การพัฒนาความหลากหลายของรสชาติผลิตภัณฑ์ถั่วตัด : กรณีศึกษา กลุ่มแปรรูปถั่วลิสงเมืองเพีย ตำบลเมืองเพีย อำเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ การพัฒนาความหลากหลายของรสชาติผลิตภัณฑ์ถั่วตัด : กรณีศึกษา กลุ่มแปรรูปถั่วลิสงเมืองเพีย ตำบลเมืองเพีย อำเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี

ระยะเวลาโครงการ 1 สิงหาคม 2560 - 30 พฤศจิกายน 2560

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

สรุปผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน และภายนอกองค์กร (SWOT Analysis) ผู้ ศึกษาพบว่าผลิตภัณฑ์ถั่วตัดของกลุ่มแปรรูปถั่วลิสงเมืองเพีย มีจุดเด่นในเรื่องของราคาที่ต่ำกว่าคู่แข่งขัน ดังนั้นผู้ประกอบการสามารถนำกลยุทธ์ต้นทุนต่ำ (Low Cost Marketing Strategy) คือ มุ้งเน้นการควบคุมต้นทุนทางการบริหารงานและการผลิตให้ต่ำ เพื่อให้กลุ่มแม่บ้านสามารถขายสินค้าได้ในระดับราคาที่ถูกกว่าคู่แข่งขัน โดยการสั่งซื้อวัตถุดิบที่ไม่เสียง่ายมากักเก็บไว้ เพราะการสั่งซื้อสินค้าในปริมาณที่มาก ๆ จะทำให้ต้นทุนในการสั่งซื้อต่ำลง และได้รับส่วนลดในการสั่งซื้อสินค้า เพื่อให้ต้นทุนผลิตภัณฑ์ต่ำกว่าคู่แข่งขัน ดังนั้นกลุ่มแม่บ้าน จึงควรมุ่งในการขยายช่องทางในการจัดจำหน่าย เพื่อเพิ่มยอดขายถั่วตัดเพิ่มมากขึ้น โดยการเจาะกลุ่มเป้าหมายใหม่ เพื่อเป็นการขยายตลาดสู่กลุ่มเป้าหมายใหม่ ๆ เพิ่มมากขึ้น สรุปผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมความสามารถทางการแข่งขัน (5 Forces Model) พบว่า อุตสาหกรรมขนมขบเคี้ยวจากถั่วลิสง แม้จะมีการแข่งขันกันสูงในเรื่องของสินค้าทดแทน และมีคู่แข่งรายใหม่เข้าตลาดมาได้ค่อนข้างง่าย ดังนั้นในการวางกลยุทธ์ ต้องเลือกกลุ่มเป้าหมายของลูกค้าให้ได้อย่างถูกต้อง และสร้างการรับรู้ในตราสินค้าอย่างรวดเร็วในใจของลูกค้า อีกทั้งรสชาติของสินค้าจะต้องมีความอร่อย ถูกปากของผู้บริโภค เพื่อให้ลูกค้านึกถึงตราสินค้าได้เมื่อเกิดความอยากรับประทานขนมถั่วตัดเป็นตรายี่ห้อแรกๆ


สรุปผลการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการขยายช่องทางในการจัดจำหน่าย ผู้ศึกษาพบว่า ร้านค้าส่วนใหญ่รับ จำนวน 12 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 60 และน้อยที่สุดเป็นไม่รับ จำนวน 8 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 40 มีความเป็นไปได้ที่จะขยายช่องทางในการจัดจำหน่าย โดยจะขยายช่องทางไปยังตลาดของฝากได้ ส่วนเหตุผลที่ร้านค้าไม่รับสินค้าเข้าไปจำหน่ายในร้าน ดังนี้
เหตุผลที่ไม่รับ เพราะผลิตภัณฑ์ประเภทถั่วตัดเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ในพื้นที่ และถั่วตัดเป็นสินค้าที่ค่อนข้างที่จะมีราคาสูงเมื่อเปรียบเทียบกับสินค้าประเภทขนมขบเคี้ยวอื่น ๆ ที่มีอยู่เดิมตามท้องตลาด และทางร้านค้าก็เกรงว่าถ้าหากรับสินค้าถั่วตัดมาจำหน่ายภายในร้านแล้วเกิดสินค้าจำหน่ายไม่ออก เพราะเดิมทางร้านมีสินค้าวางจำหน่ายเยอะพียงพอแล้ว

 

  1. พัฒนารูปทรงผลิตภัณฑ์ถั่วตัดให้มีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น
  2. เพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายให้มากยิ่งขึ้น นอกจากร้านกาแฟ สามารถขยายไปยังตลาดของฝากได้
  3. เพิ่มรสชาติให้มีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น เช่น ถั่วตัดรสใบเตย, ถั่วตัดรสสตอเบอรี่ เป็นต้น
    1. เปลี่ยนวัตถุดิบที่ใช้ผลิตจากเดิมให้เป็นขนมเพื่อสุขภาพ เช่น ใช้หญ้าหวานแทนน้ำตาล เป็นต้น
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