การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและมูลค่าผลผลิตของมันเทศญี่ปุ่นให้เหมาะสมกับพื้นที่ บ้านคำไผ่ ตำบลหนองกุง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์

สำหรับเจ้าหน้าที่

รหัสโครงการ :

วันที่ :         /              /25       

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ

การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและมูลค่าผลผลิตของมันเทศญี่ปุ่นให้เหมาะสมกับพื้นที่ บ้านคำไผ่ ตำบลหนองกุง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์

ควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

2. ประเภทโครงการ

** โครงการใหม่ หมายถึง เป็นโครงการที่ยังไม่เคยได้รับทุนสนับสนุน
** โครงการต่อเนื่อง หมายถึง เป็นโครงการต่อเนื่องจากโครงการที่เคยได้รับทุน

3. องค์กร/คณะบุคคล ที่เสนอโครงการ (กรณีขอทุนในนามองค์กร/คณะบุคคล)

1. ชื่อองค์กร/คณะบุคคล


4. ผู้รับผิดชอบโครงการ

1. ชื่อ-นามสกุลผู้รับผิดชอบโครงการ

คำนำหน้าชื่อ ชื่อ นามสกุล

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก    *************

ที่อยู่ตามบัตรประชาชน

บ้านเลขที่ ** หมู่ที่ ตรอก/ซอย ถนน ตำบล/แขวง อำเภอ/เขต จังหวัด รหัสไปรษณีย์

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก ******** เบอร์มือถือ ******** โทรสาร ******** อีเมล์ ********

รายชื่อผู้ร่วมทำโครงการ/คณะทำงาน (อย่างน้อย 2 คน)

ผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการ คนที่ 1

คำนำหน้าชื่อ ชื่อ นามสกุล

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก    *************

ที่อยู่ตามบัตรประชาชน

บ้านเลขที่ ** หมู่ที่ ตรอก/ซอย ถนน ตำบล/แขวง อำเภอ/เขต จังหวัด รหัสไปรษณีย์

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก ******** เบอร์มือถือ ******** โทรสาร ******** อีเมล์ ********

บทบาทหน้าที่/ความรับผิดชอบในโครงการนี้ ตำแหน่ง สังกัด

ผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการ คนที่ 2

คำนำหน้าชื่อ ชื่อ นามสกุล

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก    *************

ที่อยู่ตามบัตรประชาชน

บ้านเลขที่ ** หมู่ที่ ตรอก/ซอย ถนน ตำบล/แขวง อำเภอ/เขต จังหวัด รหัสไปรษณีย์

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก ******** เบอร์มือถือ ******** โทรสาร ******** อีเมล์ ********

บทบาทหน้าที่/ความรับผิดชอบในโครงการนี้ ตำแหน่ง สังกัด

5. ท่านและองค์กรของท่าน จัดอยู่ในองค์กรประเภทใด

ระบุ

6. ความสอดคล้องกับแผนงาน

ยังไม่มีรายการความสอดคล้องในระบบ

7. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

8. ความเป็นมา/ หลักการและเหตุผล/ ความสำคัญของปัญหา

สถานการณ์ปัญหา

สถานการณ์ปัญหาขนาด
ระบุความเป็นมา / สถานการณ์ / หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติมในช่องด้านล่าง

9. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/12/2019 กำหนดเสร็จ 30/04/2020

10. ประเด็นหลัก

เลือกประเด็นหลักของโครงการ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)

ระบุ

11. กลุ่มเป้าหมายที่คาดว่าจะได้รับผลประโยชน์และพื้นที่ดำเนินงาน

ระบุกลุ่มเป้าหมายว่าเป็นใครบ้าง จำนวนเท่าไร มีวิธีการคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายอย่างไร หากมีกลุ่มเป้าหมายหลายกลุ่มควรระบุกลุ่มเป้าหมายหลักและเป้าหมายรองด้วย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
เกษตรกรผู้ปลูกมันเทศญี่ปุ่น บ้านคำไผ่ 30

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ เมืองกาฬสินธุ์ หนองกุง ชานเมือง

12. วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด/กิจกรรมการดำเนินงาน

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตมันเทศญี่ปุ่นให้มีคุณภาพได้สินค้าเกษตรปลอดภัย

