อาสาประชารัฐเรียนรู้สู่ชุมชน บ้านห้วยหาด ตำบลอวน อำเภอปัว จังหวัดน่าน

สำหรับเจ้าหน้าที่

รหัสโครงการ :

วันที่ :         /              /25       

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ

อาสาประชารัฐเรียนรู้สู่ชุมชน บ้านห้วยหาด ตำบลอวน อำเภอปัว จังหวัดน่าน

ควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

2. ประเภทโครงการ

** โครงการใหม่ หมายถึง เป็นโครงการที่ยังไม่เคยได้รับทุนสนับสนุน
** โครงการต่อเนื่อง หมายถึง เป็นโครงการต่อเนื่องจากโครงการที่เคยได้รับทุน

3. องค์กร/คณะบุคคล ที่เสนอโครงการ (กรณีขอทุนในนามองค์กร/คณะบุคคล)

1. ชื่อองค์กร/คณะบุคคล


4. ผู้รับผิดชอบโครงการ

1. ชื่อ-นามสกุลผู้รับผิดชอบโครงการ

คำนำหน้าชื่อ ชื่อ นามสกุล

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก    *************

ที่อยู่ตามบัตรประชาชน

บ้านเลขที่ ** หมู่ที่ ตรอก/ซอย ถนน ตำบล/แขวง อำเภอ/เขต จังหวัด รหัสไปรษณีย์

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก ******** เบอร์มือถือ ******** โทรสาร ******** อีเมล์ ********

รายชื่อผู้ร่วมทำโครงการ/คณะทำงาน (อย่างน้อย 2 คน)

ผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการ คนที่ 1

คำนำหน้าชื่อ ชื่อ นามสกุล

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก    *************

ที่อยู่ตามบัตรประชาชน

บ้านเลขที่ ** หมู่ที่ ตรอก/ซอย ถนน ตำบล/แขวง อำเภอ/เขต จังหวัด รหัสไปรษณีย์

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก ******** เบอร์มือถือ ******** โทรสาร ******** อีเมล์ ********

บทบาทหน้าที่/ความรับผิดชอบในโครงการนี้ ตำแหน่ง สังกัด

ผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการ คนที่ 2

คำนำหน้าชื่อ ชื่อ นามสกุล

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก    *************

ที่อยู่ตามบัตรประชาชน

บ้านเลขที่ ** หมู่ที่ ตรอก/ซอย ถนน ตำบล/แขวง อำเภอ/เขต จังหวัด รหัสไปรษณีย์

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก ******** เบอร์มือถือ ******** โทรสาร ******** อีเมล์ ********

บทบาทหน้าที่/ความรับผิดชอบในโครงการนี้ ตำแหน่ง สังกัด

5. ท่านและองค์กรของท่าน จัดอยู่ในองค์กรประเภทใด

ระบุ

6. ความสอดคล้องกับแผนงาน

ยังไม่มีรายการความสอดคล้องในระบบ

7. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

8. ความเป็นมา/ หลักการและเหตุผล/ ความสำคัญของปัญหา

สถานการณ์ปัญหา

สถานการณ์ปัญหาขนาด
ระบุความเป็นมา / สถานการณ์ / หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติมในช่องด้านล่าง

9. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/11/2019 กำหนดเสร็จ 30/09/2020

10. ประเด็นหลัก

เลือกประเด็นหลักของโครงการ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)

ระบุ

11. กลุ่มเป้าหมายที่คาดว่าจะได้รับผลประโยชน์และพื้นที่ดำเนินงาน

ระบุกลุ่มเป้าหมายว่าเป็นใครบ้าง จำนวนเท่าไร มีวิธีการคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายอย่างไร หากมีกลุ่มเป้าหมายหลายกลุ่มควรระบุกลุ่มเป้าหมายหลักและเป้าหมายรองด้วย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ชุมชน บ้านห้วยหาด ตำบลอวน อำเภอปัว จังหวัดน่าน 128

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
น่าน ปัว อวน พื้นที่เฉพาะ:พื้นที่สูง

12. วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด/กิจกรรมการดำเนินงาน

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้นักศึกษา และคณาจารย์ เกิดการเรียนรู้ โดยการนำความรู้สู้การปฏิบัติจริง สามารถค้นคว้า คิด วิเคราะห์ ประมวลผล มีความคิดสร้างสรรค์ รู้จักปรับตัวเข้ากับสังคมที่หลากหลาย มีจิตสาธารณะ และใฝ่เรียนรู้ตลอดชีวิต
  1. ปฏิรูปรูปแบบการเรียนรู้ที่เหมาะสม กับลักษณะผู้เรียน และบริบทสังคมในศตวรรษที่ 21
  2. สร้างบัณฑิตที่สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานได้จริง มีความสามารถในการค้นคว้าคิด วิเคราะห์ประมวลผล มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถออกแบบระบบงาน มีความฉลาดในการปรับตัวให้เข้ากับสังคมที่หลากหลายวัฒนธรรม และเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอมีความใฝ่รู้ อันจะก่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต มีสานึกในความเป็นธรรม และมีจิตสาธารณะ
1.00 1.00
2 เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาชุมชน ในมิติต่างๆ โดยบูรณาการองค์ความรู้หลากหลายสาขา จากสถาบันการศึกษา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มาแก้ปัญหา
  1. สามารถแก้ไขปัญหาในมิติต่างๆ ของชุมชนกรณีศึกษาจากการนำองค์ความรู้ที่หลากหลาย ในสถาบันอุดมศึกษา มาบูรณาการ โดยพิจารณาจากดัชนีบ่งชี้ปัญหาของชุมชน ที่ลดลงอันเป็นการสนับสนุนการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติ แผนอุดมศึกษาระยะยาว และแผนปฏิรูประบบการอุดมศึกษาของประเทศ
1.00 1.00
3 เพื่อให้ นักศึกษา คณาจารย์ และชุมชน เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีส่วนร่วม เพื่อแก้ปัญหา และพัฒนาชุมชนร่วมกัน ตั้งแต่ ศึกษาปัญหา หาแนวทางแก้ไข ลงมือปฏิบัติ สรุปผลการดำเนินงาน
  1. นักศึกษา คณาจารย์ และชุมชน เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีส่วนร่วม เพื่อแก้ปัญหา และพัฒนาชุมชนร่วมกัน และได้ข้อมูล ปัญหา และอุปสรรค์ ของชุมชน เพื่อนำมาพิจารณา ซึ่งวิธีแก้ปัญหาที่ตอบโจทย์ชุมชนอย่างแท้จริง
1.00 1.00
4 เพื่อสนับสนุนการสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ จากการวิจัย และการสร้างนวัตกรรมสังคม เพื่อใช้พัฒนาประเทศ

เกิดผลงานวิจัยและการสร้างนวัตกรรมสังคมที่มีคุณค่าต่อการพัฒนาชุมชนและประเทศชาติต่อไป

1.00 1.00

13. แนวทาง/วิธีการสำคัญ

14. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. วางแผนการดำเนินการ (P)

ชื่อกิจกรรม
1. วางแผนการดำเนินการ (P)
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้นักศึกษา และคณาจารย์ เกิดการเรียนรู้ โดยการนำความรู้สู้การปฏิบัติจริง สามารถค้นคว้า คิด วิเคราะห์ ประมวลผล มีความคิดสร้างสรรค์ รู้จักปรับตัวเข้ากับสังคมที่หลากหลาย มีจิตสาธารณะ และใฝ่เรียนรู้ตลอดชีวิต
รายละเอียดกิจกรรม
เพื่อให้นักศึกษา และคณาจารย์ เกิดการเรียนรู้ โดยการนำความรู้สู้การปฏิบัติจริง สามารถค้นคว้า คิด วิเคราะห์ ประมวลผล มีความคิดสร้างสรรค์ รู้จักปรับตัวเข้ากับสังคมที่หลากหลาย มีจิตสาธารณะ และใฝ่เรียนรู้ตลอดชีวิต
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 November 2019 ถึง 29 February 2020
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
เพื่อให้ได้งบประมาณและข้อมูล ความร่วมมือจากพื้นที่กลุ่มเป้าหมาย
ภาคีร่วมสนับสนุน
1. องค์การบริหารส่วนตำบล ตำบลอวน อำเภอปัว จังหวัดน่าน
2. องค์การบริหารส่วนจังหวัด จังหวัดน่าน
3. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
 
