การบูรณาการพัฒนาดินปลูกพืชปลอดสารพิษ และการสร้างมูลค่าเพิ่มผักพื้นบ้านเพื่อยกระดับรายได้ของเกษตรกรผู้ปลูกผักบ้านเหล่าใหญ่ ตำบลฆ้องชัยพัฒนา อำเภอฆ้องชัย จังหวัดกาฬสินธุ์

สำหรับเจ้าหน้าที่

รหัสโครงการ :

วันที่ :         /              /25       

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ

การบูรณาการพัฒนาดินปลูกพืชปลอดสารพิษ และการสร้างมูลค่าเพิ่มผักพื้นบ้านเพื่อยกระดับรายได้ของเกษตรกรผู้ปลูกผักบ้านเหล่าใหญ่ ตำบลฆ้องชัยพัฒนา อำเภอฆ้องชัย จังหวัดกาฬสินธุ์

ควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

2. ประเภทโครงการ

** โครงการใหม่ หมายถึง เป็นโครงการที่ยังไม่เคยได้รับทุนสนับสนุน
** โครงการต่อเนื่อง หมายถึง เป็นโครงการต่อเนื่องจากโครงการที่เคยได้รับทุน

3. องค์กร/คณะบุคคล ที่เสนอโครงการ (กรณีขอทุนในนามองค์กร/คณะบุคคล)

1. ชื่อองค์กร/คณะบุคคล


4. ผู้รับผิดชอบโครงการ

1. ชื่อ-นามสกุลผู้รับผิดชอบโครงการ

คำนำหน้าชื่อ ชื่อ นามสกุล

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก    *************

ที่อยู่ตามบัตรประชาชน

บ้านเลขที่ ** หมู่ที่ ตรอก/ซอย ถนน ตำบล/แขวง อำเภอ/เขต จังหวัด รหัสไปรษณีย์

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก ******** เบอร์มือถือ ******** โทรสาร ******** อีเมล์ ********

รายชื่อผู้ร่วมทำโครงการ/คณะทำงาน (อย่างน้อย 2 คน)

ผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการ คนที่ 1

คำนำหน้าชื่อ ชื่อ นามสกุล

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก    *************

ที่อยู่ตามบัตรประชาชน

บ้านเลขที่ ** หมู่ที่ ตรอก/ซอย ถนน ตำบล/แขวง อำเภอ/เขต จังหวัด รหัสไปรษณีย์

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก ******** เบอร์มือถือ ******** โทรสาร ******** อีเมล์ ********

บทบาทหน้าที่/ความรับผิดชอบในโครงการนี้ ตำแหน่ง สังกัด

ผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการ คนที่ 2

คำนำหน้าชื่อ ชื่อ นามสกุล

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก    *************

ที่อยู่ตามบัตรประชาชน

บ้านเลขที่ ** หมู่ที่ ตรอก/ซอย ถนน ตำบล/แขวง อำเภอ/เขต จังหวัด รหัสไปรษณีย์

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก ******** เบอร์มือถือ ******** โทรสาร ******** อีเมล์ ********

บทบาทหน้าที่/ความรับผิดชอบในโครงการนี้ ตำแหน่ง สังกัด

5. ท่านและองค์กรของท่าน จัดอยู่ในองค์กรประเภทใด

ระบุ

6. ความสอดคล้องกับแผนงาน

ยังไม่มีรายการความสอดคล้องในระบบ

7. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

8. ความเป็นมา/ หลักการและเหตุผล/ ความสำคัญของปัญหา

สถานการณ์ปัญหา

สถานการณ์ปัญหาขนาด
ระบุความเป็นมา / สถานการณ์ / หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติมในช่องด้านล่าง

9. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 02/01/2020 กำหนดเสร็จ 05/05/2020

10. ประเด็นหลัก

เลือกประเด็นหลักของโครงการ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)

ระบุ

11. กลุ่มเป้าหมายที่คาดว่าจะได้รับผลประโยชน์และพื้นที่ดำเนินงาน

ระบุกลุ่มเป้าหมายว่าเป็นใครบ้าง จำนวนเท่าไร มีวิธีการคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายอย่างไร หากมีกลุ่มเป้าหมายหลายกลุ่มควรระบุกลุ่มเป้าหมายหลักและเป้าหมายรองด้วย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ ฆ้องชัย

12. วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด/กิจกรรมการดำเนินงาน

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อพัฒนาดินปลูกสำหรับผักพื้นบ้านปลอดสารเคมี ที่เหมาะสมกับบริบทในพื้นที่บ้านเหล่าใหญ่ อ.ฆ้องชัย จังหวัดกาฬสินธุ์

1.ได้ผลิตภัณฑ์ดินปลูกที่เหมาะสมสำหรับการปลูกพืชปลอดสารพิษ จำนวน 3 สูตร 2. เกษตรกรร้อยละ 50 นำองค์ความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอดไปปฏิบัติ

0.00 3.00
2 2. เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ผักดองพื้นบ้าน (ส้มผัก) ที่ได้จากกระบวนการปลูกแบบปลอดสารเคมี ในพื้นที่บ้านเหล่าใหญ่ อ.ฆ้องชัย จังหวัดกาฬสินธุ์

ได้ผลิตภัณฑ์ส้มผัก (ส้มผักกาด ส้มผักต้นหอม ส้มผักแป้น ส้มผักแป้นใส่กะหล่ำปลี) ที่ผลิตจากกล้าเชื้อแบคทีเรียกรดแลคติก 4 ชนิดผลิตภัณฑ์ ได้บรรจุภัณฑ์สำหรับบรรจุส้มผัก (อะลูมิเนียมฟอยด์ซิปล้อค กระป๋องพลาสติกแบบฝาดึงเปิด กล่องพลาสติกใส) 3 บรรจุภัณฑฺ์

0.00 4.00
3 3.เพื่อยกระดับรายได้ของเกษตรกรผู้ปลูกผักในพื้นที่บ้านเหล่าใหญ่ อ.ฆ้องชัย จังหวัดกาฬสินธุ์

มีรายได้จากการขายผักเพิ่มมากขึ้น 42,000 บาทต่อปีต่อคน มีรายได้จากการขายผักดองเพิ่มมากขึ้น 36,000 บาทต่อปีต่อคน

0.00

13. แนวทาง/วิธีการสำคัญ

14. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1. การพัฒนาดินปลูกพืชปลอดสารพิษ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1. การพัฒนาดินปลูกพืชปลอดสารพิษ
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    กิจกรรมที่ 1. การพัฒนาดินปลูกพืชปลอดสารพิษ
    ขั้นตอน/วิธีดำเนินการ ระยะเวลา กลุ่มเป้าหมาย สถานที่ดำเนินงาน
    1.ประชุมเตรียมความพร้อมพฤศจิกายน2562
    2. สำรวจพื้นที่เพื่อวางแผน ธันวาคม 2562
    3. ค้นคว้าเอกสาร รวบรวมข้อมูล มกราคม 2563
    4. สำรวจข้อมูล คัดเลือกและเก็บตัวอย่างดินก่อนศึกษา กุมภาพันธ์ 2563
    5. ดำเนินโครงการ โดยนักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาดำเนินกิจกรรมในพื้นที่ของชุมชนตามโครงการที่นำเสนอเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์และตัวชี้วัด โดยการทดสอบเพื่อปรับปรุงแร่ธาตุสารอาหารในดิน และทดสอบการผลิตแบบแปลงปลูกที่มีการควบคุม เช่น ระบบแปลงยกสูง หรือแปลงที่ควบคุมปัจจัยการผลิต เช่นการทำแปลงแบบรองพื้น เพื่อแก้ไขปัญหาการผลิตในฤดูฝนที่จะมีโรคและแมลงจำนวนมากมีนาคม-มิ.ย. 2563
    6. ติดตามและประเมินผล โดยนักศึกษาลงตรวจงานของพื้นที่ในชุมชน และนำเสนอรายงาน โครงการเพื่อประเมินผลการดำเนินกิจกรรมโครงงานกรกฏาคม 2563
    7. ประชุมสรุปผลการประเมินโครงการและเผยแพร่สู่สาธารณะ สิงหาคม -กันยายน 2563
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    20 November 2019 ถึง 30 September 2020
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ผลผลิตเชิงปริมาณ
    - ผลิตภัณฑ์ดินปลูก 3 สูตร
    - รายได้จากการขายผักและดินปลูกเพิ่มขึ้น 42,000 บาทต่อคนต่อปี
    เชิงคุณภาพ
    - ด้านเศรษฐกิจ เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้แก่สมาชิกในชุมชนเพิ่มมากขึ้น
    - ด้านสังคมและชุมชน ก่อให้เกิดการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ช่วยกันลดการใช้สารเคมีในชุมชน เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

