การถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรสู่ชุมชนทุ่งใหญ่เพื่อความยั่งยืน

แบบเสนอโครงการ
การถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรสู่ชุมชนทุ่งใหญ่เพื่อความยั่งยืน

1. ชื่อโครงการ

การถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรสู่ชุมชนทุ่งใหญ่เพื่อความยั่งยืนกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งใหญ่ชุมชนตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาผศ.ดร.สินินาฎ จงคง โทร 091-0464723E-mail : sininart.c@psu.ac.thภาควิชาวิศวกรรมเคมี สถาบันวิจัย อุตสาหกรรมการผลิตอุตสาหกรรมบริการ สถาบันการศึกษา074-287086/074287294รศ.ดร.สุกฤทธิรา รัตนวิไล
โทร 081-9572258 E-mail : sukritthira.b@psu.ac.th
รศ.ดร.กุลชนาฐ ประเสริฐสิทธิ์
โทร 074-287289
E-mail : kulchanat.k@psu.ac.th
รศ.ดร.ผกามาศ เจษฎ์พัฒนานนท์
โทร 074-287288 E-mail : pakamas.p@psu.ac.th
รศ.ดร.ลือพงศ์ แก้วศรีจันทร์
โทร 089-7322584 E-mail : lupong.k@psu.ac.th

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
สงขลา หาดใหญ่ ทุ่งใหญ่

3. รายละเอียดชุมชน

ตำบลทุ่งใหญ่มีพื้นที่ประมาณ 38.71 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 24,193 ไร่ พื้นที่โดยทั่วไปของตำบลทุ่งใหญ่ มีสภาพภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ลาดเชิงเขา พื้นที่บางส่วนจะเป็นภูเขามีภูเขาที่สำคัญคือ ภูเขาคอหงส์ พื้นที่มีความลาดเอียงไปทางทิศเหนือ ลำคลองที่สำคัญคือ คลองน้ำน้อยดินมีลักษณะเป็นดินปนทราย บางพื้นที่จะเป็นทรายเพียงอย่างเดียว
ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางด้านการเกษตร โดยพื้นที่ส่วนใหญ่ของจะใช้ประโยชน์ในการทำสวนยางพารา สวนมะพร้าว การทำสวนผลไม้ปลูกพืชไร่ เช่น มันเทศ แตงกวา แตงโม ผักต่าง ๆและเลี้ยงสัตว์ เช่น โค สุกร นอกจากนี้ยังประกอบอาชีพค้าขาย และอาชีพรับจ้าง
ตำบลทุ่งใหญ่ ได้รับการพัฒนาหมู่บ้านให้มีความพร้อมใน ด้านโครงสร้างพื้นฐานมีความสะดวกในด้านการคมนาคมมีถนนลาดยางตลอดหมู่บ้าน มีน้ าดื่ม-น้ าใช้เพียงพอภายในหมู่บ้านมีระบบประปาสามารถให้บริการได้ตลอดปี มีไฟฟ้าใช้ และมีการสื่อสารที่ทันสมัย ทุกครัวเรือนมีการใช้โทรศัพท์ และมีรถจักยานยนต์ใช้ทุกครัวเรือนคนในครัวเรือนมีการประกอบอาชีพทุกครัวเรือนและภายในชุมชนมีการประกอบอาชีพทำสวนยางเป็นอาชีหลัก ประชาชนมีสุขอนามัยดีไม่มีโรคติดต่อที่ร้ายแรงในชุมชนและ บ้านทุ่งงายเป็นหมู่บ้านปลอดยาเสพติด ประชาชนมีความรู้ได้รับการศึกษาต่อ คนในชุมชนเห็นความสำคัญของการศึกษาเด็กที่จบภาคบังคับจะได้เรียนต่อทุกคน ประชาชนได้รับสวัสดิการด้านการรักษาพยาบาลอย่างทั่วถึง กิจกรรมที่ดำเนินการภายในชุมชนประชาชนจะมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรม และได้มีการรวมกลุ่มต่างๆ ของชุมชนเช่น กลุ่มสตรี กลุ่มออมทรัพย์ฯ กลุ่มน้ำยางสด ร้านค้าชุมชน ชรบ.พื้นที่ ต.ทุ่งใหญ่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา มีอาชีพหลักคือทำสวนยางพาราและสวนมะพร้าว ซึ่งปัจจุบันประสบกับปัญหาราคามะพร้าวตกต่ำ จากช่วงปี 2559-2560 ที่เคยมีราคาระหว่างลูกละ 15-30 บาทเหลือเพียงลูกละ 3-6 บาท จึงมีผลผลิตมะพร้าวปริมาณมากที่ถูกปล่อยทิ้งไว้โดยไม่ได้ใช้ประโยชน์ เนื่องจากไม่คุ้มค่าในการเก็บเกี่ยว การช่วยแก้ไขปัญหานี้สามารถทำได้โดยการแปรรูปมะพร้าวให้เป็นผลิตภัณฑ์อื่น โดยให้เกิดประโยชน์สูงสุด เช่น เนื้อมะพร้าวสามารถแปรรูปหรือใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตเป็น ผลิตภัณฑ์มะพร้าวขูดอบแห้งสำหรับใช้เป็นส่วนผสมของเบเกอร์รี่และอาหารเสริมเพื่อสุขภาพ ผลิตภัณฑ์น้ำมันสกัดเย็นและผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง เช่น ลิปสติก และน้ำมะพร้ามแก่สามารถแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์น้ำส้มสายชู ซึ่งจะช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มให้ผลผลิตมะพร้าว โดยสามารถเพิ่มราคาขายได้อย่างน้อย 3 เท่า และยังช่วยสร้างงาน เพิ่มรายได้ให้ชุมชน และนำไปสู่ชุมชนเกษตรยั่งยืนได้การพัฒนาชุมชน ต.ทุ่งใหญ่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา ทำให้เกิดการสร้างงาน เพิ่มรายได้แก่ชุมชน
1. มีผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปจากมะพร้าวพร้อมขาย
2. มีชุดเครื่องมือและอุปกรณ์ต้นแบบสำหรับแปรรูปผลิตภัณธ์ชุมชน
3. ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น
ผลผลิต
1. มีผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปจากมะพร้าวพร้อมขาย คือ มะพร้าวอบแห้ง น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น ลิปสติก และน้ำส้มสายชู
2. มีชุดเครื่องมือและอุปกรณ์ต้นแบบสำหรับแปรรูปผลิตภัณธ์ชุมชน
ผลลัพธ์ :
1. สร้างงาน เพิ่มรายได้ ให้แก่สมาชิกในชุมชน
2. พัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน
3. เป็นต้นแบบของการนำเทคโนโลยีสู่ชุมชนที่จะสามารถขยายผลสู่การผลิตผลิตภัณฑ์อื่นๆ ในอนาคต

