การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตยางพาราแผ่นดิบกลุ่มผู้ผลิตยางพาราบ้านหนองป่าอ้อย

สำหรับเจ้าหน้าที่

รหัสโครงการ :

วันที่ :         /              /25       

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ

การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตยางพาราแผ่นดิบกลุ่มผู้ผลิตยางพาราบ้านหนองป่าอ้อย

ควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

2. ประเภทโครงการ

** โครงการใหม่ หมายถึง เป็นโครงการที่ยังไม่เคยได้รับทุนสนับสนุน
** โครงการต่อเนื่อง หมายถึง เป็นโครงการต่อเนื่องจากโครงการที่เคยได้รับทุน

3. องค์กร/คณะบุคคล ที่เสนอโครงการ (กรณีขอทุนในนามองค์กร/คณะบุคคล)

1. ชื่อองค์กร/คณะบุคคล


4. ผู้รับผิดชอบโครงการ

1. ชื่อ-นามสกุลผู้รับผิดชอบโครงการ

คำนำหน้าชื่อ ชื่อ นามสกุล

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก    *************

ที่อยู่ตามบัตรประชาชน

บ้านเลขที่ ** หมู่ที่ ตรอก/ซอย ถนน ตำบล/แขวง อำเภอ/เขต จังหวัด รหัสไปรษณีย์

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก ******** เบอร์มือถือ ******** โทรสาร ******** อีเมล์ ********

รายชื่อผู้ร่วมทำโครงการ/คณะทำงาน (อย่างน้อย 2 คน)

ผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการ คนที่ 1

คำนำหน้าชื่อ ชื่อ นามสกุล

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก    *************

ที่อยู่ตามบัตรประชาชน

บ้านเลขที่ ** หมู่ที่ ตรอก/ซอย ถนน ตำบล/แขวง อำเภอ/เขต จังหวัด รหัสไปรษณีย์

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก ******** เบอร์มือถือ ******** โทรสาร ******** อีเมล์ ********

บทบาทหน้าที่/ความรับผิดชอบในโครงการนี้ ตำแหน่ง สังกัด

ผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการ คนที่ 2

คำนำหน้าชื่อ ชื่อ นามสกุล

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก    *************

ที่อยู่ตามบัตรประชาชน

บ้านเลขที่ ** หมู่ที่ ตรอก/ซอย ถนน ตำบล/แขวง อำเภอ/เขต จังหวัด รหัสไปรษณีย์

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก ******** เบอร์มือถือ ******** โทรสาร ******** อีเมล์ ********

บทบาทหน้าที่/ความรับผิดชอบในโครงการนี้ ตำแหน่ง สังกัด

5. ท่านและองค์กรของท่าน จัดอยู่ในองค์กรประเภทใด

ระบุ

6. ความสอดคล้องกับแผนงาน

ยังไม่มีรายการความสอดคล้องในระบบ

7. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

8. ความเป็นมา/ หลักการและเหตุผล/ ความสำคัญของปัญหา

สถานการณ์ปัญหา

สถานการณ์ปัญหาขนาด
ระบุความเป็นมา / สถานการณ์ / หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติมในช่องด้านล่าง

9. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 02/01/2020 กำหนดเสร็จ 30/09/2020

10. ประเด็นหลัก

เลือกประเด็นหลักของโครงการ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)

ระบุ

11. กลุ่มเป้าหมายที่คาดว่าจะได้รับผลประโยชน์และพื้นที่ดำเนินงาน

ระบุกลุ่มเป้าหมายว่าเป็นใครบ้าง จำนวนเท่าไร มีวิธีการคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายอย่างไร หากมีกลุ่มเป้าหมายหลายกลุ่มควรระบุกลุ่มเป้าหมายหลักและเป้าหมายรองด้วย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
นางสาวพรพรรณ แก้วก่อง 1461400089161 1
นางสาววชิราภรณ์ คัสโส 1460600159480 1
นางสาวศิรินยา โยธสิงห์ 1469900480192 1
นางสาวหงษ์ลดา แก้วกาสี 1469900403171 1
นางสาวหนึ่งฤทัย พลเยี่ยม 1469900422788 1
นายทัศนัย รัดชำ 1459900493359 1
นายปริญญา หงษ์สาหิน 1440800241473 1
นายภานุวัฒน์ โยธาพล 1461400098038 1
นายสมพงษ์ พันธ์สิ่ว 1480400090672 1
บ้านหนองป่าอ้อย หมู่ 1 ต.ลำห้วยหลัว อ.สมเด็จ 30