    ผลลัพธ์ของโครงงานต่อนักศึกษา และต่อชุมชน (การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นก่อนและหลังรวมถึงความยั่งยืนที่เกิดจากการดำเนินโครงการ)
    สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ โดยอาจารย์ประจำสาขาวิชา ร่วมกับนักศึกษาสาขาวิชาเกษตรศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 จำนวน 2 คน ลงพื้นที่เพื่อดำเนินโครงการพัฒนาด้านการเกษตรในเรื่องของปัจจัยการผลิต (ดินปลูก) ด้านการเกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร มุ่งเน้นการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ที่ปลอดภัยในด้านการผลิต และก่อให้เกิดความปลอดภัยต่อผู้ผลิตและผู้บริโภค
    นักศึกษาได้เรียนรู้การทำงานร่วมกับคนในชุมชน เรียนรู้การแก้ไขปัญหา ทั้งในเชิงวิชาการ และเชิงสังคม
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    กศน. อำเภอฆ้องชัย
    สวนปันบุญ เกษตรอินทรีย์วิถีสุขภาพ
    ไร่คุณพ่อ
     
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าวัสดุสำนักงาน

    ค่าวัสดุสำนักงาน กระดาษ หมึกปริ้น

    1 ชุด 400 10 4,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    - ค่าวัสดุในการอบรมเชิงปฏิบัติการถ่ายเทคโนโลยี ถุงดำ แกลบดิบ แกลบดำ หัวเชื้อจุลินทรีย์ กากน้ำตาล ขี้อ้อย พลาสติกดำปูพื้น แสลนบังแสง พลาสติกคลุมแปลง

    30 คน 500 1 15,000
    อื่น ๆ

    - ค่าวัสดุทางการเกษตร ในการทดลอง แกลบดิบ 1 รถ x 6,000 บ. แกลบดำ 1 รถ x 6,000 บ. ขี้อ้อย 1 รถ x 8,000 บ.

    1 คน 20,000 1 20,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ ในห้องปฏิบัติการ สารเคมี

    1 คน 6,600 1 6,600
    ค่าตอบแทนการประสานงาน

    - ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์ที่ปรึกษาและอาจารย์นิเทศน์ (3 คน x 30 วัน x 240 บาท=21,600)

    3 คน 240 30 21,600
    ค่าตอบแทนการประสานงาน

    - ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา (4 คน x 90 วัน x 180 บาท=64,800)

    4 คน 180 90 64,800
    ค่าที่พักตามจริง

    ค่าที่พัก ค่าอาหาร ในชุมชน 30 วันๆ ละ 70 บาท จำนวน 4 คน (8,400)

    4 คน 70 30 8,400
    ค่าวัสดุสำนักงาน

    ค่าจัดทำรายงานนำเสนอโครงงาน

    1 ชุด 3,000 1 3,000
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

    ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง 20 ครั้งๆ ละ 500 บาท

    20 ครั้ง 500 1 10,000
    ค่าอาหาร

    - ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้ารับการอบรม 10 ครั้ง จำนวน 30 คน ราคา 100 บาท (10x30x100=30,000)

    30 คน 100 10 30,000
    ค่าอาหาร

    - ค่าอาหารว่าง ผู้เข้ารับการอบรม 10 ครั้ง จำนวน 30 คน ราคา 50 บาท (10x30x50=15,000)

    30 คน 50 10 15,000
    อื่น ๆ

    ค่าตรวจวิเคราะห์ ต่างๆ ค่าจ้างเหมาบริการ (ค่าจ้างเหมาวิเคราะห์คุณสมบัติทางภายภาพและเคมีของดินเบื้องต้น และสิ้นสุดการทดลอง) (4 ชุด X 6,000 = 24,000 บาท)

    4 ชุด 6,000 1 24,000
    ค่าถ่ายเอกสาร

    ค่าจ้างจัดทำเอกสารประกอบการฝึกอบรม+แผ่นป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ 10 ครั้ง จำนวน 30 คน ราคา 25 บาท (10x30x25 = 7500 บาท)

