การพัฒนาสูตรปุ๋ยชีวภาพเพื่อป้องกันรากผักเน่า กรณีศึกษา สวนผักบ้านห้วยสำราญ ตำบลหนองไฮ อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ การพัฒนาสูตรปุ๋ยชีวภาพเพื่อป้องกันรากผักเน่า กรณีศึกษา สวนผักบ้านห้วยสำราญ ตำบลหนองไฮ อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี

ระยะเวลาโครงการ 1 สิงหาคม 2560 - 30 พฤศจิกายน 2560

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

การทดลองผักชีไทย 5.1.1.1. ปล่อยธรรมชาติ ผักชีไทย
- ครั้งที่ 1 ลักษณะของใบมีสีเขียวอ่อน ลำต้นสมบรูณ์ รากไม่เน่า
- ครั้งที่ 2 ลักษณะของใบมีสีเขียวอ่อน ลำต้นสมบรูณ์ รากไม่เน่า
- ครั้งที่ 3 ลักษณะของใบมีสีเหลือง ลำต้นไม่สมบรูณ์ รากเน่า
- ครั้งที่ 4 ลักษณะของใบมีสีเหลือง ลำต้นไม่สมบรูณ์ รากเน่า 5.1.1.2 สารเคมี ผักชีไทย
- ครั้งที่ 1 ลักษณะของใบมีสีเขียวอ่อน ลำต้นสมบรูณ์ รากไม่เน่า
- ครั้งที่ 2 ลักษณะของใบมีสีเขียวเข้ม ลำต้นสมบรูณ์ รากไม่เน่า
- ครั้งที่ 3 ลักษณะของใบมีสีเหลือง ลำต้นไม่สมบรูณ์ รากเน่า
- ครั้งที่ 4 ลักษณะของใบมีสีเหลือง ลำต้นไม่สมบรูณ์ รากเน่า           5.1.1.3 สูตรที่ 1 จุลินทรีย์สัปปะรดแก้โรครากเน่า ผักชีไทย                 - ครั้งที่ 1 ลักษณะของใบมีสีเขียวอ่อน ลำต้นสมบรูณ์ รากไม่เน่า
- ครั้งที่ 2 ลักษณะของใบมีสีเขียวเข้ม ลำต้นสมบรูณ์ รากไม่เน่า
- ครั้งที่ 3 ลักษณะของใบมีสีเขียวอ่อน ลำต้นสมบรูณ์ รากไม่เน่า
- ครั้งที่ 4 ลักษณะของใบมีสีเขียวอ่อน ลำต้นสมบรูณ์ รากไม่เน่า 5.1.1.4 สูตร 2 สมุนไพรป้องกันโรครากเน่า ผักชีไทย                 - ครั้งที่ 1 ลักษณะของใบมีสีเขียวอ่อน ลำต้นสมบรูณ์ รากไม่เน่า
- ครั้งที่ 2 ลักษณะของใบมีสีเขียวอ่อน ลำต้นสมบรูณ์ รากไม่เน่า
- ครั้งที่ 3 ลักษณะของใบมีสีเขียวอ่อน ลำต้นสมบรูณ์ รากไม่เน่า
- ครั้งที่ 4 ลักษณะของใบมีสีเขียวอ่อน ลำต้นสมบรูณ์ รากไม่เน่า

การทดลองผักสลัด 5.1.1.5 ปล่อยธรรมชาติ ผักสลัด
- ครั้งที่ 1 ลักษณะของใบมีสีเขียวอ่อน ลำต้นสมบรูณ์ รากไม่เน่า
- ครั้งที่ 2 ลักษณะของใบมีสีเขียวเข้ม ลำต้นสมบรูณ์ รากไม่เน่า
- ครั้งที่ 3 ลักษณะของใบมีสีเขียวเข้ม ลำต้นไม่สมบรูณ์ รากเน่า
- ครั้งที่ 4 ลักษณะของใบมีสีเหลือง ลำต้นไม่สมบรูณ์ รากเน่า 5.1.1.6 สารเคมี ผักสลัด
- ครั้งที่ 1 ลักษณะของใบมีสีเขียวอ่อน ลำต้นสมบรูณ์ รากไม่เน่า
- ครั้งที่ 2 ลักษณะของใบมีสีเขียวอ่อน ลำต้นสมบรูณ์ รากไม่เน่า
- ครั้งที่ 3 ลักษณะของใบมีสีเขียวอ่อน ลำต้นสมบรูณ์ รากไม่เน่า
- ครั้งที่ 4 ลักษณะของใบมีสีเหลือง ลำต้นไม่สมบรูณ์ รากเน่า           5.1.1.7 สูตรที่ 1 จุลินทรีย์สัปปะรดแก้โรครากเน่า ผักสลัด                 - ครั้งที่ 1 ลักษณะของใบมีสีเขียวอ่อน ลำต้นสมบรูณ์ รากไม่เน่า
- ครั้งที่ 2 ลักษณะของใบมีสีเขียวเข้ม ลำต้นสมบรูณ์ รากไม่เน่า
- ครั้งที่ 3 ลักษณะของใบมีสีเขียวอ่อน ลำต้นสมบรูณ์ รากไม่เน่า
- ครั้งที่ 4 ลักษณะของใบมีสีเขียวอ่อน ลำต้นสมบรูณ์ รากไม่เน่า 5.1.1.8 สูตร 2 สมุนไพรป้องกันโรครากเน่า ผักสลัด
                - ครั้งที่ 1 ลักษณะของใบมีสีเขียวอ่อน ลำต้นสมบรูณ์ รากไม่เน่า
- ครั้งที่ 2 ลักษณะของใบมีสีเขียวอ่อน ลำต้นสมบรูณ์ รากไม่เน่า
- ครั้งที่ 3 ลักษณะของใบมีสีเขียวอ่อน ลำต้นสมบรูณ์ รากไม่เน่า
- ครั้งที่ 4 ลักษณะของใบมีสีเขียวเข้ม ลำต้นสมบรูณ์ รากไม่เน่า

เมื่อนำมาเปรียบเทียบผลผลิตทั้ง 8 แปลงทดลอง น้ำหมักสารชีวภาพที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดคือ น้ำหมักสารชีวภาพสูตรที่ 1 จุลินทรีย์สัปปะรดแก้โรครากเน่า เหมาะสำหรับผักชีไทยและสูตร 2 สมุนไพรป้องกันโรครากเน่า เหมาะสำหรับผักสลัด ซึ่งทำให้ผลผลิตที่ได้ลดปัญหาการเกิดรากเน่าของผักชีไทยและผักสลัด

 

1 วิธีการเก็บรักษาน้ำหมักสารชีวภาพให้สามารถเก็บไว้ได้นาน ทำให้ไม่ต้องหมักสารชีวภาพบ่อยๆ
2 พัฒนาสูตรปุ๋ยให้อยู่ในรูปแบบของเม็ด เพื่อง่ายต่อการนำไปใช้งาน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