราม จากการใช้พลังงานไฟฟ้าจากครัวเรือน

100.00 80.00
4 เพื่อเป็นฟาร์มต้นแบบในการใช้ระบบเติมอากาศในบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกราม ด้วยการประยุกต์ใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ ในพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์

ได้ฟาร์มต้นแบบในการใช้ระบบเติมอากาศในบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกราม ด้วยการประยุกต์ใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์

1.00 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
1. เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งก้ามกราม 30
2. นักศึกษาในโครงการ 8

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 ศึกษาและเก็บข้อมูล

ชื่อกิจกรรม
ศึกษาและเก็บข้อมูล
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพระบบเติมอากาศในบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกรามด้วยการประยุกต์ใช้พลังงาน
  2. เพื่อแก้ไขปัญหาการตายของกุ้งก้ามกรามที่เกิดจากการน็อก
  3. เพื่อลดต้นทุนในการเลี้ยงกุ้งก้ามกราม จากการใช้พลังงานไฟฟ้าจากครัวเรือน
  4. เพื่อเป็นฟาร์มต้นแบบในการใช้ระบบเติมอากาศในบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกราม ด้วยการประยุกต์ใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ ในพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์
รายละเอียดกิจกรรม
1. การสำรวจข้อมูลพื้นฐานพื้นที่บ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกรามที่เป็นบ่อดินซึ่งจะเป็นลักษณะการเลี้ยงแบบดั้งเดิมของเกษตรกร ประกอบไปด้วยข้อมูล
1.1 ลักษณะของการจัดแบ่งพื้นที่ ลักษณะการเลี้ยง
1.2 ขนาดของบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกราม และจำนวนความหนาแน่นของประชากรกุ้งต่อบ่อ
1.3 ลักษณะประเภทของบ่อเลี้ยง
1.4 ระยะเวลาการเลี้ยงกุ้งก้ามกรามจนกระทั้งจับกุ้งขาวให้กับผู้รับซื้อ
1.5 สภาพแวดล้อมทั่วไปและการบริหารจัดการภายในฟาร์มของเกษตรกร
1.6 อัตราการตายของกุ้งก้ามกรามในบ่อเลี้ยงแบบดั้งเดิมของแต่ระช่วง
1.7 ปริมาณการให้อาหารกุ้งในแต่ละช่วงอายุตลอดการเลี้ยง
2. ศึกษาข้อมูลด้านคุณสมบัติและพารามิเตอร์ต่างๆ ของน้ำที่เหมาะสมกับการเลี้ยงกุ้งก้ามกราม
2.1 คุณสมบัติปริมาณค่าออกซิเจนที่ละลายในน้ำ
2.2 คุณสมบัติค่า PH ที่เหมาะสมกับการเลี้ยงกุ้งก้ามกรามในบ่อดิน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 15 มกราคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ได้ข้อมูลพื้นฐาน ขั้นตอนและกระบวนการเลี้ยงกุ้งก้ามกรามในบ่อเลี้ยงกุ้งแบบดั้งเดิม
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
ชุมชนบ้านตูม หมู่ที่ 19 ตำบลบัวบาน อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ปฏิบัติงานล่วงเวลานักวิจัย (4 วัน x วันละ 500 บาท x 3 คน)

3 คน 500 4 6,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ปฏิบัติงานล่วงเวลานักศึกษา (3 วัน x วันละ 120 บาท x 8 คน)

8 คน 120 4 3,840
ค่าอาหาร

อาหารกลาง (12 คนๆ ละ 60 บาท × 4 ครั้ง)

12 คน 60 4 2,880
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าเดินทางไป-กลับ (4 บาท × 45 กิโลเมตร x 4 ครั้ง)