    30 คน 25 10 7,500
    ค่าตอบแทนการประสานงาน

    ค่าจ้างเหมาการจัดประชุมทีมวิจัย เตรียมแผนงาน ติดตามงาน และสรุปผลการดำเนินงาน เดินทางไปราชการ จำนวน 10 ครั้งๆ ละ 2,500 บาท (10X2,500=25,000)

    1 ครั้ง 2,500 10 25,000
    รวมค่าใช้จ่าย 254,900

    กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2. การแปรรูปส้มผัก (ผักดอง) จากกล้าเชื้อแบคทีเรียกรดแลคติก

    ชื่อกิจกรรม
    กิจกรรมที่ 2. การแปรรูปส้มผัก (ผักดอง) จากกล้าเชื้อแบคทีเรียกรดแลคติก
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      1. ประชุมเตรียมความพร้อม
      ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน ประกอบด้วยอาจารย์ที่ปรึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร และทีมนักศึกษาที่จะลงพื้นที่ปฏิบัติงาน ชั้นปีที่ 3 จำนวน 3 คน เพื่อคัดเลือกกลุ่มชุมชนที่มีคุณสมบัติ เข้าร่วมโครงงาน

      1.1 ลงพื้นที่เพื่อสำรวจความต้องการ
      นักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษา ลงพื้นที่ครั้งที่ 1 เพื่อศึกษาข้อมูลบริบทชุมชน บ้านเหล่าใหญ่ ตำบลฆ้องชัยพัฒนา อำเภอฆ้องชัย จังหวัดกาฬสินธุ์ และนำโจทย์ปัญหามาแก้ปัญหา

      1.2 นักศึกษาจัดทำโครงร่างโครงงานเสนออาจารย์ที่ปรึกษา
      - เสนอโครงงานเพื่อขออนุมัติ
      - เตรียมดำเนินโครงงาน: เตรียมวัตถุดิบ กล้าเชื้อ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ
      - ประสานเตรียมสถานที่
      2. ดำเนินโครงการ
      2.1 ประชาสัมพันธ์โครงการ โดยนักศึกษาลงพื้นที่ครั้งที่ 2 ร่วมกับตัวแทนชุมชนบ้านเหล่าใหญ่ ตำบลฆ้องชัยพัฒนา อำเภอฆ้องชัย จังหวัดกาฬสินธุ์ เพื่อเข้าไปประชาสัมพันธ์โครงการให้คนในชุมชนได้รับทราบ สร้างความเข้าใจร่วมกันกับสมาชิกในชุมชนถึงการจัดโครงการในครั้งนี้