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ สมเด็จ ลำห้วยหลัว

12. วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด/กิจกรรมการดำเนินงาน

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อออกแบบและสร้างโรงอบแห้งยางพาราแผ่นแบบพาราโบลาโดมที่ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนแบบท่อเทอร์โมไซฟอนที่ใช้ชีวมวลเป็นเชื้อเพลิง

ได้โรงอบแห้งยางพาราแผ่นแบบพาราโบลาโดมที่มีประสิทธิภาพในการอบแห้งยางพาราแผ่น

1.00 1.00
2 เพื่อหาสมรรถนะของโรงอบแห้งยางพาราแผ่นแบบพาราโบลาโดม

ยางพาราแผ่นที่ผ่านการอบแห้งจากโรงอบแห้งยางพาราแผ่นแบบพาราโบลาโดมมีมาตรฐานเทียบเท่ากับมาตรฐานของยางแผ่นดิบคุณภาพ

100.00 80.00
3 เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพของยางพาราแผ่นที่อบโรงอบแห้งยางพาราแผ่นแบบพาราโบลาโดมเปรียบเทียบกับเกษตรกร และเปรียบเทียบกับมาตรฐานของยางแผ่นดิบคุณภาพ

ยางพาราแผ่นที่ผ่านการอบแห้งจากโรงอบแห้งยางพาราแผ่นแบบพาราโบลาโดมมีราคาเพิ่มสูงกว่าการอบแห้งแบบเดิม

100.00 90.00
4 เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับกลุ่มเกษตรกรทำยางพาราแผ่นดิบบ้านหนองป่าอ้อย

เกษตรกรกลุ่มทำยางพาราแผ่นมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการขายยางพาราแผ่น

30.00 20.00
5 เพื่อให้นักศึกษาเกิดองค์ความรู้ใหม่ และเกิดทักษะด้านอื่น ๆ จากนอกห้องเรียน

นักศึกษามีความรู้ ความสามารถ ในการผลิตยางแผ่นดิบ การติดต่อการซื้อขายยางแผ่นกับผู้ค้า ลูกค้า และมีทักษะในการออกแบบและสร้างโรงอบแห้ง

100.00 80.00

13. แนวทาง/วิธีการสำคัญ

14. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ศึกษาปัญหา ค้นคว้าข้อมูลการทำยางพาราแผ่น

ชื่อกิจกรรม
ศึกษาปัญหา ค้นคว้าข้อมูลการทำยางพาราแผ่น
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อออกแบบและสร้างโรงอบแห้งยางพาราแผ่นแบบพาราโบลาโดมที่ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนแบบท่อเทอร์โมไซฟอนที่ใช้ชีวมวลเป็นเชื้อเพลิง
รายละเอียดกิจกรรม
โครงการวิจัยนี้เป็นโครงการวิจัยที่ลงสู่ชุมชน ดังนั้นต้องทราบข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มเกษตรกรสวนยาง จึงได้นำนักศึกษาไปลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูล ขั้นตอนและวิธีการเกี่ยวกับการทำยางพาราแผ่นดิบ เพื่อให้ทราบปัญหาในการทำยางแผ่นดิบ
ระยะเวลาดำเนินงาน
2 มกราคม 2563 ถึง 15 มกราคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1. นักศึกษาได้รับข้อมูลของขั้นตอนและวิธีการเกี่ยวกับการทำยางพาราแผ่นดิบ และทราบปัญหาในการทำยางแผ่นดิบ
ภาคีร่วมสนับสนุน
 
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนอาจารย์ที่ปรึกษาลงพื้นที่ 5 คน x 120 บาท x 5 ครั้ง

5 คน 120 5 3,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนนักศึกษา 9 คน x 120 บาท x 5 ครั้ง

9 คน 120 5 5,400
ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม

ค่าอาหาร และอาหารว่าง 30 คน x 150 บาท x 5 ครั้ง

30 คน 150 5 22,500
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยยานพาหนะ

1 เที่ยว 500 5 2,500
ค่าเช่ารถ

ค่าเช่าพานักศึกษาไปลงพื้นที่

1 เที่ยว 500 5 2,500
ค่าวัสดุสำนักงาน

ปากกา ยางลบ ดินสอ น้ำยาลบคำผิด

1 ชุด 320 1 320
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชิ้น 1,000 1 1,000
รวมค่าใช้จ่าย 37,220

กิจกรรมที่ 2 แนวทางในการแก้ปัญหาของการทำยางแผ่นดิบ

ชื่อกิจกรรม
แนวทางในการแก้ปัญหาของการทำยางแผ่นดิบ
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อออกแบบและสร้างโรงอบแห้งยางพาราแผ่นแบบพาราโบลาโดมที่ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนแบบท่อเทอร์โมไซฟอนที่ใช้ชีวมวลเป็นเชื้อเพลิง
รายละเอียดกิจกรรม
1. นำเอาปัญหาในการทำยางแผ่นดิบมาวิเคราะห์ เพื่อจะหาแนวทางในการแก้ปัญหา
2. นำเอาเทคโนโลยี และนวัฒกรรมเข้าไปช่วยแก้ไขปัญหาในการทำยางแผ่นดิบ
3. ออกแบบและพัฒนาโรงอบแห้งยางพาราแผ่นแบบพาราโบลาโดมที่ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนแบบท่อเทอร์โมไซฟอนที่ใช้ชีวมวลเป็นเชื้อเพลิง
ระยะเวลาดำเนินงาน
16 มกราคม 2563 ถึง 31 มกราคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1. ผู้วิจัยและนักศึกษา ทราบถึงปัญหาในการทำยางแผ่นดิบ
2. ได้เทคโนโลยี และนวัฒกรรมที่สามารถแก้ไขปัญหาในการทำยางแผ่นดิบ
ภาคีร่วมสนับสนุน
 
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนอาจารย์ที่ปรึกษา 5 คน x 120 บาท x 5 ครั้ง (ทีมวิจัยร่วมประชุมหารือ)

5 คน 120 5 3,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนอาจารย์นักศึกษา 2 คน x 120 บาท x 5 ครั้ง (ทีมวิจัยร่วมประชุมหารือ)

9 คน 120 5 5,400
รวมค่าใช้จ่าย 8,400

กิจกรรมที่ 3 ขั้นตอนการสร้างโรงอบแห้งยางพาราแผ่นแบบพาราโบลาโดม

ชื่อกิจกรรม
ขั้นตอนการสร้างโรงอบแห้งยางพาราแผ่นแบบพาราโบลาโดม
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อออกแบบและสร้างโรงอบแห้งยางพาราแผ่นแบบพาราโบลาโดมที่ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนแบบท่อเทอร์โมไซฟอนที่ใช้ชีวมวลเป็นเชื้อเพลิง
รายละเอียดกิจกรรม
1. สร้างโรงอบแห้งยางพาราแผ่นแบบพาราโบลาโดม ขนาด กว้าง 2 เมตร ยาว 3.5 เมตร สูง 2.5 เมตร ใช้ท่อเหล็กขนาด 2 นิ้ว ดัดโครงสร้างให้เป็นลักษณะพาราโบลา จากนั้นใช้แผ่นโพลีคาร์บอเนตแบบใสทำหลังคา และปิดทุกด้านของโรงอบแห้ง ภายในโรงอบแห้งเทพื้นด้วยปูนซีเมนต์และทาพื้นสีดำเพื่อให้ดูดกลืนรังสีแสงอาทิตย์
2. สร้างเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนแบบท่อเทอร์โมไซฟอน โดยท่อเทอร์โมไซฟอนทำมาจากท่อเหล็กกล้าไร้สนิมนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 25.4 มิลลิเมตร หนา 2 มิลลิเมตร ความยาวในส่วนรับความร้อน 200 มิลลิเมตร ส่วนคายความร้อน 400 มิลลิเมตร จากนั้นเติมสารทำงาน นำท่อเทอร์โมไซฟอนที่ได้ทั้งหมดจากการคำนวณไปติดตั้งกับห้องเผาไหม้
3. ทำการประกอบและติดตั้งอุปกรณ์ทุกชิ้นเพื่อทำการทดสอบ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1. ได้โรงอบแห้งยางพาราแผ่นแบบพาราโบลาโดม
ภาคีร่วมสนับสนุน
 