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าอาหาร

ค่าอาหาร ผู้เข้าร่วมประชุม (จำนวน 30 คนๆ ละ 15 มื้อๆ ละ 80 บาท)

30 คน 80 15 36,000
ค่าอาหาร

- ค่าอาหารว่าง ผู้เข้าร่วมประชุม (จำนวน 30 คนๆ ละ 30 มื้อๆ ละ 25 บาท)

30 คน 25 30 22,500
รวมค่าใช้จ่าย 58,500

กิจกรรมที่ 2 2. การดำเนินการจัดโครงการ (D)

ชื่อกิจกรรม
2. การดำเนินการจัดโครงการ (D)
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้นักศึกษา และคณาจารย์ เกิดการเรียนรู้ โดยการนำความรู้สู้การปฏิบัติจริง สามารถค้นคว้า คิด วิเคราะห์ ประมวลผล มีความคิดสร้างสรรค์ รู้จักปรับตัวเข้ากับสังคมที่หลากหลาย มีจิตสาธารณะ และใฝ่เรียนรู้ตลอดชีวิต
  2. เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาชุมชน ในมิติต่างๆ โดยบูรณาการองค์ความรู้หลากหลายสาขา จากสถาบันการศึกษา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มาแก้ปัญหา
  3. เพื่อให้ นักศึกษา คณาจารย์ และชุมชน เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีส่วนร่วม เพื่อแก้ปัญหา และพัฒนาชุมชนร่วมกัน ตั้งแต่ ศึกษาปัญหา หาแนวทางแก้ไข ลงมือปฏิบัติ สรุปผลการดำเนินงาน
  4. เพื่อสนับสนุนการสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ จากการวิจัย และการสร้างนวัตกรรมสังคม เพื่อใช้พัฒนาประเทศ
รายละเอียดกิจกรรม
1) จัดประชุมร่วมกับชุมชนเป้าหมาย เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการ
2) ออกแบบเครื่องมือในการเก็บข้อมูลโดยมีหัวข้อต่อไปนี้
- ข้อมูลทั่วไป(ประวัติความเป็นมา ลักษณะภูมิศาสตร์ วิถีชีวิต ประชากรศาสตร์ สถานที่สำคัญในหมู่บ้าน แผ่นที่หมู่บ้าน)
- ข้อมูลการเมืองการปรกครอง(ผู้นำหมู่บ้าน อดีต-ปัจจุบัน ข้อมูลกลุ่มต่างๆ ในหมู่บ้าน พร้อมด้วยประวัติจัดตั้งกลุ่ม วัตถุประสงค์กลุ่ม วิธีการดำเนินงาน และ SWOT)
- ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ(อาชีพ ผลิตภัณฑ์ชุมชน ข้อมูลแรงงาน รายได้ สวัสดิการภาครัฐ รายจ่ายในครัวเรือน หนี้สิน การชำระหนี้สิน องค์กรการเงินชุมชน)
- ด้านเทคโนโลยีที่ใช้ในหมู่บ้าน และเทคโนโลยีที่ขาด และจำเป็นต้องพัฒนา
- ปัญหาเร่งด่วนที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน สามารถช่วยเหลือได้
3) ลงพื้นที่เก็บข้อมูล โดยเก็บเป็นรายครัวเรือน และรายกลุ่ม เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึก และเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่าง นักศึกษา คณาจารย์ และชุมชน เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลงของชุมชนอย่างแท้จริง
4) วิเคราะห์รวบรวม
5) จัดประชุมเพื่อสรุปผลและยืนยันข้อมูลที่ถูกต้อง ต่อชุมชน
6) นำข้อมูลที่ได้หาปัญหาจากชุมชน เพื่อให้ได้ปัญหาที่แท้จริง และปัญหาเร่งด่วน ที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน สามารถช่วยเหลือได้ มาหาแนวทางแก้ปัญหาร่วมกัน ระหว่าง นักศึกษา คณาจารย์ และชุมชน ดังนี้
- จัดเรียงความสำคัญของปัญหา ความเร่งด่วนของปัญหา ความยากง่ายในการแก้ปัญหา ทรัพยากรที่ใช้แก้ปัญหา เงินทุนที่ใช้แก้ปัญหา ความสามารถของชุมชนในการแก้ปัญหา ภาคีเครือข่ายที่สามารถช่วยแก้ปัญหา
- จัดประชาคม เพื่อหาแนวทางแก้ปัญหาร่วมกัน นำศาสตร์ความรู้หลากหลายศาสตร์ จากนักศึกษาแต่ละสาขาวิชา และภูมิปัญญาชาวบ้าน มาแก้ปัญหา เพื่อหาแนวทางที่ดีที่สุด
- ประสานภาคีเครือข่าย และชุมชน ที่มีความเกี่ยวข้องกันการแก้ปัญหานั้นๆ
- ลงมือปฏิบัติการแก้ปัญหาร่วมกัน
- ประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินงาน
7) จัดทำรายงานรูปเล่ม และรายงานต่อมหาวิทยาลัยต่อไป
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 March 2020 ถึง 30 June 2020
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ต่อชุมชน
- ได้ข้อมูลเชิงลึกและได้ทราบปัญหาในชุมชนอย่างแท้จริงของหมู่บ้าน จำนวน 1 ชุดข้อมูล
- ได้สรุปกระบวนการแก้ปัญหาแบบบูรณาการหลายศาสตร์ จำนวน 1 ชุดข้อมูล
- ได้มีการเรียนรู้วัฒนธรรม วิธีชีวิต ต่างชุมชน อย่างน้อย จำนวน 3 เรื่อง
- ได้องค์ความรู้ หรือนวัตกรรมใหม่ เพื่อใช้แก้ปัญหาชุมชนอย่างแท้จริง อย่างน้อย จำนวน 2 เรื่อง