1 ครั้ง 180 4 720
รวมค่าใช้จ่าย 13,440

กิจกรรมที่ 2 จัดเตรียมพื้นที่โครงการ

ชื่อกิจกรรม
จัดเตรียมพื้นที่โครงการ
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพระบบเติมอากาศในบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกรามด้วยการประยุกต์ใช้พลังงาน
  2. เพื่อแก้ไขปัญหาการตายของกุ้งก้ามกรามที่เกิดจากการน็อก
  3. เพื่อลดต้นทุนในการเลี้ยงกุ้งก้ามกราม จากการใช้พลังงานไฟฟ้าจากครัวเรือน
  4. เพื่อเป็นฟาร์มต้นแบบในการใช้ระบบเติมอากาศในบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกราม ด้วยการประยุกต์ใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ ในพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์
รายละเอียดกิจกรรม
1. เตรียมบ่อเลี้ยงกุ้งที่มีขนาด 40 เมตร ยาว 110 เมตร ระดับความลึกของระดับน้ำ 1.30 เมตร จำนวน 2 บ่อ
2. ทำความสะอาดบ่อ กำจัดวัชพืชออกให้หมด
ระยะเวลาดำเนินงาน
16 มกราคม 2563 ถึง 20 มกราคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
บ่อเลี้ยงกุ้งที่มีขนาด 40 เมตร ยาว 110 เมตร ระดับความลึกของระดับน้ำ 1.30 เมตร
1. ได้บ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกรามแบบดั้งเดิมสำหรับเก็บข้อมูล จำนวน 1 บ่อ
2. ได้บ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกรามสำหรับจะทำเป็นบ่อที่ติดตั้งระบบควบคุม ระบบเติมอากาศ จำนวน 1 บ่อ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
ชุมชนบ้านตูม หมู่ที่ 19 ตำบลบัวบาน อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ปฏิบัติงานล่วงเวลานักวิจัย (3 วัน x วันละ 500 บาท x 4 คน)

4 คน 500 3 6,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ปฏิบัติงานล่วงเวลานักศึกษา (3 วัน x วันละ 120 บาท x 8 คน)

8 คน 120 3 2,880
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าเดินทาง (4 บาท× 45 กิโลเมตร x 3 ครั้ง)

1 ครั้ง 180 3 540
ค่าอาหาร

อาหารกลาง (12 คนๆ ละ 60 บาท × 3 ครั้ง)

12 คน 60 3 2,160
รวมค่าใช้จ่าย 11,580

กิจกรรมที่ 3 การออกแบบและสร้างระบบเติมอากาศ

ชื่อกิจกรรม
การออกแบบและสร้างระบบเติมอากาศ
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพระบบเติมอากาศในบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกรามด้วยการประยุกต์ใช้พลังงาน
  2. เพื่อแก้ไขปัญหาการตายของกุ้งก้ามกรามที่เกิดจากการน็อก
  3. เพื่อลดต้นทุนในการเลี้ยงกุ้งก้ามกราม จากการใช้พลังงานไฟฟ้าจากครัวเรือน
  4. เพื่อเป็นฟาร์มต้นแบบในการใช้ระบบเติมอากาศในบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกราม ด้วยการประยุกต์ใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ ในพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์
รายละเอียดกิจกรรม
1. ออกแบบระบบเติมอากาศด้วยการประยุกต์ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ ให้เหมาะสมกับพื้นที่
2. จัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์ ตามที่ได้วางแผนและออกแบบระบบเติมอากาศไว้
3. สร้างระบบเติมอากาศ ด้วยการประยุกต์ใช้พลังงานแสงอาทิตย์
4. ติดตั้งระบบเติมอากาศ ด้วยการประยุกต์ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ ที่พื้นที่บ่อเลี้ยงกุ้งกร้ามกรามแบบควบคุม บ้านตูม หมู่ที่ 19 ตำบลบัวบาน อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 31 มกราคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ได้ระบบเติมอากาศให้กับบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกราม ด้วยการประยุกต์ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ ที่เหมาะสมกับพื้นที่
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
ชุมชนบ้านตูม หมู่ที่ 19 ตำบลบัวบาน อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ปฏิบัติงานล่วงเวลานักวิจัย (10 วัน x วันละ 500 บาท x 4 คน)

4 คน 500 10 20,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ปฏิบัติงานล่วงเวลานักศึกษา (10 วัน x วันละ 120 บาท x 6 คน)

8 คน 120 10 9,600
ค่าอาหาร

อาหารกลาง (12 คนๆ ละ 60 บาท × 10 ครั้ง)

12 คน 60 10 7,200
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าเดินทาง (4 บาท× 45 กิโลเมตร x 10 ครั้ง)

1 ครั้ง 180 10 1,800
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ชุดควบคุมและบันทึกผลข้อมูล (2 ชุด × 12,500 บาท)

2 ชุด 12,500 1 25,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

Wiring ระบบสายสัญญาณ (1 ชุด × 5,000 บาท)

