การพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยววิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าอย่างมีส่วนร่วมสู่กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิทัล เพื่อเพิ่มมูลค่าขีดความสามารถการแข่งขันอย่างสมดุล บ้านเพราะช้าง ตำบลวาเล่ย์ อำเภอพบพระ จังหวัดตาก

สำหรับเจ้าหน้าที่

รหัสโครงการ :

วันที่ :         /              /25       

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ

การพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยววิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าอย่างมีส่วนร่วมสู่กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิทัล เพื่อเพิ่มมูลค่าขีดความสามารถการแข่งขันอย่างสมดุล บ้านเพราะช้าง ตำบลวาเล่ย์ อำเภอพบพระ จังหวัดตาก

ควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

2. ประเภทโครงการ

** โครงการใหม่ หมายถึง เป็นโครงการที่ยังไม่เคยได้รับทุนสนับสนุน
** โครงการต่อเนื่อง หมายถึง เป็นโครงการต่อเนื่องจากโครงการที่เคยได้รับทุน

3. องค์กร/คณะบุคคล ที่เสนอโครงการ (กรณีขอทุนในนามองค์กร/คณะบุคคล)

1. ชื่อองค์กร/คณะบุคคล


4. ผู้รับผิดชอบโครงการ

1. ชื่อ-นามสกุลผู้รับผิดชอบโครงการ

คำนำหน้าชื่อ ชื่อ นามสกุล

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก    *************

ที่อยู่ตามบัตรประชาชน

บ้านเลขที่ ** หมู่ที่ ตรอก/ซอย ถนน ตำบล/แขวง อำเภอ/เขต จังหวัด รหัสไปรษณีย์

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก ******** เบอร์มือถือ ******** โทรสาร ******** อีเมล์ ********

รายชื่อผู้ร่วมทำโครงการ/คณะทำงาน (อย่างน้อย 2 คน)

ผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการ คนที่ 1

คำนำหน้าชื่อ ชื่อ นามสกุล

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก    *************

ที่อยู่ตามบัตรประชาชน

บ้านเลขที่ ** หมู่ที่ ตรอก/ซอย ถนน ตำบล/แขวง อำเภอ/เขต จังหวัด รหัสไปรษณีย์

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก ******** เบอร์มือถือ ******** โทรสาร ******** อีเมล์ ********

บทบาทหน้าที่/ความรับผิดชอบในโครงการนี้ ตำแหน่ง สังกัด

ผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการ คนที่ 2

คำนำหน้าชื่อ ชื่อ นามสกุล

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก    *************

ที่อยู่ตามบัตรประชาชน

บ้านเลขที่ ** หมู่ที่ ตรอก/ซอย ถนน ตำบล/แขวง อำเภอ/เขต จังหวัด รหัสไปรษณีย์

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก ******** เบอร์มือถือ ******** โทรสาร ******** อีเมล์ ********

บทบาทหน้าที่/ความรับผิดชอบในโครงการนี้ ตำแหน่ง สังกัด

5. ท่านและองค์กรของท่าน จัดอยู่ในองค์กรประเภทใด

ระบุ

6. ความสอดคล้องกับแผนงาน

ยังไม่มีรายการความสอดคล้องในระบบ

7. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

8. ความเป็นมา/ หลักการและเหตุผล/ ความสำคัญของปัญหา

สถานการณ์ปัญหา

สถานการณ์ปัญหาขนาด
ระบุความเป็นมา / สถานการณ์ / หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติมในช่องด้านล่าง

9. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2020 กำหนดเสร็จ 30/09/2020

10. ประเด็นหลัก

เลือกประเด็นหลักของโครงการ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)

ระบุ

11. กลุ่มเป้าหมายที่คาดว่าจะได้รับผลประโยชน์และพื้นที่ดำเนินงาน

ระบุกลุ่มเป้าหมายว่าเป็นใครบ้าง จำนวนเท่าไร มีวิธีการคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายอย่างไร หากมีกลุ่มเป้าหมายหลายกลุ่มควรระบุกลุ่มเป้าหมายหลักและเป้าหมายรองด้วย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มชุนชนบ้านเพราะช้างบ้านเพราะช้าง:หมู่บ้านยะพอ 15
คณะบริหารธุรกิจ มทร.ชม. มทร.ตาก 6
ชาวชุมชนเยาวชนในหมู่บ้านกลุ่มชุนชนบ้านเพราะช้าง 25
นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ มทร.ตาก เชียงใหม่ 5
นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น 5
หน่วยงานภาครัฐตำบลพบพระ อำเภอพบพระ จังวหัดตาก 5
อาจารย์คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น 5
อาจารย์คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม 3

