การเรียนรู้ยกระดับคุณภาพชีวิตจากสมุนไพร และเห็ดป่ากินได้ วัดอัมพวันม่วงน้อย ตำบลลำคลอง โดยผ่านการถ่ายทอดและเรียนรู้ร่วมกัน

สำหรับเจ้าหน้าที่

รหัสโครงการ :

วันที่ :         /              /25       

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ

การเรียนรู้ยกระดับคุณภาพชีวิตจากสมุนไพร และเห็ดป่ากินได้ วัดอัมพวันม่วงน้อย ตำบลลำคลอง โดยผ่านการถ่ายทอดและเรียนรู้ร่วมกัน

ควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

2. ประเภทโครงการ

** โครงการใหม่ หมายถึง เป็นโครงการที่ยังไม่เคยได้รับทุนสนับสนุน
** โครงการต่อเนื่อง หมายถึง เป็นโครงการต่อเนื่องจากโครงการที่เคยได้รับทุน

3. องค์กร/คณะบุคคล ที่เสนอโครงการ (กรณีขอทุนในนามองค์กร/คณะบุคคล)

1. ชื่อองค์กร/คณะบุคคล


4. ผู้รับผิดชอบโครงการ

1. ชื่อ-นามสกุลผู้รับผิดชอบโครงการ

คำนำหน้าชื่อ ชื่อ นามสกุล

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก    *************

ที่อยู่ตามบัตรประชาชน

บ้านเลขที่ ** หมู่ที่ ตรอก/ซอย ถนน ตำบล/แขวง อำเภอ/เขต จังหวัด รหัสไปรษณีย์

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก ******** เบอร์มือถือ ******** โทรสาร ******** อีเมล์ ********

รายชื่อผู้ร่วมทำโครงการ/คณะทำงาน (อย่างน้อย 2 คน)

ผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการ คนที่ 1

คำนำหน้าชื่อ ชื่อ นามสกุล

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก    *************

ที่อยู่ตามบัตรประชาชน

บ้านเลขที่ ** หมู่ที่ ตรอก/ซอย ถนน ตำบล/แขวง อำเภอ/เขต จังหวัด รหัสไปรษณีย์

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก ******** เบอร์มือถือ ******** โทรสาร ******** อีเมล์ ********

บทบาทหน้าที่/ความรับผิดชอบในโครงการนี้ ตำแหน่ง สังกัด

ผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการ คนที่ 2

คำนำหน้าชื่อ ชื่อ นามสกุล

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก    *************

ที่อยู่ตามบัตรประชาชน

บ้านเลขที่ ** หมู่ที่ ตรอก/ซอย ถนน ตำบล/แขวง อำเภอ/เขต จังหวัด รหัสไปรษณีย์

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก ******** เบอร์มือถือ ******** โทรสาร ******** อีเมล์ ********

บทบาทหน้าที่/ความรับผิดชอบในโครงการนี้ ตำแหน่ง สังกัด

5. ท่านและองค์กรของท่าน จัดอยู่ในองค์กรประเภทใด

ระบุ

6. ความสอดคล้องกับแผนงาน

ยังไม่มีรายการความสอดคล้องในระบบ

7. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

8. ความเป็นมา/ หลักการและเหตุผล/ ความสำคัญของปัญหา

สถานการณ์ปัญหา

สถานการณ์ปัญหาขนาด
ระบุความเป็นมา / สถานการณ์ / หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติมในช่องด้านล่าง

9. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 16/03/2020 กำหนดเสร็จ 16/04/2020

10. ประเด็นหลัก

เลือกประเด็นหลักของโครงการ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)

