การพัฒนาศักยภาพกลุ่มทอผ้าพื้นเมืองบ้านจันทร์ส่องหล้า ตำบลห้วยแม็ก อำเภอห้วยแม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์

สำหรับเจ้าหน้าที่

รหัสโครงการ :

วันที่ :         /              /25       

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ

การพัฒนาศักยภาพกลุ่มทอผ้าพื้นเมืองบ้านจันทร์ส่องหล้า ตำบลห้วยแม็ก อำเภอห้วยแม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์

ควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

2. ประเภทโครงการ

** โครงการใหม่ หมายถึง เป็นโครงการที่ยังไม่เคยได้รับทุนสนับสนุน
** โครงการต่อเนื่อง หมายถึง เป็นโครงการต่อเนื่องจากโครงการที่เคยได้รับทุน

3. องค์กร/คณะบุคคล ที่เสนอโครงการ (กรณีขอทุนในนามองค์กร/คณะบุคคล)

1. ชื่อองค์กร/คณะบุคคล

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น

0994000391676

150 6 ศรีจันทร์ ในเมือง เมืองขอนแก่น ขอนแก่น 40000

043-283700 - 043-283700 pattamakes@gmail.com

4. ผู้รับผิดชอบโครงการ

1. ชื่อ-นามสกุลผู้รับผิดชอบโครงการ

คำนำหน้าชื่อ ดร ชื่อ เครือวัลย์ นามสกุล มาลาศรี

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก    *************

สาขาสังคมศาสตร์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนดลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น 150หมู่ที่6ตรอก/ซอย-ถนนศรีจันทร์ตำบล/แขวงในเมืองอำเภอ/เขตเมืองขอนแก่นจังหวัดขอนแก่นรหัสไปรษณีย์40000

ที่อยู่ตามบัตรประชาชน

บ้านเลขที่ ** หมู่ที่ 6 ตรอก/ซอย - ถนน ศรีจันทร์ ตำบล/แขวง ในเมือง อำเภอ/เขต เมืองขอนแก่น จังหวัด ขอนแก่น รหัสไปรษณีย์ 40000

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก ******** เบอร์มือถือ ******** โทรสาร ******** อีเมล์ ********

150หมู่ที่6ตรอก/ซอย-ถนนศรีจันทร์ตำบล/แขวงในเมืองอำเภอ/เขตเมืองขอนแก่นจังหวัดขอนแก่นรหัสไปรษณีย์40000

รายชื่อผู้ร่วมทำโครงการ/คณะทำงาน (อย่างน้อย 2 คน)

ผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการ คนที่ 1

คำนำหน้าชื่อ นางสาว ชื่อ กรรณิกา นามสกุล บุตรอุดม

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก    *************

ที่อยู่ตามบัตรประชาชน

บ้านเลขที่ ** หมู่ที่ 6 ตรอก/ซอย - ถนน ศรีจันทร์ ตำบล/แขวง ในเมือง อำเภอ/เขต เมืองขอนแก่น จังหวัด ขอนแก่น รหัสไปรษณีย์ 40000

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก ******** เบอร์มือถือ ******** โทรสาร ******** อีเมล์ ********

บทบาทหน้าที่/ความรับผิดชอบในโครงการนี้ ข้อมูลวิชาการ ตำแหน่ง อาจารย์ สังกัด สาขาวิชาสังคมศาสตร์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม

ผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการ คนที่ 2

คำนำหน้าชื่อ นางสาว ชื่อ ปัทมเกสร์ นามสกุล ราชธานี

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก    *************

ที่อยู่ตามบัตรประชาชน

บ้านเลขที่ ** หมู่ที่ 6 ตรอก/ซอย ถนน ศรีจันทร์ ตำบล/แขวง ในเมือง อำเภอ/เขต เมืองขอนแก่น จังหวัด ขอนแก่น รหัสไปรษณีย์ 40000

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก ******** เบอร์มือถือ ******** โทรสาร ******** อีเมล์ ********

บทบาทหน้าที่/ความรับผิดชอบในโครงการนี้ ประสานงาน ตำแหน่ง นักวิชาการศึกษา สังกัด แผนกวิจัยและพัฒนา ศูนย์บริการทางวิชาการและทดสอบ สำนักงานวิทยาเขตขอนแก่น

