สำหรับเจ้าหน้าที่

รหัสโครงการ :

วันที่ :         /              /25       

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ

การพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต

ควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

2. ประเภทโครงการ

** โครงการใหม่ หมายถึง เป็นโครงการที่ยังไม่เคยได้รับทุนสนับสนุน
** โครงการต่อเนื่อง หมายถึง เป็นโครงการต่อเนื่องจากโครงการที่เคยได้รับทุน

3. องค์กร/คณะบุคคล ที่เสนอโครงการ (กรณีขอทุนในนามองค์กร/คณะบุคคล)

1. ชื่อองค์กร/คณะบุคคล

มหาวิทยาลัยพะเยา


19 2 พหลโยธิน แม่กา เมือง พะเยา 56000

054466666 0614944469 warachm@gmail.com

4. ผู้รับผิดชอบโครงการ

1. ชื่อ-นามสกุลผู้รับผิดชอบโครงการ

คำนำหน้าชื่อ ดร ชื่อ วารัชต์ นามสกุล มัธยมบุรุษ

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก    *************

คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา

ที่อยู่ตามบัตรประชาชน

บ้านเลขที่ ** หมู่ที่ 2 ตรอก/ซอย ถนน พหลโยธิน ตำบล/แขวง แม่กา อำเภอ/เขต เมือง จังหวัด พะเยา รหัสไปรษณีย์ 56000

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก ******** เบอร์มือถือ ******** โทรสาร ******** อีเมล์ ********

รายชื่อผู้ร่วมทำโครงการ/คณะทำงาน (อย่างน้อย 2 คน)

ผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการ คนที่ 1

คำนำหน้าชื่อ ชื่อ นามสกุล

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก    *************

ที่อยู่ตามบัตรประชาชน

บ้านเลขที่ ** หมู่ที่ ตรอก/ซอย ถนน ตำบล/แขวง อำเภอ/เขต จังหวัด รหัสไปรษณีย์

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก ******** เบอร์มือถือ ******** โทรสาร ******** อีเมล์ ********

บทบาทหน้าที่/ความรับผิดชอบในโครงการนี้ ตำแหน่ง สังกัด

ผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการ คนที่ 2

คำนำหน้าชื่อ ชื่อ นามสกุล

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก    *************

ที่อยู่ตามบัตรประชาชน

บ้านเลขที่ ** หมู่ที่ ตรอก/ซอย ถนน ตำบล/แขวง อำเภอ/เขต จังหวัด รหัสไปรษณีย์

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก ******** เบอร์มือถือ ******** โทรสาร ******** อีเมล์ ********

บทบาทหน้าที่/ความรับผิดชอบในโครงการนี้ ตำแหน่ง สังกัด

5. ท่านและองค์กรของท่าน จัดอยู่ในองค์กรประเภทใด

ระบุ

6. ความสอดคล้องกับแผนงาน

ยังไม่มีรายการความสอดคล้องในระบบ

7. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

8. ความเป็นมา/ หลักการและเหตุผล/ ความสำคัญของปัญหา

สถานการณ์ปัญหา

สถานการณ์ปัญหาขนาด
ระบุความเป็นมา / สถานการณ์ / หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติมในช่องด้านล่าง

คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญ ของการพัฒนาพื้นที่ควบคู่ไปกับความสามารถของคณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ จึงได้เลือกพื้นที่ในการดำเนินกิจกรรม หนึ่งคณะหนึ่งโมเดล ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 โดยผ่านกิจกรรมทางด้านการบริการวิชาการ ด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม รวมถึงงานวิจัย เพื่อตอบสนองต่อการแก้ไขปัญหาของพื้นที่ให้รอบด้าน
ในระยะแรกของคณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศได้ ได้มุ่งเน้น เฉพาะในเขตเทศบาลตำบลดอกคำใต้ เพื่อเป็นการสร้างแรงขับของพลังชุมชน และง่ายต่อการสร้างกระบวนเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างพื้นที่กับนักวิชาการ ในช่วงแรกเหมือนการปรับตัวทั้งสองฝ่าย ทางชุมชนก็จะมีส่วนเพิ่ม จากเดิมที่มีแต่หน่วยงานภาครัฐ มีสถาบันการศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ทำนองเดียวกันสถานบัน การศึกษาก็มีพื้นที่ได้ทดลองความรู้ทางวิชาการ หรือที่เรียกว่า “วิชาการสู่การปฏิบัติ”
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ ได้นำแนวคิดการพัฒนา หนึ่งคณะหนึ่งโมเดล โดยมีหลักการทำงานผ่านความต้องการของพื้นที่เป็นหลัก และกลับมาพิจารณาจาก ความสามารถของคณะและดำเนินการพัฒนาผ่านโครงการต่างๆ ที่เป็นการบริการทางด้าน การบริการวิชาการ การวิจัย และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบันคณะวิทยาการจัดการได้มีโครงการต่างๆ ที่ลงในพื้นที่อำเภอดอกคำใต้
ผลการศึกษาตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ตั้งแต่ 2554 จนถึงปัจจุบัน ทางคณะวิทยาการจัดการและสนเทศศาสตร์ ได้พัฒนาองค์ความรู้ในระดับหนึ่งในการพัฒนาพื้นที่ ดอกคำใต้ และเมื่อศึกษาลงไปรายงานกิจกรรม งานวิจัย งานบริการวิชาการ งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และกลับมาสะท้อนถึงภาพความเป็นจริงในปัจจุบัน คือ พื้นที่ของอำเภอดอกคำใต้ ยังต้องการพัฒนาในมิติต่าง ประกอบกับกระแสของการเปลี่ยนแปลงพบว่า ปัจจุบัน ประเทศไทยทุกภาคส่วนกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ วัยแรงงานจะเริ่มลดลง รวมทั้งการเปลี่ยงแปลงพฤติกรรมจากผลของการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี (Technology Distrbultion)รวมถึงการสร้างสังคมอย่างยั่งยืนตามแนวคิดของ SDGS หรือ Sustainble Deverlopmet Goals ของ สหประชาชาติ นับเป็นเป้าหมายที่สำคัญในการพัมนาพื้นที่ร่วมกัน ส่งผลทำให้ทุกพื้นที่จะต้องตระหนักและสร้างกระบวนการบริหารจัดการสังคมผู้อายุที่ต้องคำนึกถึงด้านสุขภาพเป็นหลัก ทั้งสถานที่ ชีวิตความเป็นอยู่ อาหาร ที่รับประทาน สิ่งเหล่านี้จะทำให้สามารถช่วยเกิดสังคมผู้สูงอายุได้อย่างมีคุณภาพ นอกจากนี้ตามแนวนโยบายรัฐบาล 4.0 ประชารัฐได้เน้นกระบวนการมีส่วนร่วมและสร้างพลังจากชุมชน หรือการสร้างชุมชนเข้มแข็ง รวมถึงการสร้างอาชีพที่เป็นพื้นที่ฐานของชุมชนก็เป็นปัจจัยที่สำคัญอีกประการหนึ่ง
กระบวนการพัฒนาพื้นที่ของอำเภอดอกคำใต้ให้เป็นชุมชนที่เข็มแข็ง มีความจำเป็นต้องอาศัยปัจจัยที่เกี่ยวข้อง คือ การพัฒนาทั้งระบบตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ คือการสร้างภูมิคุ้มกันของชุมชน ผ่านแนวคิดทางด้านการสร้างชุมชนเข้มแข็ง วัฒนธรรมหรือกิจกรรมที่ทำร่วมกันของชุมชน
ผนวกกับการศึกษาวิสัยทัศน์ของจังหวัดพะเยา ในระยะ 4 ปี (2560-2564) พบว่าพะเยาได้กำหนดวิสัยทัศน์คือ “พะเยาเมืองน่าอยู่ (Phayao Wellness)”
1. เกษตรและอาหารปลอดภัยเพื่อเศรษฐกิจฐานราก (เป็นการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับเกษตรและอาหารปลอดภัย ตั้งแต่ผู้ผลิต การแปรรูป ผลิตภัณฑ์ การตลาด ให้ครบ Value chain ของการผลิต เพื่อเป็นการกระจายรายได้สู่เศรษฐกิจฐานราก) ซึ่งมีประเด็นสำคัญ ประกอบด้วย (ระบบและกลไก และโมเดลทางธุรกิจ (Business model)) ระบบมาตรฐานการผลิต การรับรองคุณภาพ ระบบการตลาด ภาคีเครือข่าย (จะต้องเป็นภาคีระดับจังหวัด และมีส่วนร่วมอย่างเข้มข้น ช่วยคิดและพัฒนาในทุกขั้นตอน) การกระจายรายได้ ชุมชนเข็มแข็ง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีเอกลักษณ์ (Signature Product Development)
2. การท่องเที่ยว Ecology, Green, Cultural การกระจายรายได้ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีเอกลักษณ์ (Signature Product Development)
3. สังคมผู้สูงอายุ Healthy aging ติดบ้านติดเตียง กิจกรรมและสังคม การจัดการความรู้ Healthy management system Healthy manager earthy prevention การเชื่อมต่อระบบในส่วนต่างๆ (Community health system with district health system) การเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ Healthy literacy, Health care กลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ โภชนาการตามกลุ่มวัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีเอกลักษณ์ (Signature Product Development)
จากวิสัยทัศน์ของจังหวัดพะเยา เมืองน่าอยู่ ที่แบ่งออกมาเป็น 3 ประเด็น นำมาสู่การสร้างพื้นที่ดอกคำใต้
เป็นเมืองที่เข้มแข็ง โดยผ่านแนวคิดใน การพัฒนาการท่องเที่ยวและการพัฒนาผลิตภัณฑ์เกี่ยวเนื่องทางการท่องเที่ยว ในพื้นที่อำเภอดอกคำใต้ จังหวัดพะเยา ด้วยแนวคิด BCG Model
สำหรับการใช้แนวคิด BCG หรือ B มาจาก bioeconomy หรือเศรษฐกิจชีวภาพ C มาจาก circular economy ก็คือ เศรษฐกิจหมุนเวียน และ G มาจาก green economy คือ เศรษฐกิจสีเขียว ซึ่งทางคณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศเทศศาสตร์ จะนำแนวคิดเศรษฐกิจ ทั้ง 3 มาหลอมรวมเพื่อใช้เป็นแนวทาง ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของพื้นที่ หากเราได้ปรับใช้แนวคิดนี้ในการพัฒนาพื้นที่ย่อมจะทำให้ เศรษฐกิจ
จากปัญหาข้างต้นและแนวคิดในการพัฒนา ก่อให้เกิดการวิจัยการพัฒนาการท่องเที่ยวและการพัฒนาผลิตภัณฑ์เกี่ยวเนื่องทางการท่องเที่ยว ในพื้นที่อำเภอดอกคำใต้ จังหวัดพะเยา ด้วยแนวคิด BCG Model
ซึ่งผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวเนื่องจากการท่องเที่ยว หมายถึง ผลิตภัณฑ์สินค้าทางวัฒนธรรม การพัฒนาบุคคลากรที่เกี่ยงเนื่องกับการท่องเที่ยว การประชาสัมพันธ์ การพัฒนาระบบเศรษฐกิจ สังคม เป็นต้น นอกจากนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงบูรณาการทางพื้นที่จะช่วยให้เกิดทิศทางของการพัฒนาเชิงพื้นที่ที่สามารถตอบโจทย์ทางด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยี และเศรษฐกิจได้

9. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 02/01/2020 กำหนดเสร็จ 01/07/2020

10. ประเด็นหลัก

เลือกประเด็นหลักของโครงการ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)

ระบุ เศรษฐกิจชุมชน

11. กลุ่มเป้าหมายที่คาดว่าจะได้รับผลประโยชน์และพื้นที่ดำเนินงาน

ระบุกลุ่มเป้าหมายว่าเป็นใครบ้าง จำนวนเท่าไร มีวิธีการคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายอย่างไร หากมีกลุ่มเป้าหมายหลายกลุ่มควรระบุกลุ่มเป้าหมายหลักและเป้าหมายรองด้วย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
พะเยา ดอกคำใต้ หนองหล่ม
พะเยา ดอกคำใต้ หนองหล่ม ชนบท

12. วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด/กิจกรรมการดำเนินงาน

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 การพัฒนาเชิงพื้นที่ด้วยการท่องเที่ยว

มีรายได้ที่สูงขึ้น มีสภาพความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น

1.00 1.00

13. แนวทาง/วิธีการสำคัญ

14. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การพัฒนาเชิงพื้นที่

ชื่อกิจกรรม
การพัฒนาเชิงพื้นที่
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    การพัฒนาบุลากรที่เกี่ยวข้องในพื้นที่
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    2 January 2020 ถึง 27 March 2020
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    บุคลากรมีความเข้าใจในพื้นที่
    ภาคีร่วมสนับสนุน
     
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    รวมค่าใช้จ่าย 0

    รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 1,000,000.00 บาท

    รวมเงิน
    ค่าใช้จ่าย (บาท) 0.00
    เปอร์เซ็นต์ (%) 100.00%
    ดูงบประมาณตามประเภท