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนอาจารย์ที่ปรึกษาในการสร้างชุดทดลอง 5 คน x 120 บาท x 10 ครั้ง

5 คน 120 10 6,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนนักศึกษาในการสร้างชุดทดลอง 9 คน x 120 บาท X 15 ครั้ง

9 คน 120 15 16,200
ค่าที่พักตามจริง

ค่าที่พักนักศึกษา 1 เดือน x 5,000 บาท

1 ครั้ง 5,000 1 5,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ท่อเหล็กกล้าไร้สนิมขนาด 1 นิ้ว หนา 2 มม. (10 เส้น x 6 เมตร x 600บาท)

10 ชิ้น 3,600 1 36,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ท่อเหล็กกล้าไร้สนิมขนาด 2 นิ้ว หนา 2 มม. (5 เส้น x 6 เมตร x 1,200 บาท)

5 ชิ้น 7,200 1 36,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

แผ่นเหล็กขนาด 1.2×2.4 ม. หนา 10 มม. (1 แผ่น x 5,000)

1 ชิ้น 5,000 1 5,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

แผ่นเหล็กขนาด 1.2×2.4 ม. หนา 2 มม. (3 แผ่น x 2,000)

3 ชิ้น 2,000 1 6,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

เหล็กกล่องขนาด 1 นิ้ว x 1 นิ้ว หนา 2 มม. (10 เส้น ×500 บาท)

10 ชิ้น 500 1 5,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ท่อเหล็กขนาด 1 นิ้ว หนา 2 มม. (10 เส้น x 1,000 บาท)

10 ชิ้น 1,000 1 10,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

เหล็กฉากขนาด 1 นิ้ว x 1 นิ้ว หนา 2 มม. (10 เส้น x 1,200 บาท)

10 ชิ้น 1,200 1 12,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

เหล็กเส้นกลม ขนาด 5 มม. (10 เส้น x 500 บาท)

10 ชิ้น 500 1 5,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ปืนยิงกาวซิลิโคน+กาวซิลิโคน (10 อัน × 250 บาท)

10 ชิ้น 250 1 2,500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

สารทำงานสำหรับท่อความร้อน (20 ขวด × 350 บาท)

20 คน 350 1 7,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ยางพาราแผ่นสด (100 แผ่น x 200 บาท) ตลอดการทดลอง

200 คน 200 1 40,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

แผ่นโพลีคาร์บอเนต (20 แผ่น x 1,500 บาท)

20 ชิ้น 1,500 1 30,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

พัดลมดูดอากาศ (4 ตัว x 2,500 บาท)

4 ชิ้น 2,500 1 10,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

แผงโชล่าเซลล์ขนาด 150 วัตต์ (1 แผง ×10,000 บาท)

1 ชิ้น 10,000 1 10,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

แบตเตอรี่แบบ deep circle (1 ลูก × 10,000 บาท)

1 ชิ้น 10,000 1 10,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ลวดเชื่อม 2.6 มม. (4 ห่อ × 250 บาท)

4 ชิ้น 250 1 1,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ลวดเชื่อม 3.2 มม. (4 ห่อ × 350 บาท)

4 ชิ้น 350 1 1,400
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

สายเทอร์โมคัปเปิ้ล ย่านการวัด -50 ถึง 1200 °C (10 ชิ้น × 2,000 บาท)

10 ชิ้น 2,000 1 20,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ชุดวัดอุณหภูมี ชุดควบคุมความเร็วลม

1 ชุด 20,000 1 20,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าปรับพื้นที่ ทำลาน เทปูน ขนาดกว้าง 5 x 5 ม.