5. ท่านและองค์กรของท่าน จัดอยู่ในองค์กรประเภทใด

ระบุ

6. ความสอดคล้องกับแผนงาน

ยังไม่มีรายการความสอดคล้องในระบบ

7. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

8. ความเป็นมา/ หลักการและเหตุผล/ ความสำคัญของปัญหา

สถานการณ์ปัญหา

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 การทำลายทรัพยากรในพื้นที่ การขยายพื้นที่ปลูกพืชเชิงเดี่ยวทางการเกษตร ใช้สารเคมี สภาพแวดล้อมเสื่อมโทรม ผลผลิตตกต่ำ ปัญหาหนี้สิน, รายได้น้อย สุขภาพเสื่อมโทรม ปัญหาสังคม

 

500.00
ระบุความเป็นมา / สถานการณ์ / หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติมในช่องด้านล่าง

ความยากจนเป็นปัญหาสังคมไทยมานานกว่า 20 ปีคนจนในที่นี้จึงหมายถึง คนที่มีรายได้ไม่พอต่อการยังชีพขั้นพื้นฐาน ซึ่งมีประมาณ 1 ใน 3 ของประชากร หรือประมาณ 18 ล้านคน ของประชากรทั้งหมด สาเหตุของความยากจน ได้แก่ การมีความรู้ความสามารถในการประกอบอาชีพต่ำ เนื่องจากการขาดโอกาสในการศึกษาและพัฒนา ทักษะต่างๆ การขาดโอกาสในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์การมีปัญหาสุขภาพ การมีภาระ ในการเลี้ยงดูครอบครัวที่มีขนาดใหญ่ การมีทรัพย์สินและที่ดินในการทำกินน้อยปัจจุบัน ประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศต้องประสบกับภาวะความยากจน อยู่ในภาวะที่ขาดแคลนไม่มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ และการมีหนี้สิน ซึ่งสาเหตุของความยากจนเกิดจากการไม่มีงานทำ ประชากรเพิ่มขึ้น อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจต่ำเมื่อเทียบกับอัตราการเติบโตของประชากร ความเกียจคร้านและความเฉื่อยชา ลักษณะของอุตสาหกรรม ปัจจัยทางด้านวัฒนธรรมและสังคม ตลอดจนขาดการกระจายรายได้ที่เหมาะสม และหากประชาชนว่างงานก็ไม่มีรายได้เพื่อนำมาเป็นค่าใช้จ่าย คุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ไม่เท่าเทียมกับคนอื่นๆ และความยากจนยังก่อให้เกิดปัญหาความไม่มั่นคงทางด้านเศรษฐกิจทั้งเป็นปัญหาสังคม เช่น อาชญากรรม และยังครอบคลุมถึงขาดโอกาสทางการศึกษา การรักษาพยาบาล การไร้ซึ่งอำนาจและส่งผลทางด้านสุขภาพจิตของบุคคลทำให้เกิดความท้อแท้สิ้นหวังต่างๆตามมา
กลุ่มผ้าทอพื้นเมืองบ้านจันทร์ส่องหล้า ตำบลห้วยเม็ก อำเภอห้วยเม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์ได้ประสบปัญหาดังกล่าว คือ การทำลายทรัพยากรในพื้นที่ การขยายพื้นที่ปลูกพืชเชิงเดี่ยวทางการเกษตร ใช้สารเคมี สภาพแวดล้อมเสื่อมโทรม ผลผลิตตกต่ำ ปัญหาหนี้สิน, รายได้น้อย สุขภาพเสื่อมโทรม ปัญหาสังคม
ปัญหาและอุปสรรค กลุ่มมีสมาชิกลดลงเรื่อยๆ จึงทำให้ในอนาคตกลุ่มมีความเสี่ยงที่จะมีการยุบเลิกกลุ่มลงได้และในปัจจุบันมีการทอผ้าฝ้ายขึ้นในกลุ่ม เหลือคนทอเพียงจำนวนหนึ่ง มีช่างที่ทำการตัดเย็บบ้างแต่ขาดความรู้ต่อยอดในการดัดแปลงและออกแบบลวดลายต่างๆ รวมทั้งการตลาดที่เป็นปัญหา ส่งผลทำให้ยอดการสั่งซื้อผ้าทอ และการสั่งตัดลดจำนวนลง ซึ่งกลุ่มมีช่างที่มีประสบการณ์และมีความชำนาญในการตัดเย็บเพียงไม่กี่คน จึงทำให้ในบางครั้งต้องใช้เวลานานในการผลิต จึงทำให้เกิดความล่าช้าไม่ทันต่อความต้องการของตลาด ส่วนในการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม จะมีเพียงประธานกลุ่มที่เป็นตัวแทนในการจำหน่ายสินค้า