ระบุ

11. กลุ่มเป้าหมายที่คาดว่าจะได้รับผลประโยชน์และพื้นที่ดำเนินงาน

ระบุกลุ่มเป้าหมายว่าเป็นใครบ้าง จำนวนเท่าไร มีวิธีการคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายอย่างไร หากมีกลุ่มเป้าหมายหลายกลุ่มควรระบุกลุ่มเป้าหมายหลักและเป้าหมายรองด้วย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
นักศึกษา 8
นักเรียนหรือเยาวชน 20
ประชาชน/ครู/ผู้รู้ท้องถิ่น 22

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ เมืองกาฬสินธุ์ ลำปาว

12. วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด/กิจกรรมการดำเนินงาน

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อพัฒนาชุมชนในการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยการนำองค์ความรู้ที่หลากหลายใน สถาบันอุดมศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และจัดกิจกรรมโดยการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้รู้ในท้องถิ่น ประชาชน อาจารย์ นักศึกษา ครู นักเรียน มาบูรณาการในการแก้พัฒนาคุณภาพชีวิตให้ 2. เพื่อจัดทำแหล่งเรียนรู้ท้องถิ่น และจัดทำฐานข้อมูลออนล์ด้านพืชสมุนไพร และเห็ดป่ากินได้ วัดอัมพวันม่วงน้อย จังหวัดกาฬสินธุ์ เพื่อให้บริการแก่ชุมชนและสาธารณชนทั่วไป 3. เพื่อนำองค์ความรู้ เกี่ยวกับ อนุกรมวิธานพืช อนุกรมวิธานเห็ด และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร เช่น ลูกประคบ ยาหม่องสมุนไพร น้ำมันสารพัดประโยชน์ ยาส้ม เป็นต้น การทำผงปรุงรสจากพืชสมุนไพร การทำข้าวเกรียบสาหร่าย, ข้าวเกรียบเห็ด, แหนมเห็ด, ซาลาเปาเห็ด, ข้าวฮาง, การทำน้ำดื่มสมุนไพร เป็นต้น มาใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมให้ชุมชนร่วมกับนักเรียน นักศึกษา ผลิตเพื่อบริโภคเอง หรือจำหน่ายเพื่อสร้างรายได้ให้กับครัวเรือน 4. เพื่อให้นักเรียนและนักศึกษา ได้ร่วมกันทำงานการศึกษา วางแผนการสำรวจ ทดลอง จัดกระทำข้อมูล และนำเสนอผลการศึกษา โดยใช้เทคโนโลยีกับชุมชน ทำให้ได้กระบวนการได้มาซึ่งองค์ความรู้โดยวิธีการสำรวจ ค้นคว้า และกระบวนการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ ส่งผลให้พัฒนาทักษะกระบวนการคิด และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 5. เพื่อให้นักศึกษาได้ประยุกต์องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานจริง มีความสามารถในการค้นคว้า คิด วิเคราะห์ ประมวลผล มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถออกแบบระบบงาน จนสามารถทำการศึกษาและวิจัยทางวิทยาศาสตร์ได้ และสามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคม และมีจิตสาธารณะ รวมทั้งมีความใฝ่รู้อันจะก่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต

 

0.00

13. แนวทาง/วิธีการสำคัญ

14. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 สร้างความตระหนัก สำรวจและการปลูกพืชสมุนไพร

ชื่อกิจกรรม
สร้างความตระหนัก สำรวจและการปลูกพืชสมุนไพร
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    1. ประชุมเพื่อสร้างความตระหนัก
    2. ขออาสาสมัครร่วมกิจกรรมการปลูกพืชสมุนไพร
    3. สำรวจสมุนไพรในป่าวัดอัมพวัน เพื่อจัดทำฐานข้อมูลพืชสมุนไพร
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    16 มีนาคม 2563 ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    1.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของพืชสมุนไพร
    2. ประชาชน/นักเรียน ในพื้นที่ จำนวน 20 หลังคาเรือน ปลูกพืชสมุนไพรไว้ใช้ประโยชน์
    3. นักเรียนและนักศึกษา ประชาชน ทำการสำรวจพืชสมุนไพรในบริเวณวัดอัมพวันม่วงน้อย มีอะไรบ้าง ใช้ประโยชน์อะไร และจำแนกพืช นำเสนอข้อมูลให้กับชุมชน
    4. จัดอนุกรมวิธานพืช ตรวจสอบความถูกต้อง จัดทำฐานข้อมูลออนไลน์ และติดป้ายพืช
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    วัดอัมพวันม่วงน้อย
     
