การแปรรูปและเพิ่มมูลค่าถั่วลิสงที่ไม่ได้มาตรฐาน : กรณีศึกษากลุ่มแม่บ้าน เกษตรกรบ้านหนองฆ้อง ตำบลขอนยูง อำเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ การแปรรูปและเพิ่มมูลค่าถั่วลิสงที่ไม่ได้มาตรฐาน : กรณีศึกษากลุ่มแม่บ้าน เกษตรกรบ้านหนองฆ้อง ตำบลขอนยูง อำเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี

ระยะเวลาโครงการ 1 August 2017 - 30 November 2017

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
  1. เพื่อแปรรูปถั่วลิสงที่ไม่ได้มาตรฐานให้เกิดเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ โดยจากการลงพื้นที่ศึกษาปัญหาของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านหนองฆ้อง ได้พบว่ากลุ่มแม่บ้านมีปัญหาจากการที่มีถั่วลิสงที่ไม่ได้มาตรฐานเหลือเป็นจำนวนมาก จึงได้คิดวิธีการนำถั่วลิสงที่ไม่ได้มาตรฐานนั้นมาทำให้เกิดเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ โดยได้ทำการศึกษาขั้นตอนวิธีการทำถั่วทอดกรอบจนได้ผลิตภัณฑ์ถั่วทอดกรอบขึ้นมา ซึ่งมีทั้งหมด 3 รสชาติ คือ รสดั้งเดิม รสธัญพืช และรสบาร์บีคิว และได้ทำการทดลองอายุการเก็บรักษาของผลิตภัณฑ์ถั่วทอดกรอบ พบว่าผลิตภัณฑ์ถั่วทอดกรอบสามารถเก็บไว้ได้นาน 1 เดือน อีกทั้งได้ออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้มีความน่าสนใจและสามารถดึงดูดผู้บริโภคได้
  2. เพื่อทดสอบความชอบของกลุ่มผู้บริโภคทั่วไปในผลิตภัณฑ์ถั่วทอดกรอบรสชาติต่างๆ ส่วนประชากรกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาในครั้งนี้ก็คือ ผู้บริโภคทั่วไปในมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีและผู้บริโภคทั่วไปที่ศูนย์การค้ายูดีทาวน์ มีจำนวนทั้งหมด 100 คน โดยเครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินการในครั้งนี้เป็นแบบสอบถามการสำรวจความชอบในผลิตภัณฑ์ถั่วทอดกรอบในรสชาติต่างๆ พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์ถั่วทอดกรอบและปัจจัยในการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ถั่วทอดกรอบ โดยมีลักษณะของเครื่องมือในการเก็บรวบรวมใช้แบบสอบถามแบบปลายเปิดและปลายปิด โดยแบ่งออกเป็น 3 ตอน ดังนี้
    ตอนที่ 1 เป็นการสอบถามข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยลักษณะคำถามเป็นคำถามปลายปิดที่มีการกำหนดคำตอบไว้แล้ว  ซึ่งให้ผู้ตอบแบบสอบถามเลือกตอบแบบสอบถามตามหัวข้อดังนี้ เพศ อายุ รายได้ การศึกษา อาชีพ พบว่าระดับการศึกษา ซึ่งกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 21-30 ปี ส่วนใหญ่มีรายได้ต่อเดือน 9,001 บาทขึ้นไป มีการศึกษาปริญญาตรีและส่วนใหญ่ประกอบอาชีพนักเรียน/นักศึกษา ตอนที่ 2 เป็นการสอบถามถึงพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์ถั่วทอดกรอบ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่รับประทาน 1-3 ครั้งต่อสัปดาห์ และสะดวกซื้อถั่วทอดกรอบที่ร้านสะดวกซื้อ โดยส่วนใหญ่มีสาเหตุการเลือกซื้อถั่วทอดกรอบโดยจะซื้อเป็นของฝาก ตอนที่ 3 เป็นแบบสอบถามถึงปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจถั่วทอดกรอบ พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ให้ความสำคัญด้านผลิตภัณฑ์มากที่สุด มีระดับความชอบรับประทานถั่วทอดกรอบรสบาบีคิวมากที่สุด ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ส่วนใหญ่มีความเห็นสมารถจำหน่ายทางธุรกิจได้ และผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่แนะนำถั่วทอดกรอบรสบาร์บีคิว และไม่แนะนำรสธัญพืช ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่คิดว่าราคาของถั่วทอดกรอบรสดั้งเดิม 8 ชิ้น 20 บาท มีความเหมาะสม ราคาของถัวทอดกรอบรสธัญพืช 8 ชิ้น 25 บาทมีความเหมาะสม ราคาของถัวทอดกรอบรสบาร์บีคิว 8 ชิ้น 25 บาทเหมาะสม

 

  1. จากผลการสำรวจการเลือกซื้อของผู้บริโภคพบว่าส่วนใหญ่จะเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ถั่วทอดกรอบตามร้านสะดวกซื้อ ดังนั้นจึงมีข้อเสนอกลุ่มแม่บ้านเกษตรบ้านหนองฆ้องให้เลือกร้านสะดวกซื้อเป็นช่องทางในการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ถั่วทอดกรอบ แต่ต้องทำการศึกษาเงื่อนไขและข้อกำหนดต่างๆ ให้ดีก่อน
  2. ควรพัฒนาผลิตภัณฑ์ถั่วทอดกรอบให้มีรสชาติใหม่ๆมากยิ่งขึ้น เช่น รสชีส รสพิซซ่า รสต้มยำ เป็นต้น
  3. ต้องคำนึงถึงความสะอาดและความสดใหม่ของผลิตภัณฑ์อยู่เสมอ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