ผลผลิตของเกษตรที่ได้มีปริมาณและคุณภาพเพิ่มมากขึ้น

50.00 1.00
2 เพื่อได้ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากมันเทศญี่ปุ่น ให้ตรงตามความต้องการทางการตลาดในปัจจุบันและความเหมาะสมกับพื้นที่

ตัวอย่างต้นแบบผลิตภัณฑ์แปรรูปจากมันเทศญี่ปุ่น อย่างน้อย 2 ผลิตภัณฑ์

30.00 1.00
3 เพื่อสร้างช่องทางการตลาดของผลิตภัณฑ์แปรรูปจากมันเทศญี่ปุ่น ที่เหมาะสมกับพื้นที่ของเกษตรกรในพื้นที่ บ้านคำไผ่ ตำบลหนองกุง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์

รูปแบบช่องทางการตลาดที่เหมาะสมสำหรับผลิตภัณฑ์แปรรูปแบบจากมันเทศญี่ปุ่น อย่างน้อย 1 ช่องทาง

20.00 1.00

13. แนวทาง/วิธีการสำคัญ

14. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 การวางแผนการดำเนินการร่วมกับชุมชน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 การวางแผนการดำเนินการร่วมกับชุมชน
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    1. คณะกรรมการ นักศึกษาในโครงการ ทำการประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินงานและกำหนดการร่วมกับชุมชน
    2. ทำเรื่องจัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์สำหรับใช้ดำเนินงาน
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    2 ธันวาคม 2562 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    1. ได้แผนการดำเนินโครงการ
    2. ได้รับการอนุมัติจัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์สำหรับใช้ดำเนินงาน
    ภาคีร่วมสนับสนุน
     
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ค่าวิทยากรดำเนินการ จำนวน 6 คน x 1 วัน x 600 บาท

    6 คน 600 1 3,600
    ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

    จ้างเหมาบริการทำป้ายไวนิลโครงการ

    2 ชุด 1,500 1 3,000
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหารกลางวัน และเครื่องดื่ม จำนวน 50 คน x 90 บาท

    50 คน 90 1 4,500
    ค่าถ่ายเอกสาร

    จ้างเหมาบริการทำเอกสารประกอบการอบรม

    41 ชุด 100 1 4,100
    ค่าตอบแทนการประสานงาน

    ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

    20 คน 120 1 2,400
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

    ค่าพาหนะเดินทางในการพานักศึกเข้าพื้นที่ชุมชน

    3 คน 300 1 900
    ค่าเช่าสถานที่

    ค่าสถานที่เพื่อใช้ในการประชุมเกษตรกรและนักศึกษา

    1 ครั้ง 1,500 1 1,500
    รวมค่าใช้จ่าย 20,000

    กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2 กระบวนการผลิตมันเทศญี่ปุ่นให้มีคุณภาพ (ต้นน้ำ)

    ชื่อกิจกรรม
    กิจกรรมที่ 2 กระบวนการผลิตมันเทศญี่ปุ่นให้มีคุณภาพ (ต้นน้ำ)
    วัตถุประสงค์
    1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตมันเทศญี่ปุ่นให้มีคุณภาพได้สินค้าเกษตรปลอดภัย
    รายละเอียดกิจกรรม
    เป็นการอบรมให้ความรู้ และถ่ายทอดเทคโนโลยีในกระบวนการผลิตมันเทศญี่ปุ่น ให้มีปริมาณและคุณภาพผลผลิตสูง และได้ตามมาตราสินค้าเกษตรปลอดภัย โดยมีนักศึกษาเข้าไปช่วยเกษตรกรทำแปลงปลูกในพื้นที่แปลงสาธิตของเกษตรกรต้นแบบ
    หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพืชศาสตร์
    รายวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืชผัก (3 หน่วยกิต)
    นักศึกษา ห้อง PS341 จำนวน 4 ราย
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    16 ธันวาคม 2562 ถึง 31 มีนาคม 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    นักศึกษาจะได้ฝึกประสบการณ์จริงและได้เรียนรู้ทักษะการผลิตมันเทศญี่ปุ่น ตั้งแต่กระบวนการผลิต การแปรรูป และการตลาด ในการลงพื้นที่ทำงานร่วมกับเกษตรกร
    ภาคีร่วมสนับสนุน
     
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ค่าตอบแทนวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ ในการอบรมการถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีในการผลิตมันเทศญี่ปุ่น