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    รวมค่าใช้จ่าย 0

    กิจกรรมที่ 2 การทำและใช้ปุ๋ยชีวภาพ

    ชื่อกิจกรรม
    การทำและใช้ปุ๋ยชีวภาพ
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      1. ให้ความรู้
      2. ขออาสาสมัครบ้านร่วมการทำปุ๋ยชีวภาพจำนวน 30 หลังคาเรือน
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      31 มีนาคม 2563 ถึง
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      1.ชาวบ้าน จำนวน 20 หลังคาเรือน และ 1ชุมชน ทำปุ๋ยชีวภาพสำหรับใช้บำรุงต้นไม้ โดยความร่วมมือของนักเรียนและนักศึกษา
      2. นักเรียน นักศึกษา ศึกษาประสิทธิภาพของการใช้ปุ๋ยชีวภาพในการปลูกพืชผักสมุนไพร
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
      วัดอัมพวันม่วงน้อย
       
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      รวมค่าใช้จ่าย 0

      กิจกรรมที่ 3 รียนรู้และผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพร ได้แก่ ลูกประคบ ยาหม่องสมุนไพร น้ำมันสารพัดประโยชน์ ยาส้ม เป็นต้น

      ชื่อกิจกรรม
      รียนรู้และผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพร ได้แก่ ลูกประคบ ยาหม่องสมุนไพร น้ำมันสารพัดประโยชน์ ยาส้ม เป็นต้น
      วัตถุประสงค์
        รายละเอียดกิจกรรม
        1. ให้ความรู้ประโยชน์และวิธีการแปรรูปสมุนไพร
        2. รวบรวมพืชผักและผลิตผงปรุงรส ครั้งที่ 1
        3. ผลิตผงปรุงรส ครั้งที่ 2
        ระยะเวลาดำเนินงาน
        5 เมษายน 2563 ถึง
        ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
        1. ชาวบ้าน ครู นักเรียนและนักศึกษา มีความรู้เกี่ยวกับประโยชน์และวิธีการแปรรูปสมุนไพร
        2. ชาวบ้าน ครู นักเรียนและนักศึกษา ร่วมกันเตรียมสมุนไพรและทำการแปรรูปสมุนไพร
        ภาคีร่วมสนับสนุน
        โรงเรียนบ้านหนองม่วง, วัดอัมพวันม่วงน้อย
         
        รายละเอียดงบประมาณ
        ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
        รวมค่าใช้จ่าย 0

        กิจกรรมที่ 4 สำรวจเห็ดป่ากินได้

        ชื่อกิจกรรม
        สำรวจเห็ดป่ากินได้
        วัตถุประสงค์
          รายละเอียดกิจกรรม
          1. สำรวจเห็ดกินได้ในป่าวัดอัมพวัน เพื่อจัดทำฐานข้อมูลเห็ดกินได้วัดอัมพวันม่วงน้อย
          2. จัดอนุกรมวิธานเห็ดกินได้ ตรวจสอบความถูกต้อง จัดทำฐานข้อมูลออนไลน์
          ระยะเวลาดำเนินงาน
          29 เมษายน 2563 ถึง
          ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
          ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของเห็ดป่ากินได้
          2. ประชาชน นักเรียนและนักศึกษา ทำการสำรวจเห็ดป่ากินได้ในบริเวณวัดอัมพวันม่วงน้อย มีอะไรบ้าง ใช้ประโยชน์อะไร
          4. จัดทำอนุกรมวิธานเห็ดกินได้วัดอัมพวันม่วงน้อย ตรวจสอบความถูกต้อง จัดทำฐานข้อมูลออนไลน์
          ภาคีร่วมสนับสนุน
          วัดอัมพวันม่วงน้อย
           