ต่อนักศึกษา
1) มีการนำกรณีศึกษาไปบูรณาการกับการเรียนการสอนและงานวิจัย ด้านวิศวกรรมศาสตร์ ด้านวิทยาศาสตร์ ด้านบริหารธุรกิจและศิลปะศาสตร์ อย่างน้อย ด้านละ 1 วิชา/เรื่อง โดยมีรายละเอียดดังนี้1) ด้านวิศวกรรมศาสตร์ จะบูรณาการ การเรียนการสอนกับงานบริการวิชาการ ในรายวิชา การการฝึกปฏิบัติพื้นฐานทางวิศวกรรม ระบบอัตโนมัติ เทคโนโลยีโรงเรือน การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ กลศาสตร์ยานยนต์ กลศาสตร์วิศวกรรม การควบคุมอัตโนมัติ วัสดุวิศวกรรม โครงงานทางวิศวกรรมเกษตรและชีวภาพโดยมีนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 5 คน
2) คณะบริหารธุรกิจและศิลปะศาสตร์ จะบูรณาการ การเรียนการสอนกับงานบริการวิชาการ ในรายวิชา การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ การเงินธุรกิจ หลักการตลาด การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ การบรรจุภัณฑ์ การจัดการห่วงโซ่อุปทานการตลาดสินค้าชุมชน สัมมนาการตลาด การตลาดธุรกิจโรงแรมและท่องเที่ยว โดยจะดำเนินกิจกรรมการกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชนด้วยการ ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ โดยมีนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 5 คน
3) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร จะบูรณาการ การเรียนการสอนกับงานบริการวิชาการ ในรายวิชา ทักษะพื้นฐานอุตสาหกรรมเกษตรฝีกงานทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารกึ่งแห้งบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์เพื่อการเกษตร การแปรรูปอาหารเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว ทักษะวิชาชีพทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร โดยจะดำเนินกิจกรรม โดยมีนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 5 คน
ภาคีร่วมสนับสนุน
1. องค์การบริหารส่วนตำบล ตำบลอวน อำเภอปัว จังหวัดน่าน
2. องค์การบริหารส่วนจังหวัด จังหวัดน่าน
3. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
 