    2 คน 1,800 1 3,600
    ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม

    ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเข้ามาอบรมของเกษตรกร

    30 คน 300 1 9,000
    ค่าเช่าสถานที่

    ค่าเช่าสถานที่ที่ใช้ในการอบรม

    1 ครั้ง 1,500 1 1,500
    ค่าตอบแทนการประสานงาน

    ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

    20 คน 120 4 9,600
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหารและเครื่องดื่มของผู้เข้าอบรม

    50 คน 90 1 4,500
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

    ค่าพนะในการเดินทางของอาจารย์และนักศึกษาในการลงพื้นที่ในภาคปฏิบัติิ

    3 คน 300 4 3,600
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    พลาสติกคลุมแปลง ขนาด 1.2 x 400 เมตร จำนวน 10 ม้วนๆ ละ 1,500 บาท 15,000 พลาสติกคลุมแปลง ขนาด 0.8 x 400 เมตร จำนวน 10 ม้วนๆ ละ 1,200 บาท 12,000 พลาสติกสานกำจัดวัชพืช ขนาด 0.9 x 50 เมตร จำนวน 10 ม้วนๆ ละ 1,000 บาท 10,000 เทปน้ำหยด ขนาด 16 มิลลิเมตร ยาว 1,000 เมตร จำนวน 10 ม้วนๆ ละ 1,000 บาท 10,000 วาล์วต่อเทปน้ำหยด ขนาด 16 มิลลิเมตร จำนวน 5 ตัวต่อแพ็ค จำนวน 50 แพ็คๆ ละ 50 บาท 2,500 ลูกยางรองวาล์ว ขนาด 16 มิลลิเมตร จำนวน 10 ตัวต่อแพ็ค จำนวน 28 แพ็คๆ ละ 50 บาท 1,400 หัวน้ำหยดแบบปรับระดับน้ำได้ จำนวน 50 ตัวต่อแพ็ค จำนวน 20 แพ็คๆ ละ 150 บาท 3,000 ฟางอัดก้อน ขนาดกว้าง 40 ซม. ยาว 110 ซม. สูง 30 ซม. จำนวน 100 ก้อนๆ ละ 50 บาท 5,000 กาวทาท่อพีวีซี ขนาด 100 กรัม จำนวน 20 กระป๋องๆ ละ 120 บาท 2,400 ท่อพีวีซี ขนาด 2 นิ้ว จำนวน 50 ท่อนๆ ละ 120 บาท 6,000 ท่อพีวีซี ขนาด 1.5 นิ้ว จำนวน 40 ท่อนๆ ละ 110 บาท 4,400 ท่อพีวีซี ขนาด 1 นิ้ว จำนวน 40 ท่อนๆ ละ 80 บาท 3,200 ท่อพีวีซี ขนาด 3/4 นิ้ว จำนวน 40 ท่อนๆ ละ 60 บาท 2,400 ฝาครอบท่อพีวีซี ขนาด 2 นิ้ว จำนวน 20 อันๆ ละ 30 บาท 600 ฝาครอบท่อพีวีซี ขนาด 1.5 นิ้ว จำนวน 20 อันๆ ละ 20 บาท 400 ฝาครอบท่อพีวีซี ขนาด 1 นิ้ว จำนวน 20 อันๆ ละ 20 บาท 400 บอลวาล์วท่อพีวีซี ขนาด 3/4 นิ้ว จำนวน 40 อันๆ ละ 60 บาท 2,400 บอลวาล์วท่อพีวีซี ขนาด 1 นิ้ว จำนวน 40 อันๆ ละ 80 บาท 3,200 บอลวาล์วท่อพีวีซี ขนาด 1.5 นิ้ว จำนวน 20 อันๆ ละ 100 บาท 2,000 บอลวาล์วท่อพีวีซี ขนาด 2 นิ้ว จำนวน 20 อันๆ ละ 120 บาท 2,400 ข้อต่อตรงท่อพีวีซี ขนาด 1.5 นิ้ว จำนวน 20 อันๆ ละ 40 บาท 800 ข้อต่อตรงท่อพีวีซี ขนาด 1 นิ้ว จำนวน 20 อันๆ ละ 30 บาท 600 ข้อต่อตรงท่อพีวีซี ขนาด 3/4 นิ้ว จำนวน 20 อันๆ ละ 20 บาท 400 ข้อต่อสามทางท่อพีวีซี ขนาด 2 นิ้ว จำนวน 20 อันๆ ละ 40 บาท 800 ข้อต่อสามทางท่อพีวีซี ขนาด 1.5 นิ้ว จำนวน 20 อันๆ ละ 30 บาท 600 ข้อต่อสามทางท่อพีวีซี ขนาด 1 นิ้ว จำนวน 20 อันๆ ละ 20 บาท 400 ถาดเพาะกล้า ขนาด 104 หลุม จำนวน 50 อันๆ ละ 40 บาท 2,000 ถาดเพาะกล้า ขนาด 200 หลุม จำนวน 50 อันๆ ละ 40 บาท 2,000 พีทมอส ขนาด 10 ลิตรต่อกระสอบ จำนวน 10 กระสอบๆ ละ 350 บาท 3,500 ผ้าสแลนสีดำ 60 % ขนาด 2.5 x 50 เมตร จำนวน 6 มัวนๆ ละ 1,500 บาท 9,000 ท่อพีอี ขนาด 20 มิลลิเมตร ยาว 100 เมตรต่อม้วน จำนวน 8 ม้วนๆ ละ 1000 บาท 8,000 ท่อไมโคร พีอี ขนาด 3/5 มิลลิเมตร ยาว 100 เมตรต่อม้วน จำนวน 10 ม้วนๆ ละ 800 บาท 8,000 ข้อต่อสายไมโครกับท่อพีอี ขนาด 3/5 มิลลิเมตร จำนวน 5 แพ็คๆ ละ 100 บาท 500 ปุ๋ยคอกมูลไก่ จำนวน 180 กระสอบๆ ละ 60 10,800 ปุ๋ยคอกมูลวัว จำนวน 180 กระสอบๆ ละ 60 10,800 ต้นพันธุ์มันเทศญี่ปุ่น จำนวน 2000 ยอดๆ ละ 5 บาท 10,000