1 ชุด 15,000 1 15,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าฉนวนกันความร้อน

1 ชุด 10,000 1 10,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าอุปกรณ์ในการทำยางแผ่นสด

1 ชุด 10,000 1 10,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ปืนยิงรีเว็ตและลูกยิงรีเว็ต

1 ชุด 1,500 1 1,500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

เทปกาวอลูมีเนียม 5 ชิ้น x 200 บาท

5 ชิ้น 200 1 1,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

สายไฟแบบล้อม้วนเก็บ 2 ชิ้น x 1,500 บาท

2 ชิ้น 1,500 1 3,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยยานพาหนะ

10 เที่ยว 500 1 5,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

แผ่นเหล็กขนาด 1.2×2.4 ม. หนา 3 มม. (2 แผ่น x 2,500)

2 ชิ้น 2,500 1 5,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ชุดดอกสว่าน 1 กล่อง

1 ชุด 2,000 1 2,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

เหล็กแบนขนาด 2 นิ้ว หนา 2.5 มม. (10 เส้น x 500 บาท)

10 ชิ้น 500 1 5,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

เหล็กรางน้ำขนาด 3 นิ้ว 5 มม. (4 เส้น x 2,500 บาท)

4 ชิ้น 2,500 1 10,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

เหล็กรางน้ำขนาด 4 นิ้ว 5 มม. (2 เส้น x 3,500 บาท)

2 ชิ้น 3,500 1 7,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

เหล็กกล้าไร้สนิม 1.2×2.4 ม. หนา 3 มม. (1 แผ่น x 5,000)

1 ชิ้น 5,000 1 5,000
รวมค่าใช้จ่าย 373,600

กิจกรรมที่ 4 การทดสอบโรงอบแห้งยางพาราแผ่นแบบพาราโบลาโดม

ชื่อกิจกรรม
การทดสอบโรงอบแห้งยางพาราแผ่นแบบพาราโบลาโดม
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อหาสมรรถนะของโรงอบแห้งยางพาราแผ่นแบบพาราโบลาโดม
รายละเอียดกิจกรรม
1. ให้นักศึกษาและกลุ่มสวนยางทำการเตรียมขึ้นรูปยางแผ่นสด
2. นำยางแผ่นสดที่เตรียมไว้เข้าโรงอบแห้งเพื่อทดสอบสมรรถนะโรงอบแห้ง
3. ทำการอบแห้งที่ระยะเวลา 24, 48, 72 และ 96 ชั่วโมง
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1. ได้โรงอบแห้งยางพาราแผ่นแบบพาราโบลาโดมที่มีประสิทธิภาพ
ภาคีร่วมสนับสนุน
 
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนอาจารย์ที่ปรึกษา 4 คน x 120 บาท x 15 ครั้ง

5 คน 120 15 9,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนนักศึกษา 9 คน x 120 บาท x 20 ครั้ง

9 คน 120 20 21,600
ค่าที่พักตามจริง

ค่าที่พักสำหรับนักศึกษา 1 เดือน x 5,000 บาท

1 ครั้ง 5,000 1 5,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยยานพาหนะในการเดินทาง

15 เที่ยว 500 1 7,500
ค่าวัสดุสำนักงาน

กระดาษ A4 4 รีม x 150 บาท

4 ชิ้น 150 1 600
ค่าวัสดุสำนักงาน

แฟ้มเก็บข้อมูล 10 ชิ้น x 100 บาท

10 ชิ้น 100 1 1,000
รวมค่าใช้จ่าย 44,700

กิจกรรมที่ 5 วิเคราะห์ผลการทดลอง

ชื่อกิจกรรม
วิเคราะห์ผลการทดลอง
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพของยางพาราแผ่นที่อบโรงอบแห้งยางพาราแผ่นแบบพาราโบลาโดมเปรียบเทียบกับเกษตรกร และเปรียบเทียบกับมาตรฐานของยางแผ่นดิบคุณภาพ
  2. เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับกลุ่มเกษตรกรทำยางพาราแผ่นดิบบ้านหนองป่าอ้อย
  3. เพื่อให้นักศึกษาเกิดองค์ความรู้ใหม่ และเกิดทักษะด้านอื่น ๆ จากนอกห้องเรียน
รายละเอียดกิจกรรม
1. วิเคราะห์หาความชื้นที่คงเหลือในยางแผ่นแต่ละการทดลอง
2. เปรียบเทียบคุณภาพของยางแผ่นที่อบแห้งจากโรงอบแห้งยางพาราแผ่นแบบพาราโบลาโดมกับเกษตรกร และเปรียบเทียบกับมาตรฐานของยางแผ่นดิบคุณภาพ (เปรียบเทียบความชื้นและสี)
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2563 ถึง 30 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1. ได้ยางแผ่นดิบที่มีคุณภาพสูงกว่าแบบเดิมของเกษตรกรสวนยาง มีคุณภาพเทียบเท่ากับมาตรฐานของยางแผ่นดิบคุณภาพ
2. กลุ่มเกษตรกรสวนยางขายยางแผ่นดิบในราคาสูงกว่าเดิม
3. เกษตรกรสวนยางมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการขายยางพาราแผ่นดิบ
4. นักศึกษาได้จัดระบบการขายยางแผ่นดิบกับผู้รับซื้อยางแผ่นดิบ
ภาคีร่วมสนับสนุน
 