สมาชิกของกลุ่มขาดทักษะความรู้ในด้านการตลาดส่งผลให้กลุ่มขาดรายได้ในการจำหน่ายสินค้า สอดคล้องกับการศึกษาสถานการณ์ของปัญหาและความต้องการของกลุ่มผลิตภัณฑ์ผ้าทอพื้นบ้านในจังหวัดเลย (ชัชจริยา ใบลี,2560) พบว่าปัญหาในด้านการผลิตสิ่งทอ พบปัญหาในด้านการจำหน่ายสินค้าที่ผลิตได้ด้านการจัดหาวัตถุดิบ ด้านการแข่งขันกับอุตสาหกรรมทอผ้าที่ใหญ่กว่า ด้านเงินทุน และด้านขาดความรู้ทางวิชาการ และความต้องการด้านการสนับสนุนและส่งเสริมจากรัฐบาลจากกลุ่มทอผ้าทั้งหมด53 กลุ่ม พบว่า มีความต้องการในด้านต่างๆ ดังนี้ ต้องการตลาดจำหน่ายสินค้าที่ผลิตได้ ต้องการเงินทุน ต้องการความรู้ทางวิชาการ การได้รับความช่วยเหลือจากรัฐบาล พบว่า ร้อยละ12.00ไม่เคยได้รับความช่วยเหลือจากรัฐบาล และร้อยละ 88.00 ได้รับความช่วยเหลือจากรัฐบาล โดยได้รับความช่วยเหลือจากรัฐบาลในด้านต่างๆ ดังนี้ ด้านเทคนิคความรู้ใหม่ๆ ด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์ด้านการหาแหล่งจำหน่ายสินค้า ด้านราคาของผลิตภัณฑ์ด้านเงินทุน ด้านกรรมวิธีการผลิต และด้านอื่น ๆ
ดังนั้น แนวทางในการพัฒนากลุ่มอาชีพทอผ้าพื้นเมืองบ้านจันทร์ส่องหล้ากระบวนการใดที่จะทำให้เกิดผู้ที่มีความรู้ความสามารถและผู้ที่มีความสนใจ ได้เข้ามาเป็นสมาชิกของกลุ่ม เพื่อร่วมพัฒนากิจการของกลุ่ม และเป็นการสร้างความเข้มแข็งและความยั่งยืนให้กับกลุ่ม ควรมีการส่งเสริมให้สมาชิกกลุ่ม มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเรื่องการทำงาน ให้สามารถทำงานในทุกขั้นตอน และมีการเพิ่มทักษะความรู้สร้างแนวคิดและประสบการณ์ใหม่ ๆ รวมถึงความรู้ในด้านการตลาดให้กับสมาชิก อีกทั้งควรมีการฟื้นฟูอนุรักษ์และสืบทอดการทอผ้าให้คงอยู่ในหมู่บ้านต่อไป ทั้งนี้ เนื่องจากปัญหาความยากจนเป็นปัญหาระดับชาติที่ต้องการความช่วยเหลือ ซึ่งทางมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ในฐานะที่เป็นเจ้าของพื้นที่หลัก มหาวิทยาลัยเครือข่ายคือ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น และหน่วยงานภาคีที่เกี่ยวข้องในอำเภอห้วยเม็ก จังหกวัดกาฬสินธุ์ได้ให้ความสำคัญในประเด็นดังกล่าว จึงได้มีแนวทางการบูรณาการให้ศาสตร์ต่างๆ ในมหาวิทยาลัยเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน เพราะการศึกษาจะช่วยให้ประชาชนมีความรู้ที่สามารถนำไปใช้ประกอบอาชีพที่มีความก้าวหน้า ส่งเสริมในเรื่องของสุขภาพอนามัย และให้ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ ตลอดจนสร้างอาชีพให้แก่ประชาชน เนื่องจากสิ่งเหล่านี้เป็นปัจจัยพื้นฐาน โดยได้จัดทำโครงการอาสาประชารัฐ ขึ้นเพื่อแก้ไขสภาพและปัญหาดังกล่าว

9. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2020 กำหนดเสร็จ 30/04/2020

10. ประเด็นหลัก

เลือกประเด็นหลักของโครงการ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)

ระบุ ความเหลื่อมล้ำ,ความยากจน

11. กลุ่มเป้าหมายที่คาดว่าจะได้รับผลประโยชน์และพื้นที่ดำเนินงาน

ระบุกลุ่มเป้าหมายว่าเป็นใครบ้าง จำนวนเท่าไร มีวิธีการคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายอย่างไร หากมีกลุ่มเป้าหมายหลายกลุ่มควรระบุกลุ่มเป้าหมายหลักและเป้าหมายรองด้วย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มทอผ้าพื้นเมืองบ้านจันทร์ส่องหล้า 30
ชุมชนใกล้เคียง หน่วยงานภาคีที่มีส่วนเกี่ยวข้อง 30