    1 ชุด 134,200 1 134,200
    ค่าถ่ายเอกสาร

    ค่าวัสดุในการจัดทำเอกสารสำหรับอบรมเกษตกร

    40 คน 100 1 4,000
    รวมค่าใช้จ่าย 170,000

    กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 3 กระบวนการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากมันเทศญี่ปุ่น (กลางน้ำ)

    ชื่อกิจกรรม
    กิจกรรมที่ 3 กระบวนการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากมันเทศญี่ปุ่น (กลางน้ำ)
    วัตถุประสงค์
    1. เพื่อได้ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากมันเทศญี่ปุ่น ให้ตรงตามความต้องการทางการตลาดในปัจจุบันและความเหมาะสมกับพื้นที่
    รายละเอียดกิจกรรม
    เป็นการศึกษาและงานวิจัยในการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากมันเทศญี่ปุ่น โดยการนำมันเทศญี่ปุ่นที่ขนาดของหัวมันเทศไม่ได้มาตรฐาน ให้มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น ตามความต้องการทางการตลาดในปัจจุบันและความเหมาะสมกับพื้นที่โดยมีกรอบแนวคิดว่ามันเทศญี่ปุ่นที่มีขนาดของหัวมันเทศไม่ได้มาตรฐานล้างทำความสะอาด แบ่ง 2ส่วนส่วนที่ 1ส่วนเปลือกมันเทศนำไปสกัดเพื่อให้ได้สารสกัดหยาบเพื่อวิเคราะห์สารสำคัญและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระส่วนที่ 2 ส่วนเนื้อมันเทศ นำแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารจากมันเทศญี่ปุ่น ทั้งสองส่วนจะผ่านกระบวนการวิเคราะห์วิจัยเพื่อให้ได้ต้นแบบผลิตภัณฑ์ หลังจากนั้นนำความรู้ที่ได้ถ่ายทอดองค์ความรู้ โดยการฝึกปฏิบัติการแปรรูปมันเทศญี่ปุ่น จากต้นแบบผลิตภัณฑ์ (prototype) พร้อมบรรจุภัณฑ์จำนวน 2 ผลิตภัณฑ์
    หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร
    รายวิชาการควบคุมคุณภาพอาหาร (03-054-301) (3 หน่วยกิต) และ การสุขาภิบาลโรงงานและกฎหมายอาหาร (03-054-302)(3 หน่วยกิต)รวม 6 หน่วยกิตจำนวนนักศึกษา1 ราย
    รายวิชาทักษะวิชาชีพทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 2 (03-051-202) (3 หน่วยกิต) และการแปรรูปอาหาร 1 (03-052-202) (3 หน่วยกิต) รวม 6 หน่วยกิตจำนวนนักศึกษา1 ราย
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    3 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    เกษตรกรในพื้นที่จะได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้และสนับสนุนเทคโนโลยีในการผลิต การแปรรูปมันเทศญี่ปุ่น ให้ได้ตามมาตราสินค้าเกษตรปลอดภัย
    ภาคีร่วมสนับสนุน
     