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนอาจารย์ที่ปรึกษาในการวิเคราะห์ผล 4 คน x 120 บาท x 5 ครั้ง

5 คน 120 5 3,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนนักศึกษาในการวิเคราะห์ผล 9 คน x 120 บาท x 10 ครั้ง

9 คน 120 10 10,800
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยยานพาหนะอาจารย์ที่ปรึกษา 5 คน ไปวิเคราะห์ผลการทดลอง

5 เที่ยว 500 1 2,500
ค่าเช่ารถ

ค่าเช่ารถให้นักศึกษา 8 คน ไปวิเคราะห์ผลการทดลอง

10 เที่ยว 500 1 5,000
รวมค่าใช้จ่าย 21,300

กิจกรรมที่ 6 สรุปผลการดำเนินโครงการ

ชื่อกิจกรรม
สรุปผลการดำเนินโครงการ
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับกลุ่มเกษตรกรทำยางพาราแผ่นดิบบ้านหนองป่าอ้อย
  2. เพื่อให้นักศึกษาเกิดองค์ความรู้ใหม่ และเกิดทักษะด้านอื่น ๆ จากนอกห้องเรียน
รายละเอียดกิจกรรม
1. จัดประชุมชี้แจงแนวทางการใช้งานและการบำรุงรักษาโรงอบแห้งยางพาราแผ่นแบบพาราโบลาโดม
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พ.ค. 2563 ถึง 15 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1. ได้รับทราบแนวทาง ข้อตกลงร่วมกันในการใช้งานและขั้นตอนการบำรุงรักษาโรงอบแห้งยางพาราแผ่นแบบพาราโบลาโดม
2. นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการทำยางแผ่นดิบ และสามารถออกแบบและสร้างโรงอบแห้งยางพาราแผ่นแบบพาราโบลาโดม
3. เกิดระบบการซื้อขายยางแผ่นที่ทันสมัยใหม่ เพื่อให้เกษตรกรไม่ถูกเอาเปรียบ
ภาคีร่วมสนับสนุน
 
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนอาจารย์ที่ปรึกษา 5 คน x 120 บาท

5 คน 120 1 600
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนนักศึกษา 9 คน x 120 บาท

9 คน 120 1 1,080
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชิ้น 1,000 1 1,000
ค่าเช่ารถ

ค่าเช่ารถให้นักศึกษา

1 เที่ยว 500 1 500
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยยานพาหนะอาจารย์ที่ปรึกษา

1 เที่ยว 500 1 500
ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม

ค่าอาหาร และอาหารว่าง

30 คน 150 1 4,500
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าถ่ายเอกสารทำเล่มคู่มือการใช้งาน และการบำรุงรักษา

30 คน 150 1 4,500
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าจ้างทำเล่มสรุปผลดำเนินโครงการ

7 ชิ้น 300 1 2,100
รวมค่าใช้จ่าย 14,780

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 112,080.00 2,000.00 42,600.00 343,320.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 22.42% 0.40% 8.52% 68.66% 100.00%
ดูงบประมาณตามประเภท