1 ชุด 5,000 1 5,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

แผงโซล่าเซลล์ ขนาด 300 วัตต์ (16 แผ่น× 6,000 บาท)

16 ชุด 6,000 1 96,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ปั๊มน้ำ DC ขนาด 2 แรงม้า (2 ชุด× 12,000 บาท)

2 ชุด 12,000 1 24,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

Solar Controller Regulator Charge 30 แอมป์(2 ชุด × 3,500 บาท)

2 ชุด 3,500 1 7,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

แบตเตอรี่โซล่าเซลล์ ขนาด 135 แอมป์ (12 ลูก × 6,000 บาท)

12 ชุด 6,000 1 72,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ขั้วแบตเตอรี่ทองเหลืองบรรจุ 10 คู่ต่อกล่อง (1 กล่อง × 1,500 บาท)

1 ชุด 1,500 1 1,500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

สายไฟแบตเตอรี่ขนาด 50 ตารางมิลลิเมตร บรรจุ 20 เมตรต่อม้วน (2 ม้วน x 2,500บาท)

2 ชุด 2,500 1 5,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

เหล็กฉากขนาด 2 นิ้ว หนา 3 มิลลิเมตร (5 เส้น × 350 บาท)

5 ชิ้น 350 1 1,750
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

เหล็กฉากขนาด 1.5 นิ้ว หนา 3 มิลลิเมตร (3 เส้น × 250 บาท)

3 ชิ้น 250 1 750
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

เหล็กกล่องขนาด 3x3 นิ้ว หนา 3 มิลลิเมตร (2 อัน × 500 บาท)

2 ชิ้น 500 1 1,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

เหล็กกล่องขนาด 1x2 นิ้ว หนา 2 มิลลิเมตร (3 อัน × 250 บาท)

3 ชิ้น 200 1 600
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ลวดเชื่อมไฟฟ้า ขนาด 2.6 มิลลิเมตร (3 กล่อง × 250 บาท)

3 ชุด 250 1 750
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

หัวน้ำพุ ขนาด 1.5 นิ้ว (8 อัน × 1,500 บาท)

8 ชิ้น 1,500 1 12,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ท่อพีวีซี ขนาด 2 นิ้ว (40 เส้น × 105 บาท)

40 ชิ้น 105 1 4,200
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ข้อต่อพีวีซีตรงขนาด 1.5 นิ้ว (20 ชิ้น × 20 บาท)

20 ชิ้น 20 1 400
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ข้อต่อพีวีซีสามทางขนาด 1.5 นิ้ว (20 อัน × 35 บาท)

20 ชิ้น 35 1 700
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ข้อต่อพีวีซีงอ 90 องศาขนาด 1.5 นิ้ว (20 อัน × 25 บาท)

20 ชิ้น 25 1 500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

สายไฟฟ้า VCT ขนาด 2 x 2.5 มิลลิเมตร ยาว 100 เมตรต่อม้วน (1 ม้วน×2,500 บาท)

1 ชุด 2,500 1 2,500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

สายไฟฟ้า VCT ขนาด 2 x 1.5 มิลลิเมตร (1 ม้วน × 1,700 บาท)

1 ชุด 1,700 1 1,700
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

สายไฟ VSF ขนาด 1x1.5 มิลลิเมตร ยาว 50 เมตรต่อม้วน (1 ม้วน × 500 บาท)

1 ชุด 500 1 500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

เบรกเกอร์ DC 32 แอมป์ (2 ตัว × 500 บาท)

2 ชิ้น 500 1 1,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

Ph sensor industrial grade RS485 (2 ชุด × 5,000 บาท)

2 ชุด 5,000 1 10,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

Oxygen Sensor Meter (2 ชุด × 12,000 บาท)

2 ชุด 12,000 1 24,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

เทอร์โมคัปเปิ้ล ย่านการวัด -50 ถึง 1200°C (2 ชุด × 2,000 บาท)

2 ชุด 2,000 1 4,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

เหล็กแบนขนาด 2 นิ้ว หนา 2.5 มิลลิเมตร (4 เส้น × 400 บาท)

4 ชิ้น 400 1 1,600
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

น้ำยาประสานท่อขนาด 500 กรัมต่อกระป๋อง (1 กระป๋อง x 500 บาท)