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
ตาก พบพระ วาเลย์
ตาก พบพระ วาเลย์ พื้นที่เฉพาะ:พื้นที่สูง

12. วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด/กิจกรรมการดำเนินงาน

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้วิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนของกลุ่มท่องเที่ยวบ้านเพราะช้าง

1.การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้วิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน 2.ชุมชนมีองค์ความรู้ในด้านการท่องเที่ยวตามมาตรฐานที่เกี่ยวข้องและสามารถนำไปต่อยอดและขยายผลต่อกระบวนการผลิต เพื่อลดรายจ่ายต้นทุนและเพิ่มรายได้จากภูมิปัญญาผลิตภัณฑ์ชุมชน 3. การสร้างมัคคุเทศก์น้อย อย่างน้อย 15 คน

3.00 1.00
2 รูปแบบผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนที่ได้รับการพัฒนาให้มีความหลากหลายเหมาะสมกับความต้องการของชุมชนกับกลุ่มนักท่องเที่ยว
  1. รูปแบบการท่องเที่ยวที่มีการหลากหลายตามความต้องการของชุมชนและนักท่องเที่ยว
  2. ผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวที่มีการหลากหลายตามความต้องการของชุมชนโดยชุมชนเพื่อชุมชนที่เป็นที่ยอมรับนักท่องเที่ยวที่มาใช้บริการ
  3. การเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวด้วยภูมิปัญญา วิถีชุมชน และอนุรักษ์วัฒนธรรมชนเผ่า
3.00 1.00
3 การพัฒนากลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล เพื่อส่งเสริมสร้างภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนอย่างมีส่วนร่วมและเพิ่มมูลค่าขีดความสามารถการแข่งขันอย่างสมดุล
  1. ฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile)  จำนวนอย่าน้อย 1 ผลงาน
  2. กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้วิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ได้แก่ การทำตลาดออนไลน์ โดยผ่านการทำตลาดสมัยใหม่ ผ่านการพัฒนาเว็บไซต์ การพัฒนาแฟนเพจ การทำบัญชีไลน์แอด (LINE @)
  3. การจัดทำสื่อสารการทางการตลาดต้นไม้พูดได้ (QR Code) 4.ตัวแบบในการการถ่ายทอดกระบวนการองค์ความรู้การได้มาซึ่งความรู้ด้านวิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าและด้านการจัดการท่องเที่ยวและการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้วิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนของกลุ่มท่องเที่ยวบ้านเพราะช้าง
4.00 1.00

13. แนวทาง/วิธีการสำคัญ

14. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การศึกษาวิเคราะห์ ส่งเสริม และพัฒนาผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยว

ชื่อกิจกรรม
การศึกษาวิเคราะห์ ส่งเสริม และพัฒนาผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยว
วัตถุประสงค์
  1. การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้วิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนของกลุ่มท่องเที่ยวบ้านเพราะช้าง
  2. รูปแบบผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนที่ได้รับการพัฒนาให้มีความหลากหลายเหมาะสมกับความต้องการของชุมชนกับกลุ่มนักท่องเที่ยว
  3. การพัฒนากลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล เพื่อส่งเสริมสร้างภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนอย่างมีส่วนร่วมและเพิ่มมูลค่าขีดความสามารถการแข่งขันอย่างสมดุล
รายละเอียดกิจกรรม
1. ศึกษาสังเคราะห์แนวคิดทฤษฎีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ได้องค์ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชน ตามแนวคิดการจัดการความรู้ แนวคิดการพัฒนาชุมชน แนวคิดวิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่า แนวคิดการท่องเที่ยวโดยชุมชน การจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) ด้านเศรษฐกิจ ทรัพยากร กายภาพ ชีวภาพทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญา เพื่อเพิ่มมูลค่าขีดความสามารถการแข่งขันอย่างสมดุล
2. ผู้วิจัยนำองค์ความรู้ที่ได้จากการสังเคราะห์ในข้อที่ 1 มาดำเนินการจัดทำรูปแบบการพัฒนาศักยภาพบริพื้นที่การท่องเที่ยววิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่ามีการหลากหลายตามความต้องการของชุมชนและนักท่องเที่ยวชุมชนและพัฒนาผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวเพื่อเพิ่มมูลค่าขีดความสามารถ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พ.ค. 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1.การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้วิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน 2. ชุมชนมีองค์ความรู้ในด้านการท่องเที่ยวตามมาตรฐานที่เกี่ยวข้องและสามารถนำไปต่อยอดและขยายผลต่อกระบวนการผลิต เพื่อลดรายจ่ายต้นทุนและเพิ่มรายได้จากภูมิปัญญาผลิตภัณฑ์ชุมชน 3. การสร้างมัคคุเทศก์น้อย อย่างน้อย 15 คน
ภาคีร่วมสนับสนุน
 