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ ห้วยเม็ก ห้วยเม็ก ชนบท
กาฬสินธุ์ ห้วยเม็ก ห้วยเม็ก ชานเมือง

12. วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด/กิจกรรมการดำเนินงาน

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อวิเคราะห์บริบท ของชุมชนบ้านจันทร์ ส่องหล้าในประเด็น ปัญหาและความ ต้องการเชิงพื้นที่

-แผนที่ชีวิตในการพัฒนา ตนเองของสมาชิกกลุ่ม ผ้าทอ
-แผนพัฒนากลุ่มผ้าทอ พื้นเมือง

2.00 30.00
2 เพื่อวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมในการ พัฒนาศักยภาพของ ชุมชนผ้าทอบ้านจันทร์ ส่องหล้า
  • แบบลายผ้าที่ได้รับการพัฒนาเป็นเอกลักษณ์ ของชุมชน -สีย้อมธรรมชาติ
    -อุปกรณ์ช่วยเหลือด้าน การทอ
1.00 3.00
3 เพื่อพัฒนาต่อยอดมูลค่าผลิตภัณฑ์
  • smart enterprise บนเว็ปไซด์ วิธีการสื่อสารสากล ระบบบัญชี การจัดจำหน่าย และการจัดการ
1.00 1.00
4 1. เพื่อวิเคราะห์บริบท ของชุมชนบ้านจันทร์ ส่องหล้าในประเด็น ปัญหาและความ ต้องการเชิงพื้นที่ 2. เพื่อวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมในการ พัฒนาศักยภาพของ ชุมชนผ้าทอบ้านจันทร์ ส่องหล้า 3.เพื่อพัฒนาต่อยอดมูลค่าผลิตภัณฑ์

-แผนที่ชีวิตในการพัฒนา ตนเองของสมาชิกกลุ่ม ผ้าทอ
-แผนพัฒนากลุ่มผ้าทอ พื้นเมือง
- แบบลายผ้าที่ได้รับการพัฒนาเป็นเอกลักษณ์ ของชุมชน -สีย้อมธรรมชาติ
-อุปกรณ์ช่วยเหลือด้าน การทอ - smart enterprise บนเว็ปไซด์ วิธีการสื่อสารสากล ระบบบัญชี การจัดจำหน่าย และการจัดการ

2.00 500.00
5 1. เพื่อวิเคราะห์บริบท ของชุมชนบ้านจันทร์ ส่องหล้าในประเด็น ปัญหาและความ ต้องการเชิงพื้นที่ 2. เพื่อวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมในการ พัฒนาศักยภาพของ ชุมชนผ้าทอบ้านจันทร์ ส่องหล้า3.เพื่อพัฒนาต่อยอดมูลค่าผลิตภัณฑ์

แผนที่ชีวิตในการพัฒนา ตนเองของสมาชิกกลุ่ม ผ้าทอ
-แผนพัฒนากลุ่มผ้าทอ พื้นเมือง
- แบบลายผ้าที่ได้รับการพัฒนาเป็นเอกลักษณ์ ของชุมชน
-สีย้อมธรรมชาติ
-อุปกรณ์ช่วยเหลือด้าน การทอ - smart enterprise บนเว็ปไซด์ วิธีการสื่อสารสากล ระบบบัญชี การจัดจำหน่าย และการจัดการ

2.00 500.00

13. แนวทาง/วิธีการสำคัญ

14. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 เตรียมความพร้อมกระบวนการวิจัยแบบมีส่วนร่วมในชุมชนให้กับอาจารย์ที่ปรึกษา และนักศึกษา