1 ชิ้น 500 1 500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

สายดูดน้ำอ่อน ขนาด 2 นิ้ว ยาว 10 เมตร (2 เส้น x 2500 บาท)

2 ชิ้น 2,500 1 5,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ข้อต่อตรงพีวีซีเกลียวในทองเหลือง ขนาด 1.5 นิ้ว (10 อัน × 150 บาท)

10 ชิ้น 150 1 1,500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ปลั๊กพ่วงขนาด 2x2.5 มิลลิเมตร ยาว 20 เมตร (2 ชุด x 2,500 บาท )

1 ชุด 2,500 1 2,500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ท่อเวนจูรี่ขนาด 2 นิ้ว (8 อัน x 350 บาท)

8 ชิ้น 350 1 2,800
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ชุด Off Grid hybrid inverter ขนาด 5,000 วัตต์ (1 ชุด x 22,285 บาท)

1 ชุด 22,285 1 22,285
ค่าตอบแทนวิทยากร

Surge protection DC ขนาด 40 KA 1000 โวลล์ 2P (2 ชุด X 850 บาท)

2 ชุด 850 1 1,700
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

บอลวาล์วสีฟ้าขนาด 2 นิ้ว( 10 ชิ้น x 250 บาท)

10 ชิ้น 250 1 2,500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ข้อต่อเกลียวนอก ขนาด 2 นิ้ว (15 ชิ้นx25 บาท)

15 ชิ้น 20 1 300
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ข้อต่อสามทาง Y 45 ขนาด 2 นิ้ว (10 ชิ้น x 50 บาท)

10 ชิ้น 50 1 500
ค่าตอบแทนวิทยากร

ข้อต่อสามทาง 90 ฟ้า ขนาด 2 นิ้ว (15 ชิ้น X 55 บาท )

5 ชิ้น 55 1 275
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

สายไฟ VSF 1X6 มิลลิเมตร 50 เมตรต่อม้วน (1 ม้วน x 3,000 บาท)

1 ชิ้น 3,000 1 3,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

สายไฟ VSF 1X4 มิลลิเมตร 50 เมตรต่อม้วน (1 ม้วนX 1750 บาท)

1 ชุด 1,750 1 1,750
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

เบรกเกอร์ AC ขนาด 32 แอมป์ (1 ตัว × 1,500 บาท)

1 ชิ้น 1,500 1 1,500
รวมค่าใช้จ่าย 388,160

กิจกรรมที่ 4 ดำเนินงานเก็บข้อมูลตามสมมุติฐาน บ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกราม เดือนที่ 1

ชื่อกิจกรรม
ดำเนินงานเก็บข้อมูลตามสมมุติฐาน บ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกราม เดือนที่ 1
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพระบบเติมอากาศในบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกรามด้วยการประยุกต์ใช้พลังงาน
  2. เพื่อแก้ไขปัญหาการตายของกุ้งก้ามกรามที่เกิดจากการน็อก
  3. เพื่อลดต้นทุนในการเลี้ยงกุ้งก้ามกราม จากการใช้พลังงานไฟฟ้าจากครัวเรือน
  4. เพื่อเป็นฟาร์มต้นแบบในการใช้ระบบเติมอากาศในบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกราม ด้วยการประยุกต์ใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ ในพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์
รายละเอียดกิจกรรม
บันทึกข้อมูลตามพารามิเตอร์ต่างๆ ดังต่อไปนี้
1. ปริมาณออกซิเจนละลายในน้ำ (มิลลิกรัมต่อลิตร)
2. ค่า PH ในน้ำ
3. น้ำหนักกุ้งก้ามกรามเฉลี่ย (กรัม)
4. จำนวนกุ้งที่ตายจากการน๊อก (ตัว)
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ได้บ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกรามเพื่อใช้สำหรับดำเนินการศึกษา ดังต่อไปนี้
1. บ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกรามแบบดั้งเดิม ที่มีจำนวนความหนาแน่นของประชากรกุ้ง 10,000 ตัวต่อบ่อ
2. บ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกรามแบบควบคุมที่ติดตั้งระบบเติมอากาศอัตโนมัติ โดยการประยุกต์ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ ที่มีจำนวนความหนาแน่นของประชากรกุ้ง 10,000 ตัวต่อบ่อ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
ชุมชนบ้านตูม หมู่ที่ 19 ตำบลบัวบาน อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ปฏิบัติงานล่วงเวลานักวิจัย (6 วัน x วันละ 500 บาท x 4 คน)