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ค่าตอบเเทนวิทยากรในการอบรมการถ่ายทอดผลงานวิจัยการศึกษาเทคนิคและวิธีการในการเพิ่มมูลค่าการแปรรูปมันเทศญี่ปุ่น

    4 คน 6,000 1 24,000
    ค่าตอบแทนการประสานงาน

    ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

    2 คน 120 20 4,800
    ค่าเช่าสถานที่

    ค่าเช่าสถานที่สำหรับอบรมการถ่ายทอดเทคนิคและวิธีการในการแปรรูปผลิตภัณฑ์

    2 ครั้ง 1,500 1 3,000
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหารและเครื่องของผู้เข้าร่วมอบรม

    50 คน 100 2 10,000
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ค่าอาหารว่างและเครื่องของผู้เข้าร่วมอบรมจำนวน 2 วัน

    50 คน 70 2 7,000
    ค่าถ่ายเอกสาร

    ค่าวัสดุในการจัดทำเอกสารประกอบการอบรม

    50 คน 100 1 5,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ค่าวัตถุดิบ ส่วนผสม และอุปกรณ์บางส่วนในกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์จากมันเทศญี่ปุ่นและการถ่ายทอดองค์ความรู้

    2 ชุด 20,000 1 40,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ค่าบรรจุภัณฑ์ชั้นในและชั้นนอกที่เหมาะสมสำหรับผลิตภัณฑ์จากมันเทศญี่ปุ่น

    2 ชุด 20,000 1 40,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    การผลิตต้นแบบผลิตภัณฑ์ (prototype) พร้อมบรรจุภัณฑ์เพื่อทดสอบทางการตลาด

    2 ชุด 5,000 1 10,000
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

    ค่าชดเชย รถยนต์ส่วนบุคคล

    20 ครั้ง 310 1 6,200
    รวมค่าใช้จ่าย 150,000

    กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมที่ 4 การสร้างช่องทางการตลาดของผลิตภัณฑ์แปรรูปจากมันเทศญี่ปุ่น (ปลายน้ำ)

    ชื่อกิจกรรม
    กิจกรรมที่ 4 การสร้างช่องทางการตลาดของผลิตภัณฑ์แปรรูปจากมันเทศญี่ปุ่น (ปลายน้ำ)
    วัตถุประสงค์
    1. เพื่อสร้างช่องทางการตลาดของผลิตภัณฑ์แปรรูปจากมันเทศญี่ปุ่น ที่เหมาะสมกับพื้นที่ของเกษตรกรในพื้นที่ บ้านคำไผ่ ตำบลหนองกุง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์
    รายละเอียดกิจกรรม
    1. ดำเนินการศึกษาวิจัย ช่องทางการตลาดและศึกษาการรับรู้ผลิตภัณฑ์จากมันเทศญี่ปุ่น
    2. พัฒนาช่องทางการตลาดสมัยใหม่ ควบคู่ไปกับการพัฒนาช่องทางการตลาดแบบดั้งเดิม
    3. สร้างการรับรู้สร้างการรับรู้คุณสมบัติผลิตภัณฑ์มันเทศญี่ปุ่น และการประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์จากมันเทศญี่ปุ่น ผ่านการดำเนินการทางการตลาด อาทิเช่น สร้าง Content Marketing จัดทำ Video บนช่องทาง Youtube และสื่อรูปแบบอื่นๆ ที่ใช้ในการประชาสัมพันธ์
    หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด
    รายวิชาสัมมนาการตลาด (3 หน่วยกิต) จำนวน 1 ราย
    รายวิชาวิจัยการตลาด (3 หน่วยกิต) จำนวน 1 ราย
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    2 มีนาคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ช่องทางการตลาดมันเทศญี่ปุ่นแปรรูปที่เหมาะสมกับพื้นเกษตรกรบ้านคำไผ่ ต.หนองกุง อ.เมืองกาฬสินธุ์
    ภาคีร่วมสนับสนุน
     