ชื่อกิจกรรม
เตรียมความพร้อมกระบวนการวิจัยแบบมีส่วนร่วมในชุมชนให้กับอาจารย์ที่ปรึกษา และนักศึกษา
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อวิเคราะห์บริบท ของชุมชนบ้านจันทร์ ส่องหล้าในประเด็น ปัญหาและความ ต้องการเชิงพื้นที่
รายละเอียดกิจกรรม
1.เตรียมความพร้อมกระบวนการวิจัยแบบมีส่วนร่วมในชุมชนให้กับอาจารย์ที่ปรึกษา และนักศึกษา -จัดประชุม ทีมอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ และนักศึกษา เพื่อแจ้งวัตถุประสงค์ และวิธีดำเนินงานโครงการ 1 ครั้ง - อบรมให้ความรู้แก่นักศึกษาใน ด้านการวิจัยชุมชน, การใช้ เครื่องมือในการวิจัย, การเก็บ รวบรวมข้อมูล, การปรับตัวให้ สอดคล้องกับบริบทของชุมชน -ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์ โครงการให้กับกลุ่มเป้าหมายในชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2562 ถึง 30 พฤศจิกายน 2562
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต (Output) ได้ความรู้ในการทำวิจัยแบบมีส่วนร่วมในชุมชน
-การทำแผนที่ชีวิต แนวทางในการพัฒนาตนเองและสังคม
-การเรียนรู้ในวิถีชุมชนและเศรษฐกิจพอเพียงในบริบทของพื้นที่และการนำนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์
ผลลัพธ์ (Outcome)
-นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้
องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานได้จริง
-มีสำนึกในความเป็นธรรมและ
มีจิตสาธารณะ
ภาคีร่วมสนับสนุน
มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอห้วยแม็ก สนับสนุนความรู้
 
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ 50 คน 30 1 1,500
ค่าอาหาร 50 คน 100 1 5,000
ค่าถ่ายเอกสาร 50 ชุด 50 1 2,500
อื่น ๆ 50 คน 30 3 4,500
ค่าอาหาร 50 คน 100 3 15,000
ค่าถ่ายเอกสาร 50 ชุด 30 1 1,500
ค่าตอบแทนวิทยากร 5 คน 600 8 24,000
อื่น ๆ 3 คน 240 1 720
อื่น ๆ 3 คน 300 8 7,200
ค่าอาหาร 50 คน 100 1 5,000
อื่น ๆ 60 คน 50 1 3,000
อื่น ๆ 10 คน 160 1 1,600
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 4 ครั้ง 375 1 1,500
อื่น ๆ 1 ครั้ง 5,000 1 5,000
รวมค่าใช้จ่าย 78,020

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของชุมชนที่เข้าร่วมโครงการ Transect walk, calendar, SWOT Focus group, In-dept. interview

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของชุมชนที่เข้าร่วมโครงการ Transect walk, calendar, SWOT Focus group, In-dept. interview
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อวิเคราะห์บริบท ของชุมชนบ้านจันทร์ ส่องหล้าในประเด็น ปัญหาและความ ต้องการเชิงพื้นที่
รายละเอียดกิจกรรม
-กระบวนการกลุ่ม และวิเคราะห์สภาพ จัดทำแผนที่ชีวิตในการพัฒนา ตนเองของสมาชิกกลุ่ม ผ้าทอ 1 ครั้ง
-กระบวนการมีส่วนร่วมในการ จัดทำแผนพัฒนากลุ่มผ้าทอ พื้นเมือง 1 ครั้ง
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2562 ถึง 31 ธันวาคม 2562
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต (Output)
-สมาชิกของกลุ่มผ้าทอพื้นเมืองมีแผนที่ชีวิตของตนเอง
-มีจำนวนสมาชิกของกลุ่มทอผ้าเพิ่มขึ้น
-กลุ่มทอผ้าพื้นเมืองมีแผนการดำเนินงาน
ผลลัพธ์ (Outcome)
1.องค์ความรู้ของมหาวิทยาลัยและหน่วยงาน มีการบูรณาการในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชน
ภาคีร่วมสนับสนุน
มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอห้วยแม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์ สนับสนุนความรู้
 
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 5 คน 600 16 48,000
อื่น ๆ 3 คน 240 2 1,440
อื่น ๆ 3 คน 300 16 14,400
ค่าอาหาร 60 คน 100 2 12,000
อื่น ๆ 60 คน 50 2 6,000
อื่น ๆ 10 คน 160 2 3,200
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 4 เที่ยว 1,000 1 4,000
อื่น ๆ 1 ครั้ง 15,000 1 15,000
รวมค่าใช้จ่าย 104,040

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมพัฒนา นวัตกรรมในการ พัฒนาศักยภาพของ ชุมชนผ้าทอบ้านจันทร์ ส่องหล้า