4 คน 500 6 12,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ปฏิบัติงานล่วงเวลานักศึกษา (6 วัน x วันละ 120 บาท x 8 คน)

8 คน 120 6 5,760
ค่าอาหาร

อาหารกลางวัน (12 คนๆ ละ 60 บาท × 6 ครั้ง)

12 คน 60 6 4,320
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าเดินทาง (4 บาท× 45 กิโลเมตร x 6 ครั้ง)

1 ครั้ง 180 6 1,080
รวมค่าใช้จ่าย 23,160

กิจกรรมที่ 5 ดำเนินงานเก็บข้อมูลตามสมมุติฐาน บ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกราม เดือนที่ 2

ชื่อกิจกรรม
ดำเนินงานเก็บข้อมูลตามสมมุติฐาน บ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกราม เดือนที่ 2
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพระบบเติมอากาศในบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกรามด้วยการประยุกต์ใช้พลังงาน
  2. เพื่อแก้ไขปัญหาการตายของกุ้งก้ามกรามที่เกิดจากการน็อก
  3. เพื่อลดต้นทุนในการเลี้ยงกุ้งก้ามกราม จากการใช้พลังงานไฟฟ้าจากครัวเรือน
  4. เพื่อเป็นฟาร์มต้นแบบในการใช้ระบบเติมอากาศในบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกราม ด้วยการประยุกต์ใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ ในพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์
รายละเอียดกิจกรรม
บันทึกข้อมูลตามพารามิเตอร์ต่างๆ ดังต่อไปนี้
1. ปริมาณออกซิเจนละลายในน้ำ (มิลลิกรัมต่อลิตร)
2. ค่า PH ในน้ำ
3. น้ำหนักกุ้งก้ามกรามเฉลี่ย (กรัม)
4. จำนวนกุ้งที่ตายจากการน๊อก (ตัว)
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ได้ข้อมูลตามพารามิเตอร์ต่างๆ ในบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกราม เดือนที่ 2
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
ชุมชนบ้านตูม หมู่ที่ 19 ตำบลบัวบาน อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ปฏิบัติงานล่วงเวลานักวิจัย (6 วัน x วันละ 500 บาท x 4 คน)

4 คน 500 6 12,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ปฏิบัติงานล่วงเวลานักศึกษา (6 วัน x วันละ 120 บาท x 8 คน)

8 คน 120 6 5,760
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าเดินทาง (4 บาท× 45 กิโลเมตร x 6 ครั้ง)

1 ครั้ง 180 6 1,080
ค่าอาหาร

อาหารกลางวัน (12 คนๆ ละ 60 บาท × 6 ครั้ง)

12 คน 60 6 4,320
รวมค่าใช้จ่าย 23,160

กิจกรรมที่ 6 ดำเนินงานเก็บข้อมูลตามสมมุติฐาน บ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกราม เดือนที่ 3

ชื่อกิจกรรม
ดำเนินงานเก็บข้อมูลตามสมมุติฐาน บ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกราม เดือนที่ 3
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพระบบเติมอากาศในบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกรามด้วยการประยุกต์ใช้พลังงาน
  2. เพื่อแก้ไขปัญหาการตายของกุ้งก้ามกรามที่เกิดจากการน็อก
  3. เพื่อลดต้นทุนในการเลี้ยงกุ้งก้ามกราม จากการใช้พลังงานไฟฟ้าจากครัวเรือน
  4. เพื่อเป็นฟาร์มต้นแบบในการใช้ระบบเติมอากาศในบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกราม ด้วยการประยุกต์ใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ ในพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์
รายละเอียดกิจกรรม
บันทึกข้อมูลตามพารามิเตอร์ต่างๆ ดังต่อไปนี้
1 ปริมาณออกซิเจนละลายในน้ำ (มิลลิกรัมต่อลิตร)
2 ค่า PH ในน้ำ
3 น้ำหนักกุ้งก้ามกรามเฉลี่ย (กรัม)
4 จำนวนกุ้งที่ตายจากการน๊อก (ตัว)
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2563 ถึง 30 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ได้ข้อมูลตามพารามิเตอร์ต่างๆ ในบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกราม เดือนที่ 3
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ปฏิบัติงานล่วงเวลานักวิจัย (6 วัน x วันละ 500 บาท x 4 คน)