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าอาหาร

- ค่าอาหารบุคลากร อาจารย์และนักศึกษา (จำนวน 12 คนๆ ละ 80 มื้อๆ ละ 80 บาท)

12 คน 80 80 76,800
ค่าอาหาร

- ค่าอาหารว่าง บุคลากร อาจารย์และนักศึกษา (จำนวน 12 คนๆ ละ 160 มื้อๆ ละ 25 บาท)

12 คน 25 160 48,000
ค่าที่พักตามจริง

- ค่าที่พักแบบเหมาจ่าย (หัวละ 200/คน 12 คน 80 วัน)

12 คน 200 80 192,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

- ค่าจ้างเหมาทำเครื่องจักร ชุดละ 35,000 จำนวน 1 ชุด

1 ชุด 35,000 1 35,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

- ค่าตอบแทนวิทยากร (จำนวน 3 คนๆ ละ 3 วันๆ ละ 6 ชม.ๆ ละ 600 บาท)

3 คน 3,600 3 32,400
ค่าตอบแทนวิทยากร

- ค่าพาหนะ (ระยะทาง ไป-กลับ 78 ก.ม.ๆ ละ 4 บาท จำนวน 16 เที่ยว)

78 เที่ยว 4 16 4,992
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

- ค้าจ้างเหมารถยนต์ วันละ 2,500 จำนวน 3 วัน

1 คน 2,500 3 7,500
รวมค่าใช้จ่าย 396,692

กิจกรรมที่ 3 3. การติดตามประเมินผล (C)

ชื่อกิจกรรม
3. การติดตามประเมินผล (C)
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้ นักศึกษา คณาจารย์ และชุมชน เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีส่วนร่วม เพื่อแก้ปัญหา และพัฒนาชุมชนร่วมกัน ตั้งแต่ ศึกษาปัญหา หาแนวทางแก้ไข ลงมือปฏิบัติ สรุปผลการดำเนินงาน
  2. เพื่อสนับสนุนการสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ จากการวิจัย และการสร้างนวัตกรรมสังคม เพื่อใช้พัฒนาประเทศ
รายละเอียดกิจกรรม
1) ลงพื้นที่เก็บข้อมูล หลังดำเนินงาน และเพื่อให้กิจกรรมมีความต่อเนื่อง และสามารถแก้ปัญหาได้อย่างทันท่วงที
2) ตรวจสอบงานว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการหรือไม่
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 July 2020 ถึง 31 July 2020
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
- เป็นการตรวจสอบผลการดำเนินงาน แล้วเสร็จตามแผนงานหรือไม่ คิดเป็นร้อยละเท่าใด
ภาคีร่วมสนับสนุน
1. องค์การบริหารส่วนตำบล ตำบลอวน อำเภอปัว จังหวัดน่าน
2. องค์การบริหารส่วนจังหวัด จังหวัดน่าน
3. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
 