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 4 คน 9,600 1 38,400
ค่าที่พักตามจริง 2 ครั้ง 6,000 1 12,000
ค่าเช่ารถ 2 ครั้ง 6,000 1 12,000
ค่าอาหาร 4 ครั้ง 15,000 1 60,000
ค่าถ่ายเอกสาร 4 ครั้ง 5,000 1 20,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 4 ครั้ง 2,000 1 8,000
อื่น ๆ

ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ดในการดำเนินงาน

4 ครั้ง 8,500 1 34,000
ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ 4 ครั้ง 4,000 1 16,000
ค่าตอบแทนการประสานงาน 2 ครั้ง 8,000 1 16,000
รวมค่าใช้จ่าย 216,400

กิจกรรมที่ 2 รูปแบบการท่องเที่ยววิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าที่มีการหลากหลายตามความต้องการของชุมชนและนักท่องเที่ยว

ชื่อกิจกรรม
รูปแบบการท่องเที่ยววิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าที่มีการหลากหลายตามความต้องการของชุมชนและนักท่องเที่ยว
วัตถุประสงค์
  1. การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้วิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนของกลุ่มท่องเที่ยวบ้านเพราะช้าง
  2. รูปแบบผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนที่ได้รับการพัฒนาให้มีความหลากหลายเหมาะสมกับความต้องการของชุมชนกับกลุ่มนักท่องเที่ยว
  3. การพัฒนากลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล เพื่อส่งเสริมสร้างภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนอย่างมีส่วนร่วมและเพิ่มมูลค่าขีดความสามารถการแข่งขันอย่างสมดุล
รายละเอียดกิจกรรม
1. ผู้วิจัยจะทำการทดสอบผลิตภัณฑ์ท่องเที่ยวชุมชน(ต้นแบบ) (Tourism Product Testing) กับกลุ่มนักท่องเที่ยวหรือกลุ่มตัวอย่างนักท่องเที่ยวหรือนักวิชาการ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน
2. การประเมินผลและถอดบทเรียนรูปแบบการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยววิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าตามแนวคิดการจัดการความรู้ แนวคิดการพัฒนาชุมชน แนวคิดวิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่า แนวคิดการท่องเที่ยวโดยชุมชน การจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) ด้านเศรษฐกิจ ทรัพยากร กายภาพ ชีวภาพทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญา
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1.รูปแบบการท่องเที่ยวที่มีการหลากหลายตามความต้องการของชุมชนและนักท่องเที่ยว อย่างน้อย 2-5 รูปแบบ
2.ผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวที่มีการหลากหลายตามความต้องการของชุมชนโดยชุมชนเพื่อชุมชนที่เป็นที่ยอมรับนักท่องเที่ยวที่มาใช้บริการ อย่างน้อย 2-5 ผลิตภัณฑ์
3.การเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวด้วยภูมิปัญญา วิถีชุมชน และอนุรักษ์วัฒนธรรมชนเผ่า การเพิ่มขึ้นของรายได้ร้อยละ 5 รายได้ครัวเรือน/และมีจำนวนนักท่องเที่ยวเพิ่มขี้นร้อยละ 5
ภาคีร่วมสนับสนุน
 
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 4 คน 9,600 1 38,400
ค่าที่พักตามจริง 2 ครั้ง 6,000 1 12,000
ค่าเช่ารถ 3 ครั้ง 6,000 1 18,000
ค่าอาหาร 4 ครั้ง 5,000 1 20,000
อื่น ๆ

ค่าเบ็ดเตล็ดในการดำเนินเกี่ยวกับโครงการ

2 ครั้ง 6,000 1 12,000
ค่าตอบแทนการประสานงาน 3 คน 5,000 1 15,000
ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ 4 คน 3,000 1 12,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 2 ครั้ง 2,000 1 4,000
รวมค่าใช้จ่าย 131,400

กิจกรรมที่ 3 ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้วิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน

ชื่อกิจกรรม
ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้วิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
วัตถุประสงค์
  1. การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้วิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนของกลุ่มท่องเที่ยวบ้านเพราะช้าง
  2. รูปแบบผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนที่ได้รับการพัฒนาให้มีความหลากหลายเหมาะสมกับความต้องการของชุมชนกับกลุ่มนักท่องเที่ยว
  3. การพัฒนากลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล เพื่อส่งเสริมสร้างภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนอย่างมีส่วนร่วมและเพิ่มมูลค่าขีดความสามารถการแข่งขันอย่างสมดุล
รายละเอียดกิจกรรม
1.ดำเนินการพัฒนาโดยกระบวนการ การจัดอบรมให้ความรู้อย่างมีส่วนร่วมของกลุ่มการท่องเที่ยวเชิงการท่องเที่ยววิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าหน่วยงานภาครัฐ คณะผู้วิจัย ผู้เชี่ยวชาญ เกี่ยวกับการพัฒนผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยว การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์การท่องเทียว การกำหนดกิจกรรมการเที่ยวชุมชน การกำหนดส่วนประสมทางการตลาด และการกำหนดกลุ่มเป้าหมาย และการออกแบบสื่อการตลาดดิจิตอล การจัดการตลาดบูรณาการ การจัดการฐาน Village Profile การสร้างมัคคุเทศก์น้อย ต้นไม้พูดได้การส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนให้ได้มาตรฐานการท่องเที่ยว และการสร้างตราตราสินค้าชุมชน
2.การพัฒนาสื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์กลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นโดยประยุกต์ใช้กลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัลและส่งเสริมการจัดการตลาด กลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล โดยประยุกต์ใช้การทำตลาดออนไลน์ โดยผ่านการทำตลาดสมัยใหม่ ผ่านการพัฒนาเว็บไซต์ การพัฒนาแฟนเพจ การทำบัญชีไลน์แอด (LINE @) แนวคิดส่วนประสมทางการตลาด
3.เพื่อพัฒนาตัวแบบในการการถ่ายทอดกระบวนการองค์ความรู้การได้มาซึ่งความรู้ด้านการจัดการท่องเที่ยวและการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยววิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้วิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าเพื่อการจัดการการท่องเที่ยววิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่า
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1.ฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) จำนวนอย่าน้อย 1 ผลงาน
2.กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้วิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ได้แก่ การทำตลาดออนไลน์ โดยผ่านการทำตลาดสมัยใหม่ ผ่านการพัฒนาเว็บไซต์ การพัฒนาแฟนเพจ การทำบัญชีไลน์แอด (LINE @) รวมสื่อดิจตอลอย่างน้อย 3-5 สื่อ
3.การจัดทำสื่อสารการทางการตลาดต้นไม้พูดได้ (QR Code) 4.ตัวแบบในการการถ่ายทอดกระบวนการองค์ความรู้การได้มาซึ่งความรู้ด้านวิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าและด้านการจัดการท่องเที่ยวและการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้วิถึชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่าเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนของกลุ่มท่องเที่ยวบ้านเพราะช้าง สื่ออย่างน้อย 2-3 สื่อ
ภาคีร่วมสนับสนุน
 
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่้าทำตลาดดิจิทัและฐานข้อมูลการตลาดเพื่อากรท่องเที่ยวทั้งกิจกรรมโครงการเกี่ยวกับดิจิทัล

1 ครั้ง 91,800 1 91,800
ค่าตอบแทนวิทยากร 4 คน 3,600 1 14,400
ค่าอาหาร 20 คน 50 1 1,000
ค่าที่พักตามจริง 1 ครั้ง 6,000 1 6,000
ค่าเช่ารถ 4 ครั้ง 6,000 1 24,000
ค่าตอบแทนการประสานงาน 3 คน 5,000 1 15,000
รวมค่าใช้จ่าย 152,200

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 165,200.00 12,000.00 185,000.00 137,800.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 33.04% 2.40% 37.00% 27.56% 100.00%
ดูงบประมาณตามประเภท