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน บาท

งบประมาณสมทบจาก จำนวน บาท

งบประมาณรวม จำนวน บาท

15. องค์กรภาคีที่ร่วมดำเนินงาน

ระบุชื่อองค์กรภาคีที่ร่วมดำเนินงาน พร้อมทั้งบทบาทหน้าที่

เทศบาลตำบลลำห้วยหลัว อำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์

16. การติดตาม/การประเมินผล

ใช้กระบวนการสภาผู้นำ/สภาชุมชน ที่มีการประชุมหมู่บ้านอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยเดือนละครั้ง และกำหนดให้มีวาระการติดตามประเมินผลโครงการ การจัดทำแผนชุมชน เป็นต้น พร้อมทั้งจัดทีม เพื่อทำหน้าที่ติดตามและประเมินผลเป็นระยะว่าแต่ละโครงการ แต่ละกิจกรรม เป็นตามแผนหรือไม่ มีปัญหาอุปสรรค และต้องปรับปรุงการดำเนินงานอะไร อย่างไรบ้าง สุดท้ายทำเสร็จแล้วจะได้คุณค่าอะไรบ้าง ทั้งนี้ การติดตามประเมินผล ควรระบุการกำกับติดตามกิจกรรมต่างๆ ของโครงการที่ชัดเจน ได้แก่ วิธีการติดตามประเมินผล เครื่องมือในการติดตาม ผู้มีบทบาทในการติดตาม ระยะเวลาในการติดตาม เป็นต้น

17. แนวทางการพัฒนาเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องยั่งยืนและการขยายผล

แสดงให้ชัดเจนในเรื่องคาดหวังผลของโครงการว่าจะเกิดอะไรขึ้น และจะนำไปทำอะไร อย่างไร ให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืนในชุมชน/ท้องถิ่น และใครจะเป็นผู้รับผิดชอบในการดำเนินการต่อไป ชุมชนจะทำเองต่อ หรือใช้แหล่งทุนใดในชุมชน ตลอดจนจะมีวิธีการขยายผลจากการดำเนินโครงการนี้อย่างไร และชุมชน หรือผู้อื่นจะใช้ประโยชน์จากผลของโครงการอย่างไร

18. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้/การเผยแพร่ผลการดำเนินโครงการ

19. การขอทุนจากแหล่งอื่น

กรณีมีการขอทุนจากแหล่งอื่น ให้ระบุชื่อแหล่งทุนและจำนวนเงิน

20. ไฟล์เอกสารประกอบการพัฒนาโครงการ

ไม่มีไฟล์เอกสารประกอบการพัฒนาโครงการ


ภาคผนวกที่ 3 ความเห็น

1. ความเห็นของทีมสนับสนุนวิชาการ (พี่เลี้ยง) และ ผู้ทรงคุณวุฒิ

ตัวชี้วัดการประเมิน

1. การมีส่วนร่วม

คะแนน 5 4 3 2 1

2. ผู้นำ/แกนชุมชน

คะแนน 5 4 3 2 1

การพัฒนาโครงการ

มีผู้รับผิดชอบโครงการ และแกนนำในชุมชน

การติดตามประเมินผล

  • เกิดกลไกขับเคลื่อนในพื้นที่ เช่น สภาผู้นำ/กลุ่ม/เครือข่าย

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

ตัวชี้วัดการประเมิน

3. โครงสร้างองค์กร

คะแนน 5 4 3 2 1

การพัฒนาโครงการ

โครงสร้างชุมชน ทุนของชุมชน
การวิเคราะห์และอธิบายทุนที่มีอยู่ในชุมชน

การติดตามประเมินผล

  • เกิดกลไกขับเคลื่อนในพื้นที่ เป็นส่วนสำคัญในโครงสร้างชุมชน เช่น กรรมการหมู่บ้าน กรรมการชุมชน เป็นต้น

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

ตัวชี้วัดการประเมิน

4. การประเมินปัญหา

คะแนน 5 4 3 2 1

5. การถามว่าทำไม

คะแนน 5 4 3 2 1

การพัฒนาโครงการ

การวิเคราะห์สภาพปัญหาในชุมชน/เลือกปัญหา
การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการปัญหา (คน สภาพแวดล้อมกลไก)
การวิเคราะห์และจัดทำแนวทางการจัดการปัญหา
การมีแผนชุมชน

การติดตามประเมินผล

  • มีฐานข้อมูลชุมชน (ปัญหาของชุมชน , ปัญหาเฉพาะประเด็น)