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าวัสดุสำนักงาน

- กระดาษ A4 ดับเบิ้นA รีมละ 120 จำนวน 14 รีม - หมึกปริ้นเตอร์ ชุดละ 3,000 จำนวน 3 ชุด - ถุงดำ ขนาด 30*40 นิ้ว กิโลละ 60 จำนวน 6 กิโล - กระดาษพิมพ์อิงค์เจ็ทโฟโต้ A4 180g(100แผ่น) รีม ละ 280 จำนวน 2 รีม - กล่องพลาสติดใส่ของมีล้อ ใหญ่พิเศษ ใบละ 520 จำนวน 4 ใบ - กระดาษพลิปชาร์ทสีเทา(25แผ่น) ชุดละ 200 จำนวน 3 ชุด - กระดาษโปสเตอร์หน้าเดียวคละสี โหลละ 42*6 โหล - กรรไกร 7 นิ้ว อันละ 34*6 อัน - สติกเกอร์ A4 อิงค์เจ็ทโฟโต้ 115g(50แผ่น) รีมละ 215 * 6 รีม - คัทเตอร์ขนาดเล็ก ตราม้า (ซิลเวอร์) อันละ 28 * 5 อัน - เทปกาว 2 หน้า บาง 3M 1นิ้ว ม้วนละ 52*10 ม้วน - เทปโฟมกาว 2 หน้า 3M 3 เมต ม้วนละ 124*10 ม้วน - แผ่นโฟมอัด 5 มิล แผ่นละ 52*5 แผ่น - แผ่นพลาสติกลูกฟูก 65*122 ซ. 3 ม.ม. แผ่นละ 50*10 แผ่น - แก๊สกระป๋องแพค 3 แพคละ 150 * 10 แพค - ลิ้นชักพลาสติกตั้งพื้น 5 ชั้น ชุดละ 860*2 ชุด - เตาแก๊สกระป๋อง Lucky Flame รุ่น Lf-90s เครื่องละ 900*1 เครื่อง - เทปผ้ากาว 1 นิ้ว ม้วนละ 24*10 ม้วน - ปลั๊กจ่ายไฟ มีฟิวล์ 10 เมตร อันละ 280 จำนวน 4 อัน - ยางลบ ก้อนละ 5 จำนวน 35 ก้อน - ปากกาลูกลื่น แบบกด กล่องละ 251 จำนวน 1 กล่อง - ปากกาไวท์บอร์ด คละสี แท่งละ 18 บาท 12 แท่ง

1 คน 24,808 1 24,808
รวมค่าใช้จ่าย 24,808

กิจกรรมที่ 4 4. การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผลการติดตาม (A)

ชื่อกิจกรรม
4. การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผลการติดตาม (A)
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้ นักศึกษา คณาจารย์ และชุมชน เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีส่วนร่วม เพื่อแก้ปัญหา และพัฒนาชุมชนร่วมกัน ตั้งแต่ ศึกษาปัญหา หาแนวทางแก้ไข ลงมือปฏิบัติ สรุปผลการดำเนินงาน
  2. เพื่อสนับสนุนการสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ จากการวิจัย และการสร้างนวัตกรรมสังคม เพื่อใช้พัฒนาประเทศ
รายละเอียดกิจกรรม
1. ตรวจสอบผลการดำเนินการ แล้ววิเคราะห์เพื่อปรับปรุงผลการดำเนินงานตามแผนงานที่ได้ระบุรวมถึงใช้ในการพัฒนางานในขั้นต่อไป
2. มีการนำเสนอ เผยแพร่ผลงานในลักษณะนิทรรศการ ต่อสาธารณะ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 August 2020 ถึง 30 September 2020
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1. ได้ข้อมูล ปัญหา และอุปสรรค์ ของชุมชน เพื่อนำมาพิจารณา ซึ่งวิธีแก้ปัญหาที่ตอบโจทย์ชุมชนอย่างแท้จริง อย่างน้อย 1 ชุดข้อมูล
2. ได้นำเสนอ และเผยแพร่ผลงานในลักษณะนิทรรศการ ต่อสาธารณะ อย่างน้อย 1 ครั้ง
ภาคีร่วมสนับสนุน
1. องค์การบริหารส่วนตำบล ตำบลอวน อำเภอปัว จังหวัดน่าน
2. องค์การบริหารส่วนจังหวัด จังหวัดน่าน
3. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
 
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

- ค่าจ้างเหมาทำ เอ็กสแตน ชุดละ 1,000 จำนวน 10 ชุด

1 ชุด 1,000 10 10,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

- ค่าจ้างเหมาทำบูธออกงาน ชุดละ 10,000 จำนวน 1 ชุด

1 ชุด 10,000 1 10,000
รวมค่าใช้จ่าย 20,000

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 37,392.00 20,000.00 382,800.00 59,808.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 7.48% 4.00% 76.56% 11.96% 100.00%
ดูงบประมาณตามประเภท