    งบประมาณโครงการ

    จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน บาท

    งบประมาณสมทบจาก จำนวน บาท

    งบประมาณรวม จำนวน บาท

    15. องค์กรภาคีที่ร่วมดำเนินงาน

    ระบุชื่อองค์กรภาคีที่ร่วมดำเนินงาน พร้อมทั้งบทบาทหน้าที่

    อำเภอดอกคำใต้

    16. การติดตาม/การประเมินผล

    ใช้กระบวนการสภาผู้นำ/สภาชุมชน ที่มีการประชุมหมู่บ้านอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยเดือนละครั้ง และกำหนดให้มีวาระการติดตามประเมินผลโครงการ การจัดทำแผนชุมชน เป็นต้น พร้อมทั้งจัดทีม เพื่อทำหน้าที่ติดตามและประเมินผลเป็นระยะว่าแต่ละโครงการ แต่ละกิจกรรม เป็นตามแผนหรือไม่ มีปัญหาอุปสรรค และต้องปรับปรุงการดำเนินงานอะไร อย่างไรบ้าง สุดท้ายทำเสร็จแล้วจะได้คุณค่าอะไรบ้าง ทั้งนี้ การติดตามประเมินผล ควรระบุการกำกับติดตามกิจกรรมต่างๆ ของโครงการที่ชัดเจน ได้แก่ วิธีการติดตามประเมินผล เครื่องมือในการติดตาม ผู้มีบทบาทในการติดตาม ระยะเวลาในการติดตาม เป็นต้น

    17. แนวทางการพัฒนาเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องยั่งยืนและการขยายผล

    แสดงให้ชัดเจนในเรื่องคาดหวังผลของโครงการว่าจะเกิดอะไรขึ้น และจะนำไปทำอะไร อย่างไร ให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืนในชุมชน/ท้องถิ่น และใครจะเป็นผู้รับผิดชอบในการดำเนินการต่อไป ชุมชนจะทำเองต่อ หรือใช้แหล่งทุนใดในชุมชน ตลอดจนจะมีวิธีการขยายผลจากการดำเนินโครงการนี้อย่างไร และชุมชน หรือผู้อื่นจะใช้ประโยชน์จากผลของโครงการอย่างไร

    18. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้/การเผยแพร่ผลการดำเนินโครงการ

    19. การขอทุนจากแหล่งอื่น

    กรณีมีการขอทุนจากแหล่งอื่น ให้ระบุชื่อแหล่งทุนและจำนวนเงิน

    20. ไฟล์เอกสารประกอบการพัฒนาโครงการ

    ไม่มีไฟล์เอกสารประกอบการพัฒนาโครงการ


    ภาคผนวกที่ 3 ความเห็น

    1. ความเห็นของทีมสนับสนุนวิชาการ (พี่เลี้ยง) และ ผู้ทรงคุณวุฒิ

    ตัวชี้วัดการประเมิน

    1. การมีส่วนร่วม

    คะแนน 5 4 3 2 1

    2. ผู้นำ/แกนชุมชน

    คะแนน 5 4 3 2 1

    การพัฒนาโครงการ

    มีผู้รับผิดชอบโครงการ และแกนนำในชุมชน

    การติดตามประเมินผล

    • เกิดกลไกขับเคลื่อนในพื้นที่ เช่น สภาผู้นำ/กลุ่ม/เครือข่าย

    ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

    ตัวชี้วัดการประเมิน

    3. โครงสร้างองค์กร

    คะแนน 5 4 3 2 1

    การพัฒนาโครงการ

    โครงสร้างชุมชน ทุนของชุมชน
    การวิเคราะห์และอธิบายทุนที่มีอยู่ในชุมชน

    การติดตามประเมินผล

    • เกิดกลไกขับเคลื่อนในพื้นที่ เป็นส่วนสำคัญในโครงสร้างชุมชน เช่น กรรมการหมู่บ้าน กรรมการชุมชน เป็นต้น

    ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

    ตัวชี้วัดการประเมิน

    4. การประเมินปัญหา

    คะแนน 5 4 3 2 1

    5. การถามว่าทำไม

    คะแนน 5 4 3 2 1

    การพัฒนาโครงการ

    การวิเคราะห์สภาพปัญหาในชุมชน/เลือกปัญหา
    การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการปัญหา (คน สภาพแวดล้อมกลไก)
    การวิเคราะห์และจัดทำแนวทางการจัดการปัญหา
    การมีแผนชุมชน