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนการประสานงาน

    ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

    2 คน 120 30 7,200
    ค่าตอบแทนการประสานงาน

    ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์ที่ปรึกษาในการลงพื้นที่

    2 คน 240 10 4,800
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหารในการประชุม/อบรม (อาหารกลางวัน 120 บาท อาหารว่าง 35 บาท*2 ครั้ง ต่อวัน)

    50 คน 170 6 51,000
    ค่าถ่ายเอกสาร

    ค่าถ่ายเอกสารแบบสอบถาม

    400 ชุด 5 2 4,000
    ค่าถ่ายเอกสาร

    ค่าจัดทำรูปเล่ม

    8 ชุด 250 1 2,000
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ค่าตอบแทนวิทยากรภายนอก 2 คน * 2 วัน* 1200 บาท

    2 คน 7,200 2 28,800
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

    ค่าเดินทางวิทยากร

    2 คน 3,600 1 7,200
    ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

    ค่าใช้จ่ายในการสร้างสื่อประชาสัมพันธ์ (Content Marketing สำหรับผลิตภัณฑ์มันเมศญี่ปุ่น 2 Content *5000 บาท)

    2 ชิ้น 5,000 1 10,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ค่าใช้จ่ายในการสร้างสื่อประชาสัมพันธ์ (จัดทำคลิปวีดีโอ เพื่อเผยแพร่บนช่องทาง Youtube 5 ชิ้น * 5000 บาท)

    5 ชิ้น 5,000 1 25,000
    ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

    ค่าใช่จ่ายในการประชาสัมพันธ์ (ค่าใช้จ่ายในการจัดทำสก๊ปข่าว จำนวน 2 ครั้ง * 5000 บาท)

    1 ชิ้น 5,000 1 5,000
    ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

    ค่าใช้จ่ายในการประชาสัมพันธ์ (ค่าใช่จ่ายในการจัดกิจกรรมปะชาสัมพันธ์ โดยการจัดงานกินผลิตภัณฑ์มันเทศญี่ปุ่น จำนวน 1 ครั้ง *5000 บาท)

    1 ชิ้น 5,000 1 5,000
    รวมค่าใช้จ่าย 150,000

    กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมที่ 4 การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน

    ชื่อกิจกรรม
    กิจกรรมที่ 4 การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
    วัตถุประสงค์
    1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตมันเทศญี่ปุ่นให้มีคุณภาพได้สินค้าเกษตรปลอดภัย
    2. เพื่อได้ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากมันเทศญี่ปุ่น ให้ตรงตามความต้องการทางการตลาดในปัจจุบันและความเหมาะสมกับพื้นที่
    3. เพื่อสร้างช่องทางการตลาดของผลิตภัณฑ์แปรรูปจากมันเทศญี่ปุ่น ที่เหมาะสมกับพื้นที่ของเกษตรกรในพื้นที่ บ้านคำไผ่ ตำบลหนองกุง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์
    รายละเอียดกิจกรรม
    1. ติดตามผลจากการทำแบบสอบถามเพื่อประเมินผล
    2. สรุปผลการดำเนินงาน
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    16 มีนาคม 2563 ถึง 30 เมษายน 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    รายงานสรุปการดำเนินโครงการ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
     
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าวัสดุสำนักงาน

    ค่าหมึกปริ้นเอกสาร และค่าจัดทำเล่มสรุปผลการดำเนินโครงการ

    1 ชุด 10,000 1 10,000
    รวมค่าใช้จ่าย 10,000

    รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

    ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
    ค่าใช้จ่าย (บาท) 104,800.00 23,000.00 113,000.00 259,200.00 500,000.00
    เปอร์เซ็นต์ (%) 20.96% 4.60% 22.60% 51.84% 100.00%
    ดูงบประมาณตามประเภท