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน บาท

งบประมาณสมทบจาก จำนวน บาท

งบประมาณรวม จำนวน บาท

15. องค์กรภาคีที่ร่วมดำเนินงาน

ระบุชื่อองค์กรภาคีที่ร่วมดำเนินงาน พร้อมทั้งบทบาทหน้าที่

สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

16. การติดตาม/การประเมินผล

ใช้กระบวนการสภาผู้นำ/สภาชุมชน ที่มีการประชุมหมู่บ้านอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยเดือนละครั้ง และกำหนดให้มีวาระการติดตามประเมินผลโครงการ การจัดทำแผนชุมชน เป็นต้น พร้อมทั้งจัดทีม เพื่อทำหน้าที่ติดตามและประเมินผลเป็นระยะว่าแต่ละโครงการ แต่ละกิจกรรม เป็นตามแผนหรือไม่ มีปัญหาอุปสรรค และต้องปรับปรุงการดำเนินงานอะไร อย่างไรบ้าง สุดท้ายทำเสร็จแล้วจะได้คุณค่าอะไรบ้าง ทั้งนี้ การติดตามประเมินผล ควรระบุการกำกับติดตามกิจกรรมต่างๆ ของโครงการที่ชัดเจน ได้แก่ วิธีการติดตามประเมินผล เครื่องมือในการติดตาม ผู้มีบทบาทในการติดตาม ระยะเวลาในการติดตาม เป็นต้น

17. แนวทางการพัฒนาเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องยั่งยืนและการขยายผล

แสดงให้ชัดเจนในเรื่องคาดหวังผลของโครงการว่าจะเกิดอะไรขึ้น และจะนำไปทำอะไร อย่างไร ให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืนในชุมชน/ท้องถิ่น และใครจะเป็นผู้รับผิดชอบในการดำเนินการต่อไป ชุมชนจะทำเองต่อ หรือใช้แหล่งทุนใดในชุมชน ตลอดจนจะมีวิธีการขยายผลจากการดำเนินโครงการนี้อย่างไร และชุมชน หรือผู้อื่นจะใช้ประโยชน์จากผลของโครงการอย่างไร

18. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้/การเผยแพร่ผลการดำเนินโครงการ

19. การขอทุนจากแหล่งอื่น

กรณีมีการขอทุนจากแหล่งอื่น ให้ระบุชื่อแหล่งทุนและจำนวนเงิน

20. ไฟล์เอกสารประกอบการพัฒนาโครงการ

ไม่มีไฟล์เอกสารประกอบการพัฒนาโครงการ


ภาคผนวกที่ 3 ความเห็น

1. ความเห็นของทีมสนับสนุนวิชาการ (พี่เลี้ยง) และ ผู้ทรงคุณวุฒิ

ตัวชี้วัดการประเมิน

1. การมีส่วนร่วม

คะแนน 5 4 3 2 1

2. ผู้นำ/แกนชุมชน

คะแนน 5 4 3 2 1

การพัฒนาโครงการ

มีผู้รับผิดชอบโครงการ และแกนนำในชุมชน

การติดตามประเมินผล

  • เกิดกลไกขับเคลื่อนในพื้นที่ เช่น สภาผู้นำ/กลุ่ม/เครือข่าย

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

ตัวชี้วัดการประเมิน

3. โครงสร้างองค์กร

คะแนน 5 4 3 2 1

การพัฒนาโครงการ

โครงสร้างชุมชน ทุนของชุมชน
การวิเคราะห์และอธิบายทุนที่มีอยู่ในชุมชน

การติดตามประเมินผล

  • เกิดกลไกขับเคลื่อนในพื้นที่ เป็นส่วนสำคัญในโครงสร้างชุมชน เช่น กรรมการหมู่บ้าน กรรมการชุมชน เป็นต้น

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

ตัวชี้วัดการประเมิน

4. การประเมินปัญหา

คะแนน 5 4 3 2 1

5. การถามว่าทำไม

คะแนน 5 4 3 2 1

การพัฒนาโครงการ

การวิเคราะห์สภาพปัญหาในชุมชน/เลือกปัญหา
การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการปัญหา (คน สภาพแวดล้อมกลไก)
การวิเคราะห์และจัดทำแนวทางการจัดการปัญหา
การมีแผนชุมชน

การติดตามประเมินผล

  • มีฐานข้อมูลชุมชน (ปัญหาของชุมชน , ปัญหาเฉพาะประเด็น)

