การพัฒนาน้ำหมักชีวภาพเพื่อรักษาเชื้อราในโรงเห็ดฟาง กรณีศึกษา โรงเห็ดฟางบ้านข้าวสาร ตำบลโนนสูง อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ การพัฒนาน้ำหมักชีวภาพเพื่อรักษาเชื้อราในโรงเห็ดฟาง กรณีศึกษา โรงเห็ดฟางบ้านข้าวสาร ตำบลโนนสูง อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี

ระยะเวลาโครงการ 1 สิงหาคม 2560 - 31 ธันวาคม 2560

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

สรุปผลการทดลอง 1 ผลการเปรียบเทียบน้ำหมักชีวภาพ จากผลการเปรียบเทียบประสิทธิภาพน้ำหมักชีวภาพในการรักษาเชื้อราในโรงเห็ดฟาง ซึ่งใช้น้ำหมักชีวภาพแตกต่างกัน 3 สูตร ได้แก่ สูตรที่ 1 น้ำหมักฮอร์โมนตีนเห็ด สูตรที่ 2 น้ำหมักหอยเชอรี่ สูตรที่ 3 น้ำหมักเหล้าขาว โดยใช้ในอัตราส่วน น้ำหมักชีวภาพ 150 ซีซี ต่อ น้ำเปล่า 15 ลิตร ปรากฏว่าน้ำหมักชีวภาพที่มีประสิทธิภาพในการรักษาเชื้อราในโรงเห็ดฟางมากที่สุด คือ น้ำหมักชีวภาพสูตรหอยเชอรี่ เห็นผลในระยะเวลา 3 สัปดาห์ และเป็นสูตรที่มีต้นทุนต่ำที่สุด คือ 78 บาท ซึ่งแตกต่างกันกับน้ำหมักชีวภาพชนิดอื่นๆ

สรุปได้ว่า การใช้น้ำหมักชีวภาพในการรักษาเชื้อราในโรงเห็ดฟาง มีประสิทธิภาพมากกว่าการไม่ใช้น้ำหมักชีวภาพ หรือการปล่อยทิ้งไว้ตามธรรมชาติ การใช้น้ำหมักชีวภาพสูตรต่างๆ พบว่า น้ำหมักชีวภาพที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด คือ น้ำหมักชีวภาพสูตรหอยเชอรี่ รองลงมา คือ น้ำหมักชีวภาพสูตรเหล้าขาว น้ำหมักชีวภาพสูตรฮอร์โมนตีนเห็ด และการปล่อยทิ้งไว้ตามธรรมชาติ ตามลำดับ พบว่า เห็ดฟางมีน้ำหนักเพิ่มขึ้น และเชื้อราแห้งหมดไม่มีการขยายตัวเพิ่มขึ้น

 

  1. ควรเลือกน้ำหมักชีวภาพที่เหมาะสมและหาได้ง่ายในท้องถิ่น เพื่อหาแนวทางในการรักษาเชื้อราให้ดียิ่งขึ้น และควรนำไปปรับใช้กับโรงเห็ดชนิดอื่นๆได้ เช่น เห็ดนางฟาง เห็ดขอนขาว เป็นต้น
    1. ควรศึกษาระดับความเข้มข้นของน้ำหมักชีวภาพที่เหมาะสมในรักษาเชื้อราในเห็ดชนิดต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป
    2. ควรควบคุมอุณหภูมิและความชื้นที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของเชื้อราและดอกเห็ด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