      2.2 นักศึกษาดำเนินโครงการ “การแปรรูปส้มผัก (ผักดอง) จากกล้าเชื้อแบคทีเรียกรดแลคติก” โดยใช้วัตถุดิบจากชุมชน บ.เหล่าใหญ่ และนำองค์ความรู้ทางเทคโนโลยีการอาหาร การแปรรูปอาหารหมักด้วยกล้าเชื้อบริสุทธิ์มาช่วยพัฒนาผลิตภัณฑ์โดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาคอยให้คำปรึกษา
      2.2.1 นักศึกษาลงพื้นที่ครั้งที่ 3 ในการฝึกปฏิบัติให้ชุมชนมีการปฏิบัติอย่างถูกต้องภายหลังการเก็บเกี่ยวพืชผัก
      2.2.2 นักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษานำองค์ความรู้เรื่องวิธีควบคุมและใช้เชื้อจุลินทรีย์บริสุทธิ์กลุ่มแบคทีเรียกรดแลคติกในการผลิตส้มผัก (ผักดอง) มาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของชุมชน ด้วยการ:
      - ผลิตกล้าเชื้อผงจากแบคทีเรียกรดแลคติก แลคโตบาซิลลัส แพลนทารัม (Lactobacillus plantarum)
      - พัฒนาสูตรส้มผัก (ผักดอง) ให้เหมาะสมกับวัตถุดิบที่มีในชุมชน ได้แก่ ส้มผักจาก ต้นหอม ผักกาดเขียวปลี ส้มผักเสี้ยน (ผักเสี้ยนดอง) ส้มผักแป้น (ผักกุ่ยช่ายดอง) ส้มผักแป้นใส่กะหล่ำปลี โดยนักศึกษาร่วมพัฒนากับชุมชน
      - พัฒนาส้มผักของชุมชนให้สามารถเป็นผลิตภัณฑ์ที่จำหน่ายได้ มีคุณภาพและปลอดภัย จากการจัดให้สถานที่ผลิตของชุมชนมีหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร (GMP (Good Manufacturing Practice)
      - พัฒนาบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมในการบรรจุส้มผัก เพื่อให้ผลิตภัณฑ์ส้มผักมีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค มีรูปแบบที่ทันสมัยดึงดูดใจผู้บริโภค โดยนักศึกษาร่วมพัฒนากับชุมชน
      -ขั้นตอนการสำรวจความพึงพอใจของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์ใหม่ และโอกาสทางการตลาด (โดยนักศึกษา สาขาบริหารธุรกิจเกษตร ชั้นปีที่ 3 จำนวน 2 คน)
      3. ติดตามผลและประเมินผล
      3.1 นักศึกษานำเสนอรายงานโครงงาน ในรูปแบบรายงาน
      Video และ Power Point ต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อประเมินผลการดำเนินกิจกรรมโครงงาน 50 คะแนน สามารถเทียบโอนในรายวิชาปัญหาพิเศษทางเทคโนโลยีการอาหาร 1
      3.2 มหาวิทยาลัยร่วมกับคณะกรรมการ สป.อว. ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมเยียนชุมชนเพื่อประเมินผลตามตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ
      4. ประชุมสรุปผลการประเมินผลโครงการและเผยแพร่สู่สาธารณะ
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      20 November 2019 ถึง 30 September 2020
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      ผลผลิตเชิงปริมาณ
      - ได้ผลิตภัณฑ์ส้มผัก (ส้มผักกาด ส้มผักต้นหอม ส้มผักแป้น ส้มผักแป้นใส่กะหล่ำปลี) ที่ผลิตจากกล้าเชื้อแบคทีเรียกรดแลคติก 4 ผลิตภัณฑ์
      - ได้บรรจุภัณฑ์สำหรับบรรจุส้มผัก (อะลูมิเนียมฟอยด์ซิปล้อค กระป๋องพลาสติกแบบฝาดึงเปิด กล่องพลาสติกใส) 3 ชนิดบรรจุภัณฑ์
      - ครัวเรือนมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการแปรรูปส้มผักจำหน่าย 36,000 บาทต่อปีต่อครัวเรือน
      - ผลสำรวจด้านการตลาดถึงความต้องการของผู้บริโภคที่มีต่อผักดองพื้นบ้าน และโอกาสทางการตลาดของผลิตภัณฑ์ใหม่
      เชิงคุณภาพ
      - ผลิตภัณฑ์ส้มผักของชุมชนที่ได้มีคุณภาพ ยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ส้มผักของชุมชน มีประโยชน์ต่อผู้บริโภค ปลอดภัย ได้รับการยอมรับจากผู้บริโภค
      - บรรจุภัณฑ์ส้มผักที่ปลอดภัย สะอาด ได้มาตรฐานที่ผู้บริโภคยอมรับ
      ผลลัพธ์
      1) ชุมชนได้นำพืชผักที่ปลูกเพื่อจำหน่ายอย่างเดียวมาแปรรูปเป็นส้มผัก ช่วยความเสี่ยงจากราคาพืชผักตกต่ำ และเกิดการเน่าเสียเมื่อจำหน่ายไม่หมด
      2) ชุมชนได้แปรรูปส้มผักจากกล้าเชื้อแบคทีเรียกรดแลคติก ช่วยเพิ่มคุณภาพและมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์
      3) ชุมชนมีช่องทางหารายได้เสริมจากการแปรรูปส้มผักจำหน่าย นอกเหนือจากการปลูกพืชผักจำหน่าย