    งบประมาณโครงการ

    จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน บาท

    งบประมาณสมทบจาก จำนวน บาท

    งบประมาณรวม จำนวน บาท

    15. องค์กรภาคีที่ร่วมดำเนินงาน

    ระบุชื่อองค์กรภาคีที่ร่วมดำเนินงาน พร้อมทั้งบทบาทหน้าที่

    คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

    16. การติดตาม/การประเมินผล

    ใช้กระบวนการสภาผู้นำ/สภาชุมชน ที่มีการประชุมหมู่บ้านอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยเดือนละครั้ง และกำหนดให้มีวาระการติดตามประเมินผลโครงการ การจัดทำแผนชุมชน เป็นต้น พร้อมทั้งจัดทีม เพื่อทำหน้าที่ติดตามและประเมินผลเป็นระยะว่าแต่ละโครงการ แต่ละกิจกรรม เป็นตามแผนหรือไม่ มีปัญหาอุปสรรค และต้องปรับปรุงการดำเนินงานอะไร อย่างไรบ้าง สุดท้ายทำเสร็จแล้วจะได้คุณค่าอะไรบ้าง ทั้งนี้ การติดตามประเมินผล ควรระบุการกำกับติดตามกิจกรรมต่างๆ ของโครงการที่ชัดเจน ได้แก่ วิธีการติดตามประเมินผล เครื่องมือในการติดตาม ผู้มีบทบาทในการติดตาม ระยะเวลาในการติดตาม เป็นต้น

    17. แนวทางการพัฒนาเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องยั่งยืนและการขยายผล

    แสดงให้ชัดเจนในเรื่องคาดหวังผลของโครงการว่าจะเกิดอะไรขึ้น และจะนำไปทำอะไร อย่างไร ให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืนในชุมชน/ท้องถิ่น และใครจะเป็นผู้รับผิดชอบในการดำเนินการต่อไป ชุมชนจะทำเองต่อ หรือใช้แหล่งทุนใดในชุมชน ตลอดจนจะมีวิธีการขยายผลจากการดำเนินโครงการนี้อย่างไร และชุมชน หรือผู้อื่นจะใช้ประโยชน์จากผลของโครงการอย่างไร

    18. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้/การเผยแพร่ผลการดำเนินโครงการ

    19. การขอทุนจากแหล่งอื่น

    กรณีมีการขอทุนจากแหล่งอื่น ให้ระบุชื่อแหล่งทุนและจำนวนเงิน

    20. ไฟล์เอกสารประกอบการพัฒนาโครงการ

    ไม่มีไฟล์เอกสารประกอบการพัฒนาโครงการ


    ภาคผนวกที่ 3 ความเห็น

    1. ความเห็นของทีมสนับสนุนวิชาการ (พี่เลี้ยง) และ ผู้ทรงคุณวุฒิ

    ตัวชี้วัดการประเมิน

    1. การมีส่วนร่วม

    คะแนน 5 4 3 2 1

    2. ผู้นำ/แกนชุมชน

    คะแนน 5 4 3 2 1

    การพัฒนาโครงการ

    มีผู้รับผิดชอบโครงการ และแกนนำในชุมชน

    การติดตามประเมินผล

    • เกิดกลไกขับเคลื่อนในพื้นที่ เช่น สภาผู้นำ/กลุ่ม/เครือข่าย

    ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

    ตัวชี้วัดการประเมิน

    3. โครงสร้างองค์กร

    คะแนน 5 4 3 2 1

    การพัฒนาโครงการ

    โครงสร้างชุมชน ทุนของชุมชน
    การวิเคราะห์และอธิบายทุนที่มีอยู่ในชุมชน

    การติดตามประเมินผล

    • เกิดกลไกขับเคลื่อนในพื้นที่ เป็นส่วนสำคัญในโครงสร้างชุมชน เช่น กรรมการหมู่บ้าน กรรมการชุมชน เป็นต้น

    ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

    ตัวชี้วัดการประเมิน

    4. การประเมินปัญหา

    คะแนน 5 4 3 2 1

    5. การถามว่าทำไม

    คะแนน 5 4 3 2 1

    การพัฒนาโครงการ

    การวิเคราะห์สภาพปัญหาในชุมชน/เลือกปัญหา
    การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการปัญหา (คน สภาพแวดล้อมกลไก)
    การวิเคราะห์และจัดทำแนวทางการจัดการปัญหา
    การมีแผนชุมชน

    การติดตามประเมินผล

    • มีฐานข้อมูลชุมชน (ปัญหาของชุมชน , ปัญหาเฉพาะประเด็น)

    ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

    ตัวชี้วัดการประเมิน

    6. การระดมทรัพยากร

    คะแนน 5 4 3 2 1

    7. การเชื่อมโยงภายนอก

    คะแนน 5 4 3 2 1

    การพัฒนาโครงการ

    แผนการดำเนินการมีภาคีร่วมสนับสนุน อะไร อย่างไร งบประมาณที่ร่วมสนับสนุน

    การติดตามประเมินผล

    • การระดมทรัพยากรและการเชื่อมโยงภายนอก มีการบรรจุอยู่ใน แผนชุมชน แผน อบต./เทศบาล แผนของหน่วยงาน

    ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

    ตัวชี้วัดการประเมิน

    8. บทบาทตัวแทน

    คะแนน 5 4 3 2 1

    ตัวแทนภายใน
    • ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นตัวแทนชุมชน มีกระบวนการชี้แจง ประชุมชุมชนก่อนเริ่มโครงการ
    • มีกระบวนการติดตามประเมินผลโครงการโดยชุมชน
    • มีการประเมินผลระหว่างโครงการ
    • มีการประเมินผลหลังการทำโครงการ
    ตัวแทนภายนอก
    • มีระบบพี่เลี้ยง หนุนเสริม เชื่อมประสานกับหน่วยงานภาคีที่เกี่ยวข้องทั้งภายใน และภายนอกชุมชน

    การพัฒนาโครงการ

    ตัวแทนภายใน และตัวแทนภายนอก

    การติดตามประเมินผล

    • ผู้รับผิดชอบโครงการเข้าไปมีส่วนร่วมในกลุ่ม / เครือข่าย หรือ หน่วยงานทั้งภายในและภายนอกชุมชน
    • ผู้รับผิดชอบโครงการยกระดับเป็นพี่เลี้ยง

    ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

    ตัวชี้วัดการประเมิน

    9. การบริหารจัดการ

    คะแนน 5 4 3 2 1

    การพัฒนาโครงการ

    • การใช้ระบบพัฒนาโครงการบนเว็บไซต์

    การติดตามประเมินผล

    • การใช้ระบบติดตามประเมินผลบนเว็บไซต์ (รายงาน, การเงิน)

    ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

    ตัวชี้วัดการประเมิน

    10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
    10.1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
    • ความรู้ใหม่/องค์ความรู้ใหม่
    • สิ่งประดิษฐ์/ผลผลิตใหม่
    • กระบวนการใหม่
    • วิธีการทำงาน/การจัดการใหม่
    • การเกิดกลุ่ม/โครงสร้างในชุมชนใหม่
    • แหล่งเรียนรู้ใหม่

    การติดตามประเมินผล

    • การเกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    ตัวชี้วัดการประเมิน

    10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
    10.2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
    • การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
    • การบริโภค
    • การออกกำลังกาย
    • การลด ละ เลิก อบายมุข
    • การลดพฤติกรรมเสี่ยง
    • การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
    • การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต
    • พฤติกรรมการจัดการตนเองครอบครัว

    การติดตามประเมินผล

    • การเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    ตัวชี้วัดการประเมิน

    10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
    10.3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
    • กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ
    • สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
    • เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ
    • มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

    การติดตามประเมินผล

    • การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    ตัวชี้วัดการประเมิน

    10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
    10.4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
    • มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
    • มีธรรมนูญของชุมชน
    • อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น

    การติดตามประเมินผล

    • การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    ตัวชี้วัดการประเมิน

    10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
    10.5 เกิดกระบวนการชุมชน
    • เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย
    • การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
    • การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน
    • มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
    • เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
    • เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ

    การติดตามประเมินผล

    • การเกิดกระบวนการชุมชน

    ตัวชี้วัดการประเมิน

    10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
    10.6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
    • ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
    • การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
    • การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
    • ชุมชนมีความเอื้ออาทร
    • มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

    การติดตามประเมินผล

    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คะแนนตัวชี้วัดการประเมิน

    คะแนนตัวชี้วัด = 0/45 = 0.00%

    กรุณาคลิกรีเฟรชเพื่อคำนวนคะแนนตัวชี้วัดใหม่

    2. สรุปภาพรวมข้อเสนอโครงการ

    3. ความเห็นภาพรวมของผู้ทรงคุณวุฒิ

    <