          รายละเอียดงบประมาณ
          ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
          รวมค่าใช้จ่าย 0

          กิจกรรมที่ 5 การแปรรูปเห็ด/อาหารสุขภาพ

          ชื่อกิจกรรม
          การแปรรูปเห็ด/อาหารสุขภาพ
          วัตถุประสงค์
            รายละเอียดกิจกรรม
            วันที่ 1 การทำข้าวเกรียบสาหร่าย, การทำข้าวเกรียบเห็ด
            วันที่ 2 การทำข้าวฮาง/การทำผงปรุงรสสมุนไพร
            วันที่ 3 การทำซาลาเปาเห็ด/การทำสังขยาจากเห็ด/ฟักทอง
            1. ให้ความรู้
            2. สำรวจความต้องการของชุนและความพร้อมของวัตถุดิบในชุมชนในการทำอาหารแปรรูปเห็ด/อาหารสุขภาพ
            3.ฝึกปฏิบัติการแปรรูปอาหาร
            ระยะเวลาดำเนินงาน
            16 พ.ค. 2563 ถึง
            ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
            1.สูงวัย ผู้ใหญ่ เยาวชน นักเรียนและนักศึกษาร่วมกันฝึกปฏิบัติการแปรรูปอาหาร ประเภทอาหาร ของขบเคี้ยว และเครื่องดื่มสมุนไพร
            2. ร้อยละ 20 ของชาวบ้าน สามารถแปรรูปอาหาร ไม่น้อยกว่า 5 รายการ เชิงการค้าได้
            ภาคีร่วมสนับสนุน
            คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
             
            รายละเอียดงบประมาณ
            ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
            รวมค่าใช้จ่าย 0

            กิจกรรมที่ 6 การวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์

            ชื่อกิจกรรม
            การวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์
            วัตถุประสงค์
              รายละเอียดกิจกรรม
              1. นักศึกษาแบ่งกลุ่ม จัดทำและเสนอเค้าโครงการวิจัย (วางแผนการทดลอง)
              2. นักศึกษาแต่ละกลุ่มเก็บตัวอย่าง เช่น อาหารแปรรูป ดิน เห็ด ตามที่กำหนด
              3. นำตัวอย่างไปวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ที่ห้องปฏิบัติการ ตามพารามิเตอร์ที่กำหนด เช่น อนุกรมวิธานพืชสมุนไพรและเห็ดป่ากินได้ คุณค่าทางโภชนาการของอาหารแปรรูป สมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน เป็นต้น
              ระยะเวลาดำเนินงาน
              22 พ.ค. 2563 ถึง
              ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
              1. ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ เช่น อนุกรมวิธานพืชสมุนไพรและเห็ดป่ากินได้ คุณค่าทางโภชนาการของอาหารแปรรูป สมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน เป็นต้น
              2. รายงานวิจัย จำนวน 4 เรื่อง
              ทความวิจัย จำนวน 4 เรื่อง เพื่อเผยแพร่ในการนำเสนอในที่ประชุมวิชาการระดับชาติ หรือตีพิมพ์เผยแพร่
              ภาคีร่วมสนับสนุน
              คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
               
              รายละเอียดงบประมาณ
              ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
              รวมค่าใช้จ่าย 0

              กิจกรรมที่ 7 ติดตามและนำเสนอผลการวิจัย

              ชื่อกิจกรรม
              ติดตามและนำเสนอผลการวิจัย
              วัตถุประสงค์
                รายละเอียดกิจกรรม
                ระยะเวลาดำเนินงาน
                16 กรกฎาคม 2563 ถึง
                ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
                รายงานสรุปผลการดำเนินงาน
                บทความวิจัย จำนวน 1 เรื่อง เพื่อเผยแพร่ในการนำเสนอในที่ประชุมวิชาการระดับชาติ หรือตีพิมพ์เผยแพร่
                ภาคีร่วมสนับสนุน
                วัดอัมพวันม่วงน้อย, องค์การบริหารส่วนตำบลลำคลอง
                 