4 คน 500 6 12,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ปฏิบัติงานล่วงเวลานักศึกษา (6 วัน x วันละ 120 บาท x 8 คน)

8 คน 120 6 5,760
ค่าอาหาร

อาหารกลางวัน (12 คนๆ ละ 60 บาท × 6 ครั้ง)

12 คน 60 6 4,320
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าเดินทาง (4 บาท× 45 กิโลเมตร x 6 ครั้ง)

1 ครั้ง 180 6 1,080
รวมค่าใช้จ่าย 23,160

กิจกรรมที่ 7 ถ่ายทอดเทคโนโลยีระบบเติมอากาศในบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกราม ด้วยการประยุกต์ใช้พลังงานแสงอาทิตย์

ชื่อกิจกรรม
ถ่ายทอดเทคโนโลยีระบบเติมอากาศในบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกราม ด้วยการประยุกต์ใช้พลังงานแสงอาทิตย์
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพระบบเติมอากาศในบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกรามด้วยการประยุกต์ใช้พลังงาน
  2. เพื่อแก้ไขปัญหาการตายของกุ้งก้ามกรามที่เกิดจากการน็อก
  3. เพื่อลดต้นทุนในการเลี้ยงกุ้งก้ามกราม จากการใช้พลังงานไฟฟ้าจากครัวเรือน
  4. เพื่อเป็นฟาร์มต้นแบบในการใช้ระบบเติมอากาศในบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกราม ด้วยการประยุกต์ใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ ในพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์
รายละเอียดกิจกรรม
1. บรรยายทฤษฏีและฝึกปฏิบัติการทำระบบเติมอากาศในบ่อเลี้ยงกุ้ง
2. บรรยายทฤษฏีและฝึกปฏิบัติการประยุกต์ใช้พลังงานแสงอาทิตย์กับระบบเติมอากาศ
3. นำเสนอผลการทดลองใช้ระบบเติมอากาศด้วยการประยุกต์ใช้พลังงานแสงอาทิตย์
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พ.ค. 2563 ถึง 2 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1. เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งก้ามกรามมีความรู้ ความเข้าใจในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีมาพัฒนาและสามารถต่อยอดองค์ความรู้ได้เพื่อแก้ปัญหาการเลี้ยงกุ้งก้ามกรามต่อไป
2. เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งก้ามกราม สามารถนำเอาพลังงานแสงอาทิตย์มาประยุกต์ใช้เป็นพลังงานให้กับระบบเติมอากาศในบ่อเลี้ยงกุ้งได้อย่างเหมาะสม
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
ชุมชนบ้านตูม หมู่ที่ 19 ตำบลบัวบาน อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ปฏิบัติงานล่วงเวลานักวิจัย (1 วัน x วันละ 500 บาท x 4 คน)

4 คน 500 1 2,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ปฏิบัติงานล่วงเวลานักศึกษา (1 วัน x วันละ 120 บาท x 8 คน)

8 คน 120 1 960
ค่าอาหาร

อาหารกลางวันวิทยากร (12 คนๆ ละ 60 บาท × 1 ครั้ง)

12 คน 300 1 3,600
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าเดินทาง (4 บาท× 45 กิโลเมตร x 1 ครั้ง)

1 ครั้ง 180 1 180
ค่าถ่ายเอกสาร

ถ่ายเอกสารรูปเล่มรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ (10 เล่ม x 250 บาท)

10 ชุด 250 1 2,500
ค่าถ่ายเอกสาร

เอกสารอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยี (30 เล่ม x 100 บาท)

30 ชุด 100 1 3,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

จ้างทำป้ายไวนิลโครงการ จำนวน 1 ป้ายx1,500บาท

1 ชุด 1,500 1 1,500
ค่าอาหาร

อาหารกลางวันผู้เข้าอบรม (30 คน X 60 บาท x 1 ครั้ง)

30 คน 60 1 1,800
ค่าอาหาร

อาหารเบรคผู้เข้าอบรมเช้า-บ่าย (2 ครั้ง X 30 บาท)