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน บาท

งบประมาณสมทบจาก จำนวน บาท

งบประมาณรวม จำนวน บาท

15. องค์กรภาคีที่ร่วมดำเนินงาน

ระบุชื่อองค์กรภาคีที่ร่วมดำเนินงาน พร้อมทั้งบทบาทหน้าที่

1. ดร. เจษฏา ช.เจริญยิ่ง ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจชนากลางและขนาดเล็กแห่งประเทศไทย (ธพว.)2. นางจุฑามาศ นวลพริ้ง ผู้อำนวยการอาวุโส ฝ่ายตรวจสอบภายใน ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจชนากลางและขนาดเล็กแห่งประเทศไทย (ธพว.)3. ผศ. ดร. กมลทิทย์ คำใส วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่4. ผศ.ดร. พรทิพย์ ชุ่มเมืองปัก คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ5. นายอดิศร พรไพรสณฑ์ ประธานกลุ่มการท่องเที่ยวบ้านเพราะช้าง6. สมาชิกกลุ่มการท่องเที่ยวบ้านเพราะช้าง 7. เยาวชนในหมู่บ้านกลุ่มชุนชนบ้านเพราะช้าง (หมู่บ้านยะพอ ต.วาเล่ย์ อ.พบพระ จ.ตาก)8. อพท.4 สำนักงานพื้นที่พิเศษ 4

16. การติดตาม/การประเมินผล

ใช้กระบวนการสภาผู้นำ/สภาชุมชน ที่มีการประชุมหมู่บ้านอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยเดือนละครั้ง และกำหนดให้มีวาระการติดตามประเมินผลโครงการ การจัดทำแผนชุมชน เป็นต้น พร้อมทั้งจัดทีม เพื่อทำหน้าที่ติดตามและประเมินผลเป็นระยะว่าแต่ละโครงการ แต่ละกิจกรรม เป็นตามแผนหรือไม่ มีปัญหาอุปสรรค และต้องปรับปรุงการดำเนินงานอะไร อย่างไรบ้าง สุดท้ายทำเสร็จแล้วจะได้คุณค่าอะไรบ้าง ทั้งนี้ การติดตามประเมินผล ควรระบุการกำกับติดตามกิจกรรมต่างๆ ของโครงการที่ชัดเจน ได้แก่ วิธีการติดตามประเมินผล เครื่องมือในการติดตาม ผู้มีบทบาทในการติดตาม ระยะเวลาในการติดตาม เป็นต้น

17. แนวทางการพัฒนาเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องยั่งยืนและการขยายผล

แสดงให้ชัดเจนในเรื่องคาดหวังผลของโครงการว่าจะเกิดอะไรขึ้น และจะนำไปทำอะไร อย่างไร ให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืนในชุมชน/ท้องถิ่น และใครจะเป็นผู้รับผิดชอบในการดำเนินการต่อไป ชุมชนจะทำเองต่อ หรือใช้แหล่งทุนใดในชุมชน ตลอดจนจะมีวิธีการขยายผลจากการดำเนินโครงการนี้อย่างไร และชุมชน หรือผู้อื่นจะใช้ประโยชน์จากผลของโครงการอย่างไร

18. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้/การเผยแพร่ผลการดำเนินโครงการ

19. การขอทุนจากแหล่งอื่น

กรณีมีการขอทุนจากแหล่งอื่น ให้ระบุชื่อแหล่งทุนและจำนวนเงิน

20. ไฟล์เอกสารประกอบการพัฒนาโครงการ

ไม่มีไฟล์เอกสารประกอบการพัฒนาโครงการ


ภาคผนวกที่ 3 ความเห็น

1. ความเห็นของทีมสนับสนุนวิชาการ (พี่เลี้ยง) และ ผู้ทรงคุณวุฒิ

ตัวชี้วัดการประเมิน

1. การมีส่วนร่วม

คะแนน 5 4 3 2 1

2. ผู้นำ/แกนชุมชน

คะแนน 5 4 3 2 1

การพัฒนาโครงการ

มีผู้รับผิดชอบโครงการ และแกนนำในชุมชน

การติดตามประเมินผล

  • เกิดกลไกขับเคลื่อนในพื้นที่ เช่น สภาผู้นำ/กลุ่ม/เครือข่าย

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

ตัวชี้วัดการประเมิน

3. โครงสร้างองค์กร

คะแนน 5 4 3 2 1

การพัฒนาโครงการ

โครงสร้างชุมชน ทุนของชุมชน
การวิเคราะห์และอธิบายทุนที่มีอยู่ในชุมชน

การติดตามประเมินผล

  • เกิดกลไกขับเคลื่อนในพื้นที่ เป็นส่วนสำคัญในโครงสร้างชุมชน เช่น กรรมการหมู่บ้าน กรรมการชุมชน เป็นต้น

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

ตัวชี้วัดการประเมิน

4. การประเมินปัญหา

คะแนน 5 4 3 2 1

5. การถามว่าทำไม

คะแนน 5 4 3 2 1

การพัฒนาโครงการ

การวิเคราะห์สภาพปัญหาในชุมชน/เลือกปัญหา
การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการปัญหา (คน สภาพแวดล้อมกลไก)
การวิเคราะห์และจัดทำแนวทางการจัดการปัญหา
การมีแผนชุมชน