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

ตัวชี้วัดการประเมิน

6. การระดมทรัพยากร

คะแนน 5 4 3 2 1

7. การเชื่อมโยงภายนอก

คะแนน 5 4 3 2 1

การพัฒนาโครงการ

แผนการดำเนินการมีภาคีร่วมสนับสนุน อะไร อย่างไร งบประมาณที่ร่วมสนับสนุน

การติดตามประเมินผล

  • การระดมทรัพยากรและการเชื่อมโยงภายนอก มีการบรรจุอยู่ใน แผนชุมชน แผน อบต./เทศบาล แผนของหน่วยงาน

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

ตัวชี้วัดการประเมิน

8. บทบาทตัวแทน

คะแนน 5 4 3 2 1

ตัวแทนภายใน
  • ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นตัวแทนชุมชน มีกระบวนการชี้แจง ประชุมชุมชนก่อนเริ่มโครงการ
  • มีกระบวนการติดตามประเมินผลโครงการโดยชุมชน
  • มีการประเมินผลระหว่างโครงการ
  • มีการประเมินผลหลังการทำโครงการ
ตัวแทนภายนอก
  • มีระบบพี่เลี้ยง หนุนเสริม เชื่อมประสานกับหน่วยงานภาคีที่เกี่ยวข้องทั้งภายใน และภายนอกชุมชน

การพัฒนาโครงการ

ตัวแทนภายใน และตัวแทนภายนอก

การติดตามประเมินผล

  • ผู้รับผิดชอบโครงการเข้าไปมีส่วนร่วมในกลุ่ม / เครือข่าย หรือ หน่วยงานทั้งภายในและภายนอกชุมชน
  • ผู้รับผิดชอบโครงการยกระดับเป็นพี่เลี้ยง

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

ตัวชี้วัดการประเมิน

9. การบริหารจัดการ

คะแนน 5 4 3 2 1

การพัฒนาโครงการ

  • การใช้ระบบพัฒนาโครงการบนเว็บไซต์

การติดตามประเมินผล

  • การใช้ระบบติดตามประเมินผลบนเว็บไซต์ (รายงาน, การเงิน)

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

ตัวชี้วัดการประเมิน

10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
10.1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
  • ความรู้ใหม่/องค์ความรู้ใหม่
  • สิ่งประดิษฐ์/ผลผลิตใหม่
  • กระบวนการใหม่
  • วิธีการทำงาน/การจัดการใหม่
  • การเกิดกลุ่ม/โครงสร้างในชุมชนใหม่
  • แหล่งเรียนรู้ใหม่

การติดตามประเมินผล

  • การเกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

ตัวชี้วัดการประเมิน

10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
10.2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
  • การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
  • การบริโภค
  • การออกกำลังกาย
  • การลด ละ เลิก อบายมุข
  • การลดพฤติกรรมเสี่ยง
  • การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
  • การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต
  • พฤติกรรมการจัดการตนเองครอบครัว

การติดตามประเมินผล

  • การเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

ตัวชี้วัดการประเมิน

10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
10.3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
  • กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ
  • สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
  • เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ
  • มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

การติดตามประเมินผล

  • การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

ตัวชี้วัดการประเมิน

10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
10.4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
  • มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
  • มีธรรมนูญของชุมชน
  • อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น

การติดตามประเมินผล

  • การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

ตัวชี้วัดการประเมิน

10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
10.5 เกิดกระบวนการชุมชน
  • เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย
  • การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
  • การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน
  • มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
  • เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
  • เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ

การติดตามประเมินผล

  • การเกิดกระบวนการชุมชน

ตัวชี้วัดการประเมิน

10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
10.6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
  • ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
  • การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
  • การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
  • ชุมชนมีความเอื้ออาทร
  • มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

การติดตามประเมินผล

  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คะแนนตัวชี้วัดการประเมิน

คะแนนตัวชี้วัด = 0/45 = 0.00%

กรุณาคลิกรีเฟรชเพื่อคำนวนคะแนนตัวชี้วัดใหม่

2. สรุปภาพรวมข้อเสนอโครงการ

3. ความเห็นภาพรวมของผู้ทรงคุณวุฒิ

<