                รายละเอียดงบประมาณ
                ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
                ค่าตอบแทนวิทยากร

                1.วิทยากร (2 คน x 600 บาท x 6ซม.xวัน)

                1 คน 7,200 11 79,200
                ค่าตอบแทนวิทยากร

                -ผู้ช่วยวิทยากร 2 คน*300xวัน

                1 คน 3,600 12 43,200
                ค่าอาหาร

                ค่าอาหาร 100 บาท* 55 คน

                1 คน 2,750 11 30,250
                ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

                ค่าเดินทางวิทยากร+ผู้ช่วยวิทยากร (4 คน x 480 บาท)

                1 คน 1,920 6 11,520
                ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

                ค่าเดินทางนักศึกษา (8 คน x 240 บาท)

                1 คน 3,840 6 23,040
                ค่าถ่ายเอกสาร

                ค่าถ่ายเอกสาร และสิ่งพิมพ์ (50 ชุด)

                1 คน 3,000 6 18,000
                ค่าตอบแทนวิทยากร

                ค่าเช่าห้องประชุม ( 1000 บาท/วัน)

                1 คน 2,200 5 11,000
                ค่าวัสดุสำนักงาน

                ค่าวัสดุสำนักงาน

                1 คน 600 5 3,000
                ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

                ค่าวัสดุโครงการ

                1 คน 10,000 6 60,000
                อื่น ๆ

                ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์

                1 คน 62,290 1 62,290
                อื่น ๆ

                ค่าทำฐานข้อมูลออนไลน์

                1 คน 5,000 3 15,000
                อื่น ๆ

                ค่าพิมพ์/จัดทำเอกสาร

                1 คน 3,000 1 3,000
                ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

                ค่าทำเล่มรายงานวิจัยนักศึกษา

                1 คน 20,000 1 20,000
                อื่น ๆ

                ค่าทำรายงานสรุป

                1 คน 10,000 1 10,000
                อื่น ๆ

                มหาวิทยาลัย ร้อยละ 10

                1 คน 50,000 1 50,000
                อื่น ๆ

                ค่าใช้สอย

                1 คน 5,500 11 60,500
                รวมค่าใช้จ่าย 500,000

                รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

                ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
                ค่าใช้จ่าย (บาท) 133,400.00 102,810.00 63,000.00 200,790.00 500,000.00
                เปอร์เซ็นต์ (%) 26.68% 20.56% 12.60% 40.16% 100.00%
                ดูงบประมาณตามประเภท

                งบประมาณโครงการ

                จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน บาท

                งบประมาณสมทบจาก จำนวน บาท

                งบประมาณรวม จำนวน บาท

                15. องค์กรภาคีที่ร่วมดำเนินงาน

                ระบุชื่อองค์กรภาคีที่ร่วมดำเนินงาน พร้อมทั้งบทบาทหน้าที่

                ศูนย์วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

                16. การติดตาม/การประเมินผล

                ใช้กระบวนการสภาผู้นำ/สภาชุมชน ที่มีการประชุมหมู่บ้านอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยเดือนละครั้ง และกำหนดให้มีวาระการติดตามประเมินผลโครงการ การจัดทำแผนชุมชน เป็นต้น พร้อมทั้งจัดทีม เพื่อทำหน้าที่ติดตามและประเมินผลเป็นระยะว่าแต่ละโครงการ แต่ละกิจกรรม เป็นตามแผนหรือไม่ มีปัญหาอุปสรรค และต้องปรับปรุงการดำเนินงานอะไร อย่างไรบ้าง สุดท้ายทำเสร็จแล้วจะได้คุณค่าอะไรบ้าง ทั้งนี้ การติดตามประเมินผล ควรระบุการกำกับติดตามกิจกรรมต่างๆ ของโครงการที่ชัดเจน ได้แก่ วิธีการติดตามประเมินผล เครื่องมือในการติดตาม ผู้มีบทบาทในการติดตาม ระยะเวลาในการติดตาม เป็นต้น

                17. แนวทางการพัฒนาเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องยั่งยืนและการขยายผล

                แสดงให้ชัดเจนในเรื่องคาดหวังผลของโครงการว่าจะเกิดอะไรขึ้น และจะนำไปทำอะไร อย่างไร ให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืนในชุมชน/ท้องถิ่น และใครจะเป็นผู้รับผิดชอบในการดำเนินการต่อไป ชุมชนจะทำเองต่อ หรือใช้แหล่งทุนใดในชุมชน ตลอดจนจะมีวิธีการขยายผลจากการดำเนินโครงการนี้อย่างไร และชุมชน หรือผู้อื่นจะใช้ประโยชน์จากผลของโครงการอย่างไร

                18. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้/การเผยแพร่ผลการดำเนินโครงการ

                19. การขอทุนจากแหล่งอื่น

                กรณีมีการขอทุนจากแหล่งอื่น ให้ระบุชื่อแหล่งทุนและจำนวนเงิน

                20. ไฟล์เอกสารประกอบการพัฒนาโครงการ

                ไม่มีไฟล์เอกสารประกอบการพัฒนาโครงการ


                ภาคผนวกที่ 3 ความเห็น

                1. ความเห็นของทีมสนับสนุนวิชาการ (พี่เลี้ยง) และ ผู้ทรงคุณวุฒิ

                ตัวชี้วัดการประเมิน

                1. การมีส่วนร่วม

                คะแนน 5 4 3 2 1

                2. ผู้นำ/แกนชุมชน

                คะแนน 5 4 3 2 1

                การพัฒนาโครงการ

                มีผู้รับผิดชอบโครงการ และแกนนำในชุมชน

                การติดตามประเมินผล

                • เกิดกลไกขับเคลื่อนในพื้นที่ เช่น สภาผู้นำ/กลุ่ม/เครือข่าย

                ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

                ตัวชี้วัดการประเมิน

                3. โครงสร้างองค์กร

                คะแนน 5 4 3 2 1

                การพัฒนาโครงการ

                โครงสร้างชุมชน ทุนของชุมชน
                การวิเคราะห์และอธิบายทุนที่มีอยู่ในชุมชน

                การติดตามประเมินผล

                • เกิดกลไกขับเคลื่อนในพื้นที่ เป็นส่วนสำคัญในโครงสร้างชุมชน เช่น กรรมการหมู่บ้าน กรรมการชุมชน เป็นต้น

                ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

                ตัวชี้วัดการประเมิน

                4. การประเมินปัญหา

                คะแนน 5 4 3 2 1

                5. การถามว่าทำไม

                คะแนน 5 4 3 2 1

                การพัฒนาโครงการ

                การวิเคราะห์สภาพปัญหาในชุมชน/เลือกปัญหา
                การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการปัญหา (คน สภาพแวดล้อมกลไก)
                การวิเคราะห์และจัดทำแนวทางการจัดการปัญหา
                การมีแผนชุมชน

                การติดตามประเมินผล

                • มีฐานข้อมูลชุมชน (ปัญหาของชุมชน , ปัญหาเฉพาะประเด็น)

                ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

                ตัวชี้วัดการประเมิน

                6. การระดมทรัพยากร

                คะแนน 5 4 3 2 1

                7. การเชื่อมโยงภายนอก

                คะแนน 5 4 3 2 1

                การพัฒนาโครงการ

                แผนการดำเนินการมีภาคีร่วมสนับสนุน อะไร อย่างไร งบประมาณที่ร่วมสนับสนุน

                การติดตามประเมินผล

                • การระดมทรัพยากรและการเชื่อมโยงภายนอก มีการบรรจุอยู่ใน แผนชุมชน แผน อบต./เทศบาล แผนของหน่วยงาน

                ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

                ตัวชี้วัดการประเมิน

                8. บทบาทตัวแทน

                คะแนน 5 4 3 2 1

                ตัวแทนภายใน
                • ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นตัวแทนชุมชน มีกระบวนการชี้แจง ประชุมชุมชนก่อนเริ่มโครงการ
                • มีกระบวนการติดตามประเมินผลโครงการโดยชุมชน
                • มีการประเมินผลระหว่างโครงการ
                • มีการประเมินผลหลังการทำโครงการ
                ตัวแทนภายนอก
                • มีระบบพี่เลี้ยง หนุนเสริม เชื่อมประสานกับหน่วยงานภาคีที่เกี่ยวข้องทั้งภายใน และภายนอกชุมชน

                การพัฒนาโครงการ

                ตัวแทนภายใน และตัวแทนภายนอก

                การติดตามประเมินผล

                • ผู้รับผิดชอบโครงการเข้าไปมีส่วนร่วมในกลุ่ม / เครือข่าย หรือ หน่วยงานทั้งภายในและภายนอกชุมชน
                • ผู้รับผิดชอบโครงการยกระดับเป็นพี่เลี้ยง

                ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

                ตัวชี้วัดการประเมิน

                9. การบริหารจัดการ

                คะแนน 5 4 3 2 1

                การพัฒนาโครงการ

                • การใช้ระบบพัฒนาโครงการบนเว็บไซต์

                การติดตามประเมินผล

                • การใช้ระบบติดตามประเมินผลบนเว็บไซต์ (รายงาน, การเงิน)

                ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

                ตัวชี้วัดการประเมิน

                10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
                10.1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
                • ความรู้ใหม่/องค์ความรู้ใหม่
                • สิ่งประดิษฐ์/ผลผลิตใหม่
                • กระบวนการใหม่
                • วิธีการทำงาน/การจัดการใหม่
                • การเกิดกลุ่ม/โครงสร้างในชุมชนใหม่
                • แหล่งเรียนรู้ใหม่

                การติดตามประเมินผล

                • การเกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

                ตัวชี้วัดการประเมิน

                10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
                10.2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
                • การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
                • การบริโภค
                • การออกกำลังกาย
                • การลด ละ เลิก อบายมุข
                • การลดพฤติกรรมเสี่ยง
                • การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
                • การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต
                • พฤติกรรมการจัดการตนเองครอบครัว

                การติดตามประเมินผล

                • การเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

                ตัวชี้วัดการประเมิน

                10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
                10.3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
                • กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ
                • สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
                • เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ
                • มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

                การติดตามประเมินผล

                • การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

                ตัวชี้วัดการประเมิน

                10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
                10.4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
                • มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
                • มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
                • มีธรรมนูญของชุมชน
                • อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น

                การติดตามประเมินผล

                • การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

                ตัวชี้วัดการประเมิน

                10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
                10.5 เกิดกระบวนการชุมชน
                • เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย
                • การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
                • การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน
                • มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
                • เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
                • เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ

                การติดตามประเมินผล

                • การเกิดกระบวนการชุมชน

                ตัวชี้วัดการประเมิน

                10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
                10.6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
                • ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
                • การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
                • การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
                • ชุมชนมีความเอื้ออาทร
                • มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

                การติดตามประเมินผล

                • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

                คะแนนตัวชี้วัดการประเมิน

                คะแนนตัวชี้วัด = 0/45 = 0.00%

                กรุณาคลิกรีเฟรชเพื่อคำนวนคะแนนตัวชี้วัดใหม่

                2. สรุปภาพรวมข้อเสนอโครงการ

                3. ความเห็นภาพรวมของผู้ทรงคุณวุฒิ

                <