การติดตามประเมินผล

  • มีฐานข้อมูลชุมชน (ปัญหาของชุมชน , ปัญหาเฉพาะประเด็น)

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

ตัวชี้วัดการประเมิน

6. การระดมทรัพยากร

คะแนน 5 4 3 2 1

7. การเชื่อมโยงภายนอก

คะแนน 5 4 3 2 1

การพัฒนาโครงการ

แผนการดำเนินการมีภาคีร่วมสนับสนุน อะไร อย่างไร งบประมาณที่ร่วมสนับสนุน

การติดตามประเมินผล

  • การระดมทรัพยากรและการเชื่อมโยงภายนอก มีการบรรจุอยู่ใน แผนชุมชน แผน อบต./เทศบาล แผนของหน่วยงาน

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

ตัวชี้วัดการประเมิน

8. บทบาทตัวแทน

คะแนน 5 4 3 2 1

ตัวแทนภายใน
  • ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นตัวแทนชุมชน มีกระบวนการชี้แจง ประชุมชุมชนก่อนเริ่มโครงการ
  • มีกระบวนการติดตามประเมินผลโครงการโดยชุมชน
  • มีการประเมินผลระหว่างโครงการ
  • มีการประเมินผลหลังการทำโครงการ
ตัวแทนภายนอก
  • มีระบบพี่เลี้ยง หนุนเสริม เชื่อมประสานกับหน่วยงานภาคีที่เกี่ยวข้องทั้งภายใน และภายนอกชุมชน

การพัฒนาโครงการ

ตัวแทนภายใน และตัวแทนภายนอก

การติดตามประเมินผล

  • ผู้รับผิดชอบโครงการเข้าไปมีส่วนร่วมในกลุ่ม / เครือข่าย หรือ หน่วยงานทั้งภายในและภายนอกชุมชน
  • ผู้รับผิดชอบโครงการยกระดับเป็นพี่เลี้ยง

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

ตัวชี้วัดการประเมิน

9. การบริหารจัดการ

คะแนน 5 4 3 2 1

การพัฒนาโครงการ

  • การใช้ระบบพัฒนาโครงการบนเว็บไซต์

การติดตามประเมินผล

  • การใช้ระบบติดตามประเมินผลบนเว็บไซต์ (รายงาน, การเงิน)

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

ตัวชี้วัดการประเมิน

10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
10.1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
  • ความรู้ใหม่/องค์ความรู้ใหม่
  • สิ่งประดิษฐ์/ผลผลิตใหม่
  • กระบวนการใหม่
  • วิธีการทำงาน/การจัดการใหม่
  • การเกิดกลุ่ม/โครงสร้างในชุมชนใหม่
  • แหล่งเรียนรู้ใหม่

การติดตามประเมินผล

  • การเกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

ตัวชี้วัดการประเมิน

10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
10.2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
  • การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
  • การบริโภค
  • การออกกำลังกาย
  • การลด ละ เลิก อบายมุข
  • การลดพฤติกรรมเสี่ยง
  • การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
  • การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต
  • พฤติกรรมการจัดการตนเองครอบครัว

การติดตามประเมินผล

  • การเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

ตัวชี้วัดการประเมิน

10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
10.3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
  • กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ
  • สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
  • เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ
  • มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

การติดตามประเมินผล

  • การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

ตัวชี้วัดการประเมิน

10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
10.4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
  • มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
  • มีธรรมนูญของชุมชน
  • อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น

การติดตามประเมินผล

  • การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

ตัวชี้วัดการประเมิน

10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
10.5 เกิดกระบวนการชุมชน
  • เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย
  • การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
  • การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน
  • มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
  • เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
  • เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ

การติดตามประเมินผล

  • การเกิดกระบวนการชุมชน

ตัวชี้วัดการประเมิน

10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
10.6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
  • ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
  • การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
  • การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
  • ชุมชนมีความเอื้ออาทร
  • มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

การติดตามประเมินผล

  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คะแนนตัวชี้วัดการประเมิน

คะแนนตัวชี้วัด = 0/45 = 0.00%

กรุณาคลิกรีเฟรชเพื่อคำนวนคะแนนตัวชี้วัดใหม่

2. สรุปภาพรวมข้อเสนอโครงการ

3. ความเห็นภาพรวมของผู้ทรงคุณวุฒิ

<