    การติดตามประเมินผล

    • มีฐานข้อมูลชุมชน (ปัญหาของชุมชน , ปัญหาเฉพาะประเด็น)

    ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

    ตัวชี้วัดการประเมิน

    6. การระดมทรัพยากร

    คะแนน 5 4 3 2 1

    7. การเชื่อมโยงภายนอก

    คะแนน 5 4 3 2 1

    การพัฒนาโครงการ

    แผนการดำเนินการมีภาคีร่วมสนับสนุน อะไร อย่างไร งบประมาณที่ร่วมสนับสนุน

    การติดตามประเมินผล

    • การระดมทรัพยากรและการเชื่อมโยงภายนอก มีการบรรจุอยู่ใน แผนชุมชน แผน อบต./เทศบาล แผนของหน่วยงาน

    ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

    ตัวชี้วัดการประเมิน

    8. บทบาทตัวแทน

    คะแนน 5 4 3 2 1

    ตัวแทนภายใน
    • ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นตัวแทนชุมชน มีกระบวนการชี้แจง ประชุมชุมชนก่อนเริ่มโครงการ
    • มีกระบวนการติดตามประเมินผลโครงการโดยชุมชน
    • มีการประเมินผลระหว่างโครงการ
    • มีการประเมินผลหลังการทำโครงการ
    ตัวแทนภายนอก
    • มีระบบพี่เลี้ยง หนุนเสริม เชื่อมประสานกับหน่วยงานภาคีที่เกี่ยวข้องทั้งภายใน และภายนอกชุมชน

    การพัฒนาโครงการ

    ตัวแทนภายใน และตัวแทนภายนอก

    การติดตามประเมินผล

    • ผู้รับผิดชอบโครงการเข้าไปมีส่วนร่วมในกลุ่ม / เครือข่าย หรือ หน่วยงานทั้งภายในและภายนอกชุมชน
    • ผู้รับผิดชอบโครงการยกระดับเป็นพี่เลี้ยง

    ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

    ตัวชี้วัดการประเมิน

    9. การบริหารจัดการ

    คะแนน 5 4 3 2 1

    การพัฒนาโครงการ

    • การใช้ระบบพัฒนาโครงการบนเว็บไซต์

    การติดตามประเมินผล

    • การใช้ระบบติดตามประเมินผลบนเว็บไซต์ (รายงาน, การเงิน)

    ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

    ตัวชี้วัดการประเมิน

    10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
    10.1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
    • ความรู้ใหม่/องค์ความรู้ใหม่
    • สิ่งประดิษฐ์/ผลผลิตใหม่
    • กระบวนการใหม่
    • วิธีการทำงาน/การจัดการใหม่
    • การเกิดกลุ่ม/โครงสร้างในชุมชนใหม่
    • แหล่งเรียนรู้ใหม่

    การติดตามประเมินผล

    • การเกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    ตัวชี้วัดการประเมิน

    10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
    10.2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
    • การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
    • การบริโภค
    • การออกกำลังกาย
    • การลด ละ เลิก อบายมุข
    • การลดพฤติกรรมเสี่ยง
    • การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
    • การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต
    • พฤติกรรมการจัดการตนเองครอบครัว

    การติดตามประเมินผล

    • การเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    ตัวชี้วัดการประเมิน

    10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
    10.3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
    • กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ
    • สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
    • เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ
    • มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

    การติดตามประเมินผล

    • การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    ตัวชี้วัดการประเมิน

    10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
    10.4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
    • มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
    • มีธรรมนูญของชุมชน
    • อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น

    การติดตามประเมินผล

    • การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    ตัวชี้วัดการประเมิน

    10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
    10.5 เกิดกระบวนการชุมชน
    • เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย
    • การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
    • การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน
    • มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
    • เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
    • เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ

    การติดตามประเมินผล

    • การเกิดกระบวนการชุมชน

    ตัวชี้วัดการประเมิน

    10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
    10.6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
    • ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
    • การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
    • การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
    • ชุมชนมีความเอื้ออาทร
    • มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

    การติดตามประเมินผล

    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คะแนนตัวชี้วัดการประเมิน

    คะแนนตัวชี้วัด = 0/45 = 0.00%

    กรุณาคลิกรีเฟรชเพื่อคำนวนคะแนนตัวชี้วัดใหม่

    2. สรุปภาพรวมข้อเสนอโครงการ

    3. ความเห็นภาพรวมของผู้ทรงคุณวุฒิ

    <