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

ตัวชี้วัดการประเมิน

6. การระดมทรัพยากร

คะแนน 5 4 3 2 1

7. การเชื่อมโยงภายนอก

คะแนน 5 4 3 2 1

การพัฒนาโครงการ

แผนการดำเนินการมีภาคีร่วมสนับสนุน อะไร อย่างไร งบประมาณที่ร่วมสนับสนุน

การติดตามประเมินผล

  • การระดมทรัพยากรและการเชื่อมโยงภายนอก มีการบรรจุอยู่ใน แผนชุมชน แผน อบต./เทศบาล แผนของหน่วยงาน

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

ตัวชี้วัดการประเมิน

8. บทบาทตัวแทน

คะแนน 5 4 3 2 1

ตัวแทนภายใน
  • ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นตัวแทนชุมชน มีกระบวนการชี้แจง ประชุมชุมชนก่อนเริ่มโครงการ
  • มีกระบวนการติดตามประเมินผลโครงการโดยชุมชน
  • มีการประเมินผลระหว่างโครงการ
  • มีการประเมินผลหลังการทำโครงการ
ตัวแทนภายนอก
  • มีระบบพี่เลี้ยง หนุนเสริม เชื่อมประสานกับหน่วยงานภาคีที่เกี่ยวข้องทั้งภายใน และภายนอกชุมชน

การพัฒนาโครงการ

ตัวแทนภายใน และตัวแทนภายนอก

การติดตามประเมินผล

  • ผู้รับผิดชอบโครงการเข้าไปมีส่วนร่วมในกลุ่ม / เครือข่าย หรือ หน่วยงานทั้งภายในและภายนอกชุมชน
  • ผู้รับผิดชอบโครงการยกระดับเป็นพี่เลี้ยง

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

ตัวชี้วัดการประเมิน

9. การบริหารจัดการ

คะแนน 5 4 3 2 1

การพัฒนาโครงการ

  • การใช้ระบบพัฒนาโครงการบนเว็บไซต์

การติดตามประเมินผล

  • การใช้ระบบติดตามประเมินผลบนเว็บไซต์ (รายงาน, การเงิน)

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

ตัวชี้วัดการประเมิน

10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
10.1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
  • ความรู้ใหม่/องค์ความรู้ใหม่
  • สิ่งประดิษฐ์/ผลผลิตใหม่
  • กระบวนการใหม่
  • วิธีการทำงาน/การจัดการใหม่
  • การเกิดกลุ่ม/โครงสร้างในชุมชนใหม่
  • แหล่งเรียนรู้ใหม่

การติดตามประเมินผล

  • การเกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

ตัวชี้วัดการประเมิน

10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
10.2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
  • การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
  • การบริโภค
  • การออกกำลังกาย
  • การลด ละ เลิก อบายมุข
  • การลดพฤติกรรมเสี่ยง
  • การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
  • การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต
  • พฤติกรรมการจัดการตนเองครอบครัว

การติดตามประเมินผล

  • การเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

ตัวชี้วัดการประเมิน

10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
10.3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
  • กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ
  • สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
  • เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ
  • มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

การติดตามประเมินผล

  • การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

ตัวชี้วัดการประเมิน

10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
10.4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
  • มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
  • มีธรรมนูญของชุมชน
  • อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น

การติดตามประเมินผล

  • การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

ตัวชี้วัดการประเมิน

10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
10.5 เกิดกระบวนการชุมชน
  • เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย
  • การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
  • การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน
  • มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
  • เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
  • เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ

การติดตามประเมินผล

  • การเกิดกระบวนการชุมชน

ตัวชี้วัดการประเมิน

10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
10.6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
  • ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
  • การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
  • การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
  • ชุมชนมีความเอื้ออาทร
  • มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

การติดตามประเมินผล

  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คะแนนตัวชี้วัดการประเมิน

คะแนนตัวชี้วัด = 0/45 = 0.00%

กรุณาคลิกรีเฟรชเพื่อคำนวนคะแนนตัวชี้วัดใหม่

2. สรุปภาพรวมข้อเสนอโครงการ

3. ความเห็นภาพรวมของผู้ทรงคุณวุฒิ

<