      ผลลัพธ์ของโครงงานต่อนักศึกษา และต่อชุมชน (การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นก่อนและหลังรวมถึงความยั่งยืนที่เกิดจากการดำเนินโครงการ)
      ด้านนักศึกษา: ได้เกิดการเรียนรู้จริง ฝึกปฏิบัติจริง นำองค์ความรู้ที่มีมาใช้จริง ในการนำโจทย์ปัญหาจากชุมชนมาแก้ปัญหาด้วยองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่กำลังศึกษา เกิดภาวะความเป็นผู้นำ มีทักษะการทำงานเป็นทีมระหว่างทีมนักศึกษาและชุมชน เกิดทักษะการเป็นผู้ประกอบการที่สามารถพัฒนาเป็นอาชีพสร้างรายได้ได้ ตระหนักและเห็นคุณค่าของชุมชนท้องถิ่น
      ด้านชุมชน: เพิ่มช่องทางสร้างรายได้และอาชีพจากการแปรรูปวัตถุดิบที่ปลูกให้มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น ลดความเสี่ยงต่อการขาดรายได้จากการปลูกพืชผักขายเมื่อสินค้ามีราคาตกต่ำและเน่าเสีย ได้ผลิตสินค้าที่มีนวัตกรรม มีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค มีศักยภาพในการแข่งขันทางการตลาดได้สูง เกิดทักษะการเป็นผู้ประกอบการ ที่ช่วยส่งเสริมเศรษฐกิจของชุมชนให้ยั่งยืนต่อไป
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม
       
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

      ค่าสายพันธุ์จุลินทรีย์ (4,000) - ค่าอาหารเลี้ยงเชื้อ (6,000) - ค่าสารเคมี (9,000) - วัตถุดิบ (8,000) - ค่าอุปกรณ์ เครื่องมือ (20,000)

      1 ชุด 47,000 1 47,000
      ค่าถ่ายเอกสาร

      ค่าจัดทำเอกสารคู่มือประกอบการอบรม 30 ชุดๆ ละ 50 บาท (1,500)

      30 ชุด 50 1 1,500
      อื่น ๆ

      - ค่าตรวจวิเคราะห์คุณภาพผลิตภัณฑ์ 4 ผลิตภัณฑ์ (ทางเคมี กายภาพ จุลินทรีย์ และประสาทสัมผัส)

      4 ชุด 5,000 1 20,000
      ค่าอาหาร

      ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 10 วันๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 100 บาท จำนวน 30 คน (10*100*30) (30,000)

      30 คน 100 10 30,000
      ค่าอาหาร

      ค่าอาหารว่าง จำนวน 10 วันๆ ละ 2 มื้อๆ ละ 30 บาท จำนวน 30 คน (10*2*30*30) (18,000)

      30 คน 60 10 18,000
      ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

      ค่าวัสดุ (ต่างๆที่ใช้ในการถ่ายทอด ทั้งของโครงงานนักศึกษาและวัสดุที่ใช้ในแต่ละกิจกรรม) - เครื่องครัว (10,000) - บรรจุภัณฑ์ (11,800)

      1 ชุด 21,800 1 21,800
      ค่าตอบแทนการประสานงาน

      ค่าอาหาร และค่าที่พักในชุมชน 30 วันๆ ละ 70 บาท จำนวน 4 คน (8,400)

      4 คน 70 30 8,400
      ค่าตอบแทนการประสานงาน

      ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษาลงพื้นที่ (5 คน*120 วัน*180 บาท) (64,800)

      4 คน 180 90 64,800
      ค่าตอบแทนการประสานงาน

      ค่าเบี้ยเลี้ยอาจารย์ที่ปรึกษาและอาจารย์นิเทศน์ 3 คนๆ ละ 240 บาท 30 วัน (3*240*30 วัน) (21,600)

      3 คน 240 30 21,600
      ค่าวัสดุสำนักงาน

      ค่าจัดทำรายงาน

      1 ชุด 2,000 1 2,000
      ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

      ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง 20 ครั้งๆละ 500 บาท

      1 คน 500 20 10,000
      รวมค่าใช้จ่าย 245,100

      รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

      ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
      ค่าใช้จ่าย (บาท) 206,200.00 130,400.00 99,400.00 64,000.00 500,000.00
      เปอร์เซ็นต์ (%) 41.24% 26.08% 19.88% 12.80% 100.00%
      ดูงบประมาณตามประเภท