30 คน 30 2 1,800
รวมค่าใช้จ่าย 17,340

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 106,535.00 1,500.00 44,380.00 347,585.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 21.31% 0.30% 8.88% 69.52% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) 1. เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งก้ามกรามมีความรู้ ความเข้าใจในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีมาพัฒนาและสามารถต่อยอดองค์ความรู้ได้เพื่อแก้ปัญหาการเลี้ยงกุ้งก้ามกรามต่อไป
2. เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งก้ามกราม สามารถนำเอาพลังงานแสงอาทิตย์มาประยุกต์ใช้เป็นพลังงานให้กับระบบเติมอากาศในบ่อเลี้ยงกุ้งได้อย่างเหมาะสม
3. เกษตรกรได้ต้นแบบฟาร์มเลี้ยงกุ้งก้ามกราม ในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการเติมอากาศโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์
4. เกษตรผู้เลี้ยงกุ้งก้ามกรามสามารถลดต้นทุนในการเลี้ยงกุ้งก้ามกราม จากการใช้พลังงานไฟฟ้าจากครัวเรือน
5. เกษตรผู้เลี้ยงกุ้งก้ามกรามสามารถลดปัญหาการตายของกุ้งก้ามกรามที่เกิดจากการน็อก อันมีเหตุมาจากระดับออกซิเจนในบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกรามต่ำได้
1. นักศึกษาได้เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ด้วยการนำเอาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
2. นักศึกษาได้ฝึกทักษะชีวิตและทักษะอาชีพ เพื่อเป็นแนวทางสำหรับการประกอบอาชีพต่อไป
3. นักศึกษาฝึกงานในสถานประกอบการจริง ในฟาร์มเลี้ยงกุ้งก้ามกรามของเกษตรกร
3. นักศึกษาได้เรียนรู้ด้วยตนเอง การแก้ปัญหา และการปฏิบัติงานจริงในพื้นที่ชุมชน
ผลลัพธ์ (Outcome) 1. เกษตรกร ได้นำเอาองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ ร้อยละ 80
2. เกษตรกรมีความพึงพอใจจากการถ่ายทอดเทคโนโลยีระบบเติมอากาศ โดยการใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ ร้อยละ 80
3. ได้ระบบการเติมอากาศผสมผสานทั้งเติมผิวน้ำและใต้น้ำลงในบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกราม โดยการใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สามารถเทียบโอนประสบการ์เทียบเคียงการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี ในรายวิชาต่างๆ ดังนี้
1. หลักสูตร อส.บ เทคโนโลยีเครื่องกล
1.1 Mechanical Technology Project รหัสวิชา 08-035-407 จำนวน 3 หน่วยกิต
2. หลักสูตร วศ.บ วิศวกรรมเครื่องกล
2.1 Mechanical Engineering Project รหัสวิชา 04-031-412 จำนวน 3 หน่วยกิต
3. หลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ
3.1 เทคนิคการจัดการสมัยใหม่ รหัสวิชา 05-052-306 จำนวน 3 หน่วยกิต
ผลกระทบ (Impact) 1. ผู้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีระบบเติมอากาศในบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกราม ด้วยการประยุกต์ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ จำนวน 30 คน
2. บ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกรามที่ติดตั้งระบบเติมอากาศ ด้วยการประยุกต์ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ จำนวนอย่างน้อย 1 ฟาร์ม
3. สามารถเป็นฟาร์มต้นแบบที่ติดตั้งระบบเติมอากาศ ด้วยการประยุกต์ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ สำหรับบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกราม ให้กับหมู่บ้านอื่นๆ ต่อไป
4. เป็นศูนย์แหล่งเรียนรู้เทคโนโลยีระบบเติมอากาศ โดยใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ ในบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกราม อย่างน้อย 1 หมู่บ้าน
5. ได้ระบบการเติมอากาศผสมผสานทั้งเติมผิวน้ำและใต้น้ำลงในบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกราม โดยใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์
1. นักศึกษาสามารถนำไปประกอบอาชีพหรือธุรกิจการเลี้ยงกุ้งก้ามกรามของตัวเองได้
2. นักศึกษาหรือคนในพื้นที่ บ้านตูม หมู่ที่ 19 ตำบลบัวบาน อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ หันมาสนใจการนำเอาระบบเติมอากาศ ลงในบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกราม ด้วยการประยุกต์ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ มากขึ้น
3. นักศึกษาสามารถเป็นวิทยากรถ่ายทอดองค์ความรู้เองได้
นำเข้าสู่ระบบโดย anuwatsaenpong anuwatsaenpong เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2562 16:14 น.