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมพัฒนา นวัตกรรมในการ พัฒนาศักยภาพของ ชุมชนผ้าทอบ้านจันทร์ ส่องหล้า
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมในการ พัฒนาศักยภาพของ ชุมชนผ้าทอบ้านจันทร์ ส่องหล้า
รายละเอียดกิจกรรม
- การออกแบบลายผ้าที่เป็น เอกลักษณ์ ของชุมชน
- การได้มาของสี และการย้อมสี ธรรมชาติ
-นวัตกรรมการปรับปรุงอุปกรณ์ ช่วยเหลือด้าน การทอ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 31 มกราคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต (Output)
-มีองค์ความรู้ด้านการออกแบบการสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์จากการทอ การทำสีย้อมจากธรรมชาติ รูปแบบของผ้าที่ผลิตตามความต้องการของตลาด 80 เปอร์เซนต์ของสมาชิกปฏิบัติได้
-ได้เครื่องมือการทอ(การปรับปรุงกี่) 3ชุด
ผลลัพธ์ (Outcome)
-เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ และการนำใช้ประโยชน์จากทรัพยากรท้องถิ่นที่มีอยู่ในชุมชน
ภาคีร่วมสนับสนุน
มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอห้วยแม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์ สนับสนุนองค์ความรู้
 
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ 10 คน 160 90 144,000
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 ครั้ง 600 8 9,600
อื่น ๆ 2 คน 300 8 4,800
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 3 ชุด 5,000 1 15,000
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 600 8 9,600
อื่น ๆ 2 คน 300 8 4,800
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 3 ชุด 5,000 1 15,000
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 600 8 9,600
อื่น ๆ 2 คน 300 8 4,800
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 3 ชุด 10,000 1 30,000
อื่น ๆ 50 คน 50 6 15,000
ค่าอาหาร 50 คน 100 3 15,000
รวมค่าใช้จ่าย 277,200

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมพัฒนาต่อยอดมูลค่าผลิตภัณฑ์

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมพัฒนาต่อยอดมูลค่าผลิตภัณฑ์
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาต่อยอดมูลค่าผลิตภัณฑ์
รายละเอียดกิจกรรม
- ให้ความรู้และฝึกปฏิบัติด้าน E-commerce การสื่อสารสากลและการเป็น smart enterprise บนเว็ปไซด์ ระบบบัญชี การจัดจำหน่าย และการจัดการ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต (Output)
-มีความรู้ในด้านการจัดทำบัญชีต้นทุน ระบบการจัดจำหน่ายทั้งในตลาดทั่วไป และออนไลน์ 80 ของสมาชิกปฏิบัติได้
-มีหน้าร้านออนไลน์เป็นของตนเอง 1 ร้านค้า
ผลลัพธ์ (Outcome)
-เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ และการนำใช้ประโยชน์จากทรัพยากรท้องถิ่นที่มีอยู่ในชุมชน
-ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นและสามารถพึ่งพาตนเองและรู้การใช้ประโยชน์จากความรู้และทรัพยากรท้องถิ่นของตนเอง
ภาคีร่วมสนับสนุน
มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอห้วยแม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์ สนับสนุนองค์ความรู้
 
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ 50 คน 50 4 10,000
ค่าอาหาร 50 คน 100 2 10,000
ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน 600 8 4,800
ค่าตอบแทนวิทยากร 3 คน 600 8 14,400
อื่น ๆ 1 ครั้ง 1,540 1 1,540
รวมค่าใช้จ่าย 40,740

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 120,000.00 71,500.00 60,000.00 248,500.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 24.00% 14.30% 12.00% 49.70% 100.00%
ดูงบประมาณตามประเภท

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 500,000.00 บาท

งบประมาณสมทบจาก หน่วยราชการ จำนวน 0.00 บาท

งบประมาณรวม จำนวน 500,000.00 บาท

15. องค์กรภาคีที่ร่วมดำเนินงาน

ระบุชื่อองค์กรภาคีที่ร่วมดำเนินงาน พร้อมทั้งบทบาทหน้าที่

สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอห้วยเม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์ มีบทบาทในการอำนวยความสะดวก ประสานงานในชุมชน มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ มีบทบาทในการอำนวยความสะดวก สนับสนุนองค์ความรู้

16. การติดตาม/การประเมินผล

ใช้กระบวนการสภาผู้นำ/สภาชุมชน ที่มีการประชุมหมู่บ้านอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยเดือนละครั้ง และกำหนดให้มีวาระการติดตามประเมินผลโครงการ การจัดทำแผนชุมชน เป็นต้น พร้อมทั้งจัดทีม เพื่อทำหน้าที่ติดตามและประเมินผลเป็นระยะว่าแต่ละโครงการ แต่ละกิจกรรม เป็นตามแผนหรือไม่ มีปัญหาอุปสรรค และต้องปรับปรุงการดำเนินงานอะไร อย่างไรบ้าง สุดท้ายทำเสร็จแล้วจะได้คุณค่าอะไรบ้าง ทั้งนี้ การติดตามประเมินผล ควรระบุการกำกับติดตามกิจกรรมต่างๆ ของโครงการที่ชัดเจน ได้แก่ วิธีการติดตามประเมินผล เครื่องมือในการติดตาม ผู้มีบทบาทในการติดตาม ระยะเวลาในการติดตาม เป็นต้น

17. แนวทางการพัฒนาเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องยั่งยืนและการขยายผล

แสดงให้ชัดเจนในเรื่องคาดหวังผลของโครงการว่าจะเกิดอะไรขึ้น และจะนำไปทำอะไร อย่างไร ให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืนในชุมชน/ท้องถิ่น และใครจะเป็นผู้รับผิดชอบในการดำเนินการต่อไป ชุมชนจะทำเองต่อ หรือใช้แหล่งทุนใดในชุมชน ตลอดจนจะมีวิธีการขยายผลจากการดำเนินโครงการนี้อย่างไร และชุมชน หรือผู้อื่นจะใช้ประโยชน์จากผลของโครงการอย่างไร

ต้องการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองและชุมชนให้ดีมีรายได้เพิ่มขึ้น ต้องการพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ในชุมชน มีการผลิตที่ดี เป็นระบบ การผลิตที่ปลอดภัย ตรงตามความต้องการของตลาด กลุ่มวิสาหกิจที่สามารถสร้างรายได้หลายการเก็บเกี่ยว หรือให้กับกลุ่มอาชีพต่างๆ ในชุมชน โดยกลุ่มจะเป็นผู้รับผิดชอบโครงการดำเนินการต่อไปภายใต้แผนการพัฒนากลุ่มที่วางไว้ และจะมีการขยายผลในด้านการส่งเสริมอนุรักษ์ผ้าทอพื้นเมืองเพื่อให้ชุมชนได้รู้จัก และอนุรักณ์วัฒนธรรมประเพณีของชุมชน

18. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้/การเผยแพร่ผลการดำเนินโครงการ

มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางด้านการทอ การออกแบบ การย้อมสี ตลอดจนผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวเนื่องจากการทอ จากกลุ่มที่มีการผลิตในลักษณะใกล้เคียงกัน แล้วนำองค์ความรู้นั้นมาพัฒนาต่อยอดหรือปรับใช้ในกลุ่มของตนเอง ดดยสร้างการมีส่วนร่วมในกลุ่มตามแผนการพัฒนากลุ่มที่วางไว้ มีการเผยแพร่ผลการดำเนินงานดครงการผ่านเทคโนโลยีเครือข่ายสารสนเทศต่อสาธารณะชน

19. การขอทุนจากแหล่งอื่น

กรณีมีการขอทุนจากแหล่งอื่น ให้ระบุชื่อแหล่งทุนและจำนวนเงิน

ไม่มี

20. ไฟล์เอกสารประกอบการพัฒนาโครงการ

ไม่มีไฟล์เอกสารประกอบการพัฒนาโครงการ


ภาคผนวกที่ 3 ความเห็น

1. ความเห็นของทีมสนับสนุนวิชาการ (พี่เลี้ยง) และ ผู้ทรงคุณวุฒิ

ตัวชี้วัดการประเมิน

1. การมีส่วนร่วม

คะแนน 5 4 3 2 1

2. ผู้นำ/แกนชุมชน

คะแนน 5 4 3 2 1

การพัฒนาโครงการ

มีผู้รับผิดชอบโครงการ และแกนนำในชุมชน

การติดตามประเมินผล

  • เกิดกลไกขับเคลื่อนในพื้นที่ เช่น สภาผู้นำ/กลุ่ม/เครือข่าย

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

ตัวชี้วัดการประเมิน

3. โครงสร้างองค์กร

คะแนน 5 4 3 2 1

การพัฒนาโครงการ

โครงสร้างชุมชน ทุนของชุมชน
การวิเคราะห์และอธิบายทุนที่มีอยู่ในชุมชน

การติดตามประเมินผล

  • เกิดกลไกขับเคลื่อนในพื้นที่ เป็นส่วนสำคัญในโครงสร้างชุมชน เช่น กรรมการหมู่บ้าน กรรมการชุมชน เป็นต้น

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

ตัวชี้วัดการประเมิน

4. การประเมินปัญหา

คะแนน 5 4 3 2 1

5. การถามว่าทำไม

คะแนน 5 4 3 2 1

การพัฒนาโครงการ

การวิเคราะห์สภาพปัญหาในชุมชน/เลือกปัญหา
การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการปัญหา (คน สภาพแวดล้อมกลไก)
การวิเคราะห์และจัดทำแนวทางการจัดการปัญหา
การมีแผนชุมชน