      งบประมาณโครงการ

      จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน บาท

      งบประมาณสมทบจาก จำนวน บาท

      งบประมาณรวม จำนวน บาท

      15. องค์กรภาคีที่ร่วมดำเนินงาน

      ระบุชื่อองค์กรภาคีที่ร่วมดำเนินงาน พร้อมทั้งบทบาทหน้าที่

      ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอฆ้องชัย จังหวัดกาฬสินธุ์

      16. การติดตาม/การประเมินผล

      ใช้กระบวนการสภาผู้นำ/สภาชุมชน ที่มีการประชุมหมู่บ้านอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยเดือนละครั้ง และกำหนดให้มีวาระการติดตามประเมินผลโครงการ การจัดทำแผนชุมชน เป็นต้น พร้อมทั้งจัดทีม เพื่อทำหน้าที่ติดตามและประเมินผลเป็นระยะว่าแต่ละโครงการ แต่ละกิจกรรม เป็นตามแผนหรือไม่ มีปัญหาอุปสรรค และต้องปรับปรุงการดำเนินงานอะไร อย่างไรบ้าง สุดท้ายทำเสร็จแล้วจะได้คุณค่าอะไรบ้าง ทั้งนี้ การติดตามประเมินผล ควรระบุการกำกับติดตามกิจกรรมต่างๆ ของโครงการที่ชัดเจน ได้แก่ วิธีการติดตามประเมินผล เครื่องมือในการติดตาม ผู้มีบทบาทในการติดตาม ระยะเวลาในการติดตาม เป็นต้น

      17. แนวทางการพัฒนาเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องยั่งยืนและการขยายผล

      แสดงให้ชัดเจนในเรื่องคาดหวังผลของโครงการว่าจะเกิดอะไรขึ้น และจะนำไปทำอะไร อย่างไร ให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืนในชุมชน/ท้องถิ่น และใครจะเป็นผู้รับผิดชอบในการดำเนินการต่อไป ชุมชนจะทำเองต่อ หรือใช้แหล่งทุนใดในชุมชน ตลอดจนจะมีวิธีการขยายผลจากการดำเนินโครงการนี้อย่างไร และชุมชน หรือผู้อื่นจะใช้ประโยชน์จากผลของโครงการอย่างไร

      18. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้/การเผยแพร่ผลการดำเนินโครงการ

      19. การขอทุนจากแหล่งอื่น

      กรณีมีการขอทุนจากแหล่งอื่น ให้ระบุชื่อแหล่งทุนและจำนวนเงิน

      20. ไฟล์เอกสารประกอบการพัฒนาโครงการ

      ไม่มีไฟล์เอกสารประกอบการพัฒนาโครงการ


      ภาคผนวกที่ 3 ความเห็น

      1. ความเห็นของทีมสนับสนุนวิชาการ (พี่เลี้ยง) และ ผู้ทรงคุณวุฒิ

      ตัวชี้วัดการประเมิน

      1. การมีส่วนร่วม

      คะแนน 5 4 3 2 1

      2. ผู้นำ/แกนชุมชน

      คะแนน 5 4 3 2 1

      การพัฒนาโครงการ

      มีผู้รับผิดชอบโครงการ และแกนนำในชุมชน

      การติดตามประเมินผล

      • เกิดกลไกขับเคลื่อนในพื้นที่ เช่น สภาผู้นำ/กลุ่ม/เครือข่าย

      ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

      ตัวชี้วัดการประเมิน

      3. โครงสร้างองค์กร

      คะแนน 5 4 3 2 1

      การพัฒนาโครงการ

      โครงสร้างชุมชน ทุนของชุมชน
      การวิเคราะห์และอธิบายทุนที่มีอยู่ในชุมชน

      การติดตามประเมินผล

      • เกิดกลไกขับเคลื่อนในพื้นที่ เป็นส่วนสำคัญในโครงสร้างชุมชน เช่น กรรมการหมู่บ้าน กรรมการชุมชน เป็นต้น

      ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

      ตัวชี้วัดการประเมิน

      4. การประเมินปัญหา

      คะแนน 5 4 3 2 1

      5. การถามว่าทำไม

      คะแนน 5 4 3 2 1

      การพัฒนาโครงการ

      การวิเคราะห์สภาพปัญหาในชุมชน/เลือกปัญหา
      การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการปัญหา (คน สภาพแวดล้อมกลไก)
      การวิเคราะห์และจัดทำแนวทางการจัดการปัญหา
      การมีแผนชุมชน

      การติดตามประเมินผล

      • มีฐานข้อมูลชุมชน (ปัญหาของชุมชน , ปัญหาเฉพาะประเด็น)

      ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

      ตัวชี้วัดการประเมิน

      6. การระดมทรัพยากร

      คะแนน 5 4 3 2 1

      7. การเชื่อมโยงภายนอก

      คะแนน 5 4 3 2 1

      การพัฒนาโครงการ

      แผนการดำเนินการมีภาคีร่วมสนับสนุน อะไร อย่างไร งบประมาณที่ร่วมสนับสนุน

      การติดตามประเมินผล

      • การระดมทรัพยากรและการเชื่อมโยงภายนอก มีการบรรจุอยู่ใน แผนชุมชน แผน อบต./เทศบาล แผนของหน่วยงาน

      ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

      ตัวชี้วัดการประเมิน

      8. บทบาทตัวแทน

      คะแนน 5 4 3 2 1

      ตัวแทนภายใน
      • ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นตัวแทนชุมชน มีกระบวนการชี้แจง ประชุมชุมชนก่อนเริ่มโครงการ
      • มีกระบวนการติดตามประเมินผลโครงการโดยชุมชน
      • มีการประเมินผลระหว่างโครงการ
      • มีการประเมินผลหลังการทำโครงการ
      ตัวแทนภายนอก
      • มีระบบพี่เลี้ยง หนุนเสริม เชื่อมประสานกับหน่วยงานภาคีที่เกี่ยวข้องทั้งภายใน และภายนอกชุมชน

      การพัฒนาโครงการ

      ตัวแทนภายใน และตัวแทนภายนอก

      การติดตามประเมินผล

      • ผู้รับผิดชอบโครงการเข้าไปมีส่วนร่วมในกลุ่ม / เครือข่าย หรือ หน่วยงานทั้งภายในและภายนอกชุมชน
      • ผู้รับผิดชอบโครงการยกระดับเป็นพี่เลี้ยง

      ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

      ตัวชี้วัดการประเมิน

      9. การบริหารจัดการ

      คะแนน 5 4 3 2 1

      การพัฒนาโครงการ

      • การใช้ระบบพัฒนาโครงการบนเว็บไซต์

      การติดตามประเมินผล

      • การใช้ระบบติดตามประเมินผลบนเว็บไซต์ (รายงาน, การเงิน)

      ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

      ตัวชี้วัดการประเมิน

      10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
      10.1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
      • ความรู้ใหม่/องค์ความรู้ใหม่
      • สิ่งประดิษฐ์/ผลผลิตใหม่
      • กระบวนการใหม่
      • วิธีการทำงาน/การจัดการใหม่
      • การเกิดกลุ่ม/โครงสร้างในชุมชนใหม่
      • แหล่งเรียนรู้ใหม่

      การติดตามประเมินผล

      • การเกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

      ตัวชี้วัดการประเมิน

      10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
      10.2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
      • การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
      • การบริโภค
      • การออกกำลังกาย
      • การลด ละ เลิก อบายมุข
      • การลดพฤติกรรมเสี่ยง
      • การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
      • การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต
      • พฤติกรรมการจัดการตนเองครอบครัว

      การติดตามประเมินผล

      • การเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

      ตัวชี้วัดการประเมิน

      10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
      10.3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
      • กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ
      • สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
      • เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ
      • มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

      การติดตามประเมินผล

      • การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

      ตัวชี้วัดการประเมิน

      10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
      10.4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
      • มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
      • มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
      • มีธรรมนูญของชุมชน
      • อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น

      การติดตามประเมินผล

      • การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

      ตัวชี้วัดการประเมิน

      10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
      10.5 เกิดกระบวนการชุมชน
      • เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย
      • การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
      • การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน
      • มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
      • เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
      • เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ

      การติดตามประเมินผล

      • การเกิดกระบวนการชุมชน

      ตัวชี้วัดการประเมิน

      10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
      10.6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
      • ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
      • การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
      • การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
      • ชุมชนมีความเอื้ออาทร
      • มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

      การติดตามประเมินผล

      • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

      คะแนนตัวชี้วัดการประเมิน

      คะแนนตัวชี้วัด = 0/45 = 0.00%

      กรุณาคลิกรีเฟรชเพื่อคำนวนคะแนนตัวชี้วัดใหม่

      2. สรุปภาพรวมข้อเสนอโครงการ

      3. ความเห็นภาพรวมของผู้ทรงคุณวุฒิ

      <