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

การพัฒนาการผลิตสินค้าเกษตรหลักของภาค (สร้างคุณค่าให้ผลผลิตทางการเกษตร โดยเพิ่มทางเลือกในการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรเป็นผลิตภัณฑ์อื่นที่หลากหลายในช่วงผลผลิตล้นตลาดและราคาตกต่ำ ช่วยสร้างโอกาสทางการตลาด นำไปสู่การเกษตรยั่งยืน) โดยการผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากน้ำมะพร้าว, 2 การผลิตเนื้อมะพร้าวอบแห้ง , 3 การผลิตน้ำมันมะพร้าวสกัดเย็นและลิปสติก
มีบริหารจัดการหลังจากโครงการแล้วเสร็จโดยการถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กับอบต. ทุ่งใหญ่ เครื่องต้นแบบที่ได้บริหารจัดการโดยคณะวิศวกรรมศาสตร์ บ้ารุงรักษาตามระเบียบราชการที่เกี่ยวข้อง ใช้เป็นต้นแบบในการศึกษาเรียนรู้ของนักศึกษาและประชาชน รวมถึงบริการวิชาการให้กับผู้ประกอบการอุตสาหกรรมมะพร้าว

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1) ถ่ายทอดเทคโนโลยี พัฒนาผลผลิตทางการเกษตร เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ชุมชน นำไปสู่การเกษตรยั่งยืน
  • จำนวนนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการผลิต 10 คน
  • จำนวนผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปจากมะพร้าวพร้อมขาย 4 ผลิตภัณฑ์
  • ชุดเครื่องมือและอุปกรณ์ต้นแบบ 6 ชุด
  • บุคลากรจาก อบต. ทุ่งใหญ่ ที่เข้าร่วมการถ่ายทอดเทคโนโลยี 30 คน
  • การถ่ายทอดเทคโนโลยี 1 ครั้ง
0.00 0.00
2 2) เพื่อสร้างงาน เพิ่มรายได้ แก่คนในชุมชน

มีผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปจากมะพร้าวพร้อมขาย คือ มะพร้าวอบแห้ง น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น ลิปสติก และน้ำส้มสายชู

0.00
3 3) เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างมหาวิทยาลัยและชุมชน

เป็นต้นแบบของการนำเทคโนโลยีสู่ชุมชนที่จะสามารถขยายผลสู่การผลิตผลิตภัณฑ์อื่นๆ ในอนาคต

0.00 0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
บุคลากรจาก อบต. ทุ่งใหญ่ 30

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 การผลิตมะพร้าวอบแห้ง

ชื่อกิจกรรม
การผลิตมะพร้าวอบแห้ง
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    1 ลงพื้นที่ และวางแผนโครงการร่วมกับชุมชน
    2 เตรียมวัตถุดิบ วัสดุ อุปกรณ์ และสร้างชุดเครื่องมือ
    3 หาสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตและตรวจสอบสมบัติของผลิตภัณฑ์
    4 ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน
    5 ติดตาม ให้คำปรึกษา
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    ถึง 1 ตุลาคม 2564
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ผลผลิต
    1. มีผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปจากมะพร้าวพร้อมขาย คือ มะพร้าวอบแห้ง น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น ลิปสติก และน้ำส้มสายชู
    2. มีชุดเครื่องมือและอุปกรณ์ต้นแบบสำหรับแปรรูปผลิตภัณธ์ชุมชน
    ผลลัพธ์
    1. สร้างงาน เพิ่มรายได้ ให้แก่สมาชิกในชุมชน
    2. พัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน
    3. เป็นต้นแบบของการนำเทคโนโลยีสู่ชุมชนที่จะสามารถขยายผลสู่การผลิตผลิตภัณฑ์อื่นๆ ในอนาคต
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    อบต.ทุ่งใหญ่
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ค่าจ้างผู้ช่วยโครงการ นศ ป.ตรี การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ค่าสมนาคุณวิทยากร

    10 คน 1,500 2 30,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ค่าจ้างเหมาบริการสร้างชุดเครื่องมือผลิตให้ชุมชน - ชุดเครื่องให้ความร้อน - ชุดเครื่องหั่นมะพร้าวแบบชิ้น แบบเส้น และแบบฝอย 1 ชุด - ชุดเครื่องอบแห้งสุญญากาศ - ชุดเครื่องขูดมะพร้าว - ชุดเครื่องคั้นกะทิระบบสกรูเกลียวอัด - ชุดเครื่องเหวี่ยงแยก วัสดุ (มะพร้าว สารและอุปกรณ์เพื่อการผลิต สารและอุปกรณ์เพื่อการวิเคราะห์ บรรจุภัณฑ์)

    7 ชุด 10,000 1 70,000
    อื่น ๆ

    ค่าวิเคราะห์คุณภาพผลิตภัณฑ์ ค่าจ้างออกแบบบรรจุภัณฑ์ ค่าจัดทำรายงาน ค่ากำจัดของเสีย

    4 ชิ้น 6,250 1 25,000
    รวมค่าใช้จ่าย 125,000

    กิจกรรมที่ 2 การผลิตน้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น

    ชื่อกิจกรรม
    การผลิตน้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      1 ลงพื้นที่ และวางแผนโครงการร่วมกับชุมชน
      2 เตรียมวัตถุดิบ วัสดุ อุปกรณ์ และสร้างชุดเครื่องมือ
      3 หาสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตและตรวจสอบสมบัติของผลิตภัณฑ์
      4 ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน
      5 ติดตาม ให้คำปรึกษา
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      ถึง 1 ตุลาคม 2564
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      ผลผลิต
      1. มีผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปจากมะพร้าวพร้อมขาย คือ มะพร้าวอบแห้ง น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น ลิปสติก และน้ำส้มสายชู
      2. มีชุดเครื่องมือและอุปกรณ์ต้นแบบสำหรับแปรรูปผลิตภัณธ์ชุมชน
      ผลลัพธ์
      1. สร้างงาน เพิ่มรายได้ ให้แก่สมาชิกในชุมชน
      2. พัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน
      3. เป็นต้นแบบของการนำเทคโนโลยีสู่ชุมชนที่จะสามารถขยายผลสู่การผลิตผลิตภัณฑ์อื่นๆ ในอนาคต
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      อบต.ทุ่งใหญ่
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      ค่าตอบแทนวิทยากร

      ค่าจ้างผู้ช่วยโครงการ นศ ป.ตรี การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ค่าสมนาคุณวิทยากร