การติดตามประเมินผล

  • มีฐานข้อมูลชุมชน (ปัญหาของชุมชน , ปัญหาเฉพาะประเด็น)

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

ตัวชี้วัดการประเมิน

6. การระดมทรัพยากร

คะแนน 5 4 3 2 1

7. การเชื่อมโยงภายนอก

คะแนน 5 4 3 2 1

การพัฒนาโครงการ

แผนการดำเนินการมีภาคีร่วมสนับสนุน อะไร อย่างไร งบประมาณที่ร่วมสนับสนุน

การติดตามประเมินผล

  • การระดมทรัพยากรและการเชื่อมโยงภายนอก มีการบรรจุอยู่ใน แผนชุมชน แผน อบต./เทศบาล แผนของหน่วยงาน

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

ตัวชี้วัดการประเมิน

8. บทบาทตัวแทน

คะแนน 5 4 3 2 1

ตัวแทนภายใน
  • ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นตัวแทนชุมชน มีกระบวนการชี้แจง ประชุมชุมชนก่อนเริ่มโครงการ
  • มีกระบวนการติดตามประเมินผลโครงการโดยชุมชน
  • มีการประเมินผลระหว่างโครงการ
  • มีการประเมินผลหลังการทำโครงการ
ตัวแทนภายนอก
  • มีระบบพี่เลี้ยง หนุนเสริม เชื่อมประสานกับหน่วยงานภาคีที่เกี่ยวข้องทั้งภายใน และภายนอกชุมชน

การพัฒนาโครงการ

ตัวแทนภายใน และตัวแทนภายนอก

การติดตามประเมินผล

  • ผู้รับผิดชอบโครงการเข้าไปมีส่วนร่วมในกลุ่ม / เครือข่าย หรือ หน่วยงานทั้งภายในและภายนอกชุมชน
  • ผู้รับผิดชอบโครงการยกระดับเป็นพี่เลี้ยง

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

ตัวชี้วัดการประเมิน

9. การบริหารจัดการ

คะแนน 5 4 3 2 1

การพัฒนาโครงการ

  • การใช้ระบบพัฒนาโครงการบนเว็บไซต์

การติดตามประเมินผล

  • การใช้ระบบติดตามประเมินผลบนเว็บไซต์ (รายงาน, การเงิน)

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

ตัวชี้วัดการประเมิน

10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
10.1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
  • ความรู้ใหม่/องค์ความรู้ใหม่
  • สิ่งประดิษฐ์/ผลผลิตใหม่
  • กระบวนการใหม่
  • วิธีการทำงาน/การจัดการใหม่
  • การเกิดกลุ่ม/โครงสร้างในชุมชนใหม่
  • แหล่งเรียนรู้ใหม่

การติดตามประเมินผล

  • การเกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

ตัวชี้วัดการประเมิน

10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
10.2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
  • การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
  • การบริโภค
  • การออกกำลังกาย
  • การลด ละ เลิก อบายมุข
  • การลดพฤติกรรมเสี่ยง
  • การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
  • การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต
  • พฤติกรรมการจัดการตนเองครอบครัว

การติดตามประเมินผล

  • การเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

ตัวชี้วัดการประเมิน

10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
10.3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
  • กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ
  • สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
  • เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ
  • มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

การติดตามประเมินผล

  • การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

ตัวชี้วัดการประเมิน

10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
10.4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
  • มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
  • มีธรรมนูญของชุมชน
  • อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น

การติดตามประเมินผล

  • การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

ตัวชี้วัดการประเมิน

10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
10.5 เกิดกระบวนการชุมชน
  • เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย
  • การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
  • การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน
  • มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
  • เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
  • เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ

การติดตามประเมินผล

  • การเกิดกระบวนการชุมชน

ตัวชี้วัดการประเมิน

10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
10.6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
  • ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
  • การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
  • การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
  • ชุมชนมีความเอื้ออาทร
  • มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

การติดตามประเมินผล

  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คะแนนตัวชี้วัดการประเมิน

คะแนนตัวชี้วัด = 0/45 = 0.00%

กรุณาคลิกรีเฟรชเพื่อคำนวนคะแนนตัวชี้วัดใหม่

2. สรุปภาพรวมข้อเสนอโครงการ

3. ความเห็นภาพรวมของผู้ทรงคุณวุฒิ

<