การพัฒนาผลิตภัณฑ์ดูแลผิวกายดาวอินคา กรณีศึกษาไร่พรปวีณ์ อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ดูแลผิวกายดาวอินคา กรณีศึกษาไร่พรปวีณ์ อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี

ระยะเวลาโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 31 พ.ค. 2561

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

1 การเข้ามาแข่งขันของผู้ประกอบการรายใหม่ การเข้ามาของผู้ประกอบการรายใหม่สามารถเข้ามาได้ง่าย เนื่องจากธุระกิจประเภทนี้ใช้เงินลงทุนที่ไม่สูงมาก และขั้นตอนการดำเนินงาน ขั้นตอนการผลิต ไม่ยุ่งยากและซับซ้อน อีกทั้งหากผู้ประกอบการรายใหม่ที่เข้ามานั้นมีพันธมิตรทางด้านธรุกิจอยู่แล้ว เช่น มีพันธมิตรในด้านช่องทางการจัดจำหน่าย หรือพันธมิตรในด้านแหล่งวัตุดิบ และมีเงินทุนที่ดี ยิ่งอำนวยความสะดวกให้ผู้ประกอบการรายใหม่ในการเข้ามาประกอบธุรกิจประเภทนี้ให้ประสบผลสำเร็จดียิ่งขึ้น 2 ความรุนแรงของการแข่งขันภายในอุตสากรรม ในปัจจุบันประเทศไทยมีผู้ประกอบการที่ประกอบธุรกิจเครืองสำอางเป็นจำนวนมาก โดยส่วนใหญ่เป็นผู้ประกอบการที่อยู่ในขนาดกลางและขนาดเล็ก โดยผู้ประกอบการรายใหญ่มีเพียงไม่กี่รายเท่านั้น แต่อย่างไรก็ตามการแข่งขันในตลาดทั้ง 3 ระดับนั้น มีการแข่งขันกันในระดับของตัวเองที่สูงมาก ไม่ว่าจะเป็นการสนับสนุนจากทางรัฐบาลเองในการให้สินเชื่อในการประกอบธรุรกิจ หรือดำเนินธรุกิจใหม่ หรือการเข้ามาลงทุนชองธุรกิจชาวต่างชาติในธรุกิจประเภทเครื่องำอางดังกล่าวนี้แล้ว จึงทำให้มองเห็นได้ว่า มีการแข่งขันกันสูงภายในอุตสาหกรรมเครื่องสำอาง 3 อานาจต่อรองของผู้จาหน่ายวัตถุดิบ เนื่องจากผลิตภัณฑ์ของผู้ประกอบการนั้น ส่วนใหญ๋เป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตมาจากธรรมชาติ โดยที่วัตถุดิบที่นำมาผลิตเกือบทั้งหมดนั้น ทางผู้ประกอบการมีแหล่งวัตุดิบเป็นของตัวเอง จึงทำให้อำนาจต่อรองของทางผู้จำหน่ายวัตถุดิบนั้น ไม่มีผลใดๆ กับทางผู้ประกอบการ 4 อานาจต่อรองของผู้ซื้อ อำนาจต่อรองของผู้ซื้อถือว่าอยู่ในระดับที่สูง เพราะสินค้าของเรายังเป็นสินค้าใหม่และยังไม่เป็นที่รู้จักของกลุ่มลูกค้าในตลาด และอีกประการหนึ่งคือ ยังมีกลุ่มลูกค้าที่มีความจงรักภักดีในแบรนด์สินค้าที่ผู้บริโภคใช้อยู่แล้ว และที่สำคัญ ปัจจุบันนี้ตลาดเครื่องสำอางมีการแข่งขันกันสูงมาก พร้อมทั้งมีผลิตภัณฑ์ที่ออกมาให้ผู้บริโภคได้เลือกใช้กันมากมาย ดังนั้นจึงทำให้ผู้บริโภคมีตัวเลือกมากมายในการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางนั้น.

 

  1. โครงงานนี้ควรจะมีการศึกษาในการนำไปใช้ปฏิบัติจริง
  2. ควรมีการศึกษาเรื่องการจัดการทางด้านการเงินเกี่ยวกับระบบบ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