      10 คน 1,500 2 30,000
      ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

      ค่าจ้างเหมาบริการสร้างชุดเครื่องมือผลิตให้ชุมชน - ชุดเครื่องให้ความร้อน - ชุดเครื่องหั่นมะพร้าวแบบชิ้น แบบเส้น และแบบฝอย 1 ชุด - ชุดเครื่องอบแห้งสุญญากาศ - ชุดเครื่องขูดมะพร้าว - ชุดเครื่องคั้นกะทิระบบสกรูเกลียวอัด - ชุดเครื่องเหวี่ยงแยก วัสดุ (มะพร้าว สารและอุปกรณ์เพื่อการผลิต สารและอุปกรณ์เพื่อการวิเคราะห์ บรรจุภัณฑ์)

      7 ชุด 10,000 1 70,000
      อื่น ๆ

      ค่าวิเคราะห์คุณภาพผลิตภัณฑ์ ค่าจ้างออกแบบบรรจุภัณฑ์ ค่าจัดทำรายงาน ค่ากำจัดของเสีย

      4 ชิ้น 6,250 1 25,000
      รวมค่าใช้จ่าย 125,000

      กิจกรรมที่ 3 การผลิตลิปสติก

      ชื่อกิจกรรม
      การผลิตลิปสติก
      วัตถุประสงค์
        รายละเอียดกิจกรรม
        1 ลงพื้นที่ และวางแผนโครงการร่วมกับชุมชน
        2 เตรียมวัตถุดิบ วัสดุ อุปกรณ์ และสร้างชุดเครื่องมือ
        3 หาสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตและตรวจสอบสมบัติของผลิตภัณฑ์
        4 ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน
        5 ติดตาม ให้คำปรึกษา
        ระยะเวลาดำเนินงาน
        ถึง 1 ตุลาคม 2564
        ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
        ผลผลิต
        1. มีผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปจากมะพร้าวพร้อมขาย คือ มะพร้าวอบแห้ง น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น ลิปสติก และน้ำส้มสายชู
        2. มีชุดเครื่องมือและอุปกรณ์ต้นแบบสำหรับแปรรูปผลิตภัณธ์ชุมชน
        ผลลัพธ์
        1. สร้างงาน เพิ่มรายได้ ให้แก่สมาชิกในชุมชน
        2. พัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน
        3. เป็นต้นแบบของการนำเทคโนโลยีสู่ชุมชนที่จะสามารถขยายผลสู่การผลิตผลิตภัณฑ์อื่นๆ ในอนาคต
        ทรัพยากรอื่น ๆ
        ภาคีร่วมสนับสนุน
        อบต.ทุ่งใหญ่
        รายละเอียดงบประมาณ
        ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
        ค่าตอบแทนวิทยากร

        ค่าจ้างผู้ช่วยโครงการ นศ ป.ตรี การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ค่าสมนาคุณวิทยากร

        10 คน 1,500 2 30,000
        ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

        ค่าจ้างเหมาบริการสร้างชุดเครื่องมือผลิตให้ชุมชน - ชุดเครื่องให้ความร้อน - ชุดเครื่องหั่นมะพร้าวแบบชิ้น แบบเส้น และแบบฝอย 1 ชุด - ชุดเครื่องอบแห้งสุญญากาศ - ชุดเครื่องขูดมะพร้าว - ชุดเครื่องคั้นกะทิระบบสกรูเกลียวอัด - ชุดเครื่องเหวี่ยงแยก วัสดุ (มะพร้าว สารและอุปกรณ์เพื่อการผลิต สารและอุปกรณ์เพื่อการวิเคราะห์ บรรจุภัณฑ์)

        7 ชุด 10,000 1 70,000
        อื่น ๆ

        ค่าวิเคราะห์คุณภาพผลิตภัณฑ์ ค่าจ้างออกแบบบรรจุภัณฑ์ ค่าจัดทำรายงาน ค่ากำจัดของเสีย

        4 ชิ้น 6,250 1 25,000
        รวมค่าใช้จ่าย 125,000

        กิจกรรมที่ 4 การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากน้ำมะพร้าว

