การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรจากกล้วยน้ำว้า กรณีศึกษา : ไร่กล้วยสุขสมใจ ต.นากว้าง อ.เมือง จ.อุดรธานี

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรจากกล้วยน้ำว้า กรณีศึกษา : ไร่กล้วยสุขสมใจ ต.นากว้าง อ.เมือง จ.อุดรธานี

ระยะเวลาโครงการ 1 สิงหาคม 2560 - 30 พฤศจิกายน 2560

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลระดับความชอบในผลิตภัณฑ์ พบว่าระดับความชอบด้านผลิตภัณฑ์ระดับความชอบด้านผลิตภัณฑ์เฟรนฟรายกล้วยมากที่สุดคือ ความกรอบของเฟรนฟราย(x ̅ = 4.09)ระดับความชอบด้านราคาระดับความชอบด้านราคาของเฟรนฟรายกล้วยมากที่สุดคือรสชาติโดยรวมคุ้มค่ากับราคา(x ̅=3.95)ผลการวิเคราะห์ระดับความชอบและความเหมาะสมของราคาในผลิตภัณฑ์ พบว่า ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของรสชาติออริจินอลมากที่สุดคือรสชาติ (x ̅=4.22) อันดับสุดท้ายคือสี (x ̅=3.92) ความเหมาะสมของราคาเฟรนฟรายกล้วยรสออริจินอลมากที่สุดคือ เหมาะสม จำนวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ 76.00 การเลือกซื้อเฟรนฟรายกล้วยรสออริจินอลมากที่สุดคือ ซื้อ จำนวน 89 คน คิดเป็นร้อยละ 89.0ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของรสชาติบาบีคิวมากที่สุดคือรสชาติ (x ̅=4.32) ความเหมาะสมของราคาเฟรนฟรายกล้วยรสบาบีคิวมากที่สุดคือ เหมาะสม จำนวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ 76.0 การเลือกซื้อเฟรนฟรายกล้วยรสบาบีคิวมากที่สุดคือ ซื้อ จำนวน 89 คน คิดเป็นร้อยละ 89.0ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของรสชาติชีส มากที่สุดคือ ความกรอบ (x ̅= 4.19) ความเหมาะสมของราคาเฟรนฟรายกล้วยรสชีสมากที่สุดคือ เหมาะสม จำนวน 85 คน คิดเป็นร้อยละ 85.0 การเลือกซื้อเฟรนฟรายกล้วยรสชีสมากที่สุดคือ ซื้อ จำนวน 93 คน คิดเป็นร้อยละ 93.0 ผลการสำรวจพบว่ารสชาติที่ชอบมากที่สุดคือ รสบาบีคิว จำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 40.0 รองลงมาคือ รสชีส จำนวน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 32.0 และรสออริจินอล จำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 28.0

 

  • ควรมีการพัฒนารสชาติของผลิตภัณฑ์ให้มีความแปลกใหม่เช่น เฟรนฟรายกล้วยอบเนยเคลือบงา
  • ควรให้ผู้ประกอบการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้เป็นรูปแบบแช่แข็ง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