        ชื่อกิจกรรม
        การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากน้ำมะพร้าว
        วัตถุประสงค์
          รายละเอียดกิจกรรม
          1 ลงพื้นที่ และวางแผนโครงการร่วมกับชุมชน
          2 เตรียมวัตถุดิบ วัสดุ อุปกรณ์ และสร้างชุดเครื่องมือ
          3 หาสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตและตรวจสอบสมบัติของผลิตภัณฑ์
          4 ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน
          5 ติดตาม ให้คำปรึกษา
          ระยะเวลาดำเนินงาน
          ถึง 1 ตุลาคม 2564
          ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
          ผลผลิต
          1. มีผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปจากมะพร้าวพร้อมขาย คือ มะพร้าวอบแห้ง น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น ลิปสติก และน้ำส้มสายชู
          2. มีชุดเครื่องมือและอุปกรณ์ต้นแบบสำหรับแปรรูปผลิตภัณธ์ชุมชน
          ผลลัพธ์
          1. สร้างงาน เพิ่มรายได้ ให้แก่สมาชิกในชุมชน
          2. พัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน
          3. เป็นต้นแบบของการนำเทคโนโลยีสู่ชุมชนที่จะสามารถขยายผลสู่การผลิตผลิตภัณฑ์อื่นๆ ในอนาคต
          ทรัพยากรอื่น ๆ
          ทรัพยากรอื่น ๆ
          ภาคีร่วมสนับสนุน
          อบต.ทุ่งใหญ่
          รายละเอียดงบประมาณ
          ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
          ค่าตอบแทนวิทยากร

          ค่าจ้างผู้ช่วยโครงการ นศ ป.ตรี การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ค่าสมนาคุณวิทยากร

          10 คน 1,500 2 30,000
          ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

          ค่าจ้างเหมาบริการสร้างชุดเครื่องมือผลิตให้ชุมชน - ชุดเครื่องให้ความร้อน - ชุดเครื่องหั่นมะพร้าวแบบชิ้น แบบเส้น และแบบฝอย 1 ชุด - ชุดเครื่องอบแห้งสุญญากาศ - ชุดเครื่องขูดมะพร้าว - ชุดเครื่องคั้นกะทิระบบสกรูเกลียวอัด - ชุดเครื่องเหวี่ยงแยก วัสดุ (มะพร้าว สารและอุปกรณ์เพื่อการผลิต สารและอุปกรณ์เพื่อการวิเคราะห์ บรรจุภัณฑ์)

          7 ชุด 10,000 1 70,000
          อื่น ๆ

          ค่าวิเคราะห์คุณภาพผลิตภัณฑ์ ค่าจ้างออกแบบบรรจุภัณฑ์ ค่าจัดทำรายงาน ค่ากำจัดของเสีย

          4 ชิ้น 6,250 1 25,000
          รวมค่าใช้จ่าย 125,000

          รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

          ค่าตอบแทนค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
          ค่าใช้จ่าย (บาท) 120,000.00 280,000.00 100,000.00 500,000.00
          เปอร์เซ็นต์ (%) 24.00% 56.00% 20.00% 100.00%

          11. งบประมาณ

          500,000.00บาท

          12. การติดตามประเมินผล

          ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
          ผลผลิต (Output) - จำนวนผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปจากมะพร้าวพร้อมขาย 4 ผลิตภัณฑ์
          - ชุดเครื่องมือและอุปกรณ์ต้นแบบ 6 ชุด
          - บุคลากรจาก อบต. ทุ่งใหญ่ ที่เข้าร่วมการถ่ายทอดเทคโนโลยี 30 คน
          - การถ่ายทอดเทคโนโลยี 1 ครั้ง
          - จำนวนนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการผลิต 10 คน
          ผลลัพธ์ (Outcome) - สร้างงาน เพิ่มรายได้ ให้แก่สมาชิกในชุมชน
          - พัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน
          - เป็นต้นแบบของการนำเทคโนโลยีสู่ชุมชนที่จะสามารถขยายผลสู่การผลิตผลิตภัณฑ์อื่นๆ ในอนาคต
          เป็นต้นแบบในการศึกษาเรียนรู้ของนักศึกษาและประชาชน รวมถึงบริการวิชาการให้กับผู้ประกอบการอุตสาหกรรมมะพร้าว
          ผลกระทบ (Impact) เชิงบวก : เพิ่มโอกาสทางการตลาดให้สินค้าจากมะพร้าว สร้างงาน เพิ่มรายได้
          เชิงลบ : อาจมีการแข่งขันทางการตลาดที่สูงขึ้น (เมื่อมีสินค้าแปรรูปประเภทนี้มากขึ้น)
          นำเข้าสู่ระบบโดย kamonwan.so kamonwan.so เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2562 15:32 น.