ผลิตภัณฑ์กระเป๋าแปรรูปจากเสื่อกก บ้านห้วยเกิ้ง อำเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ ผลิตภัณฑ์กระเป๋าแปรรูปจากเสื่อกก บ้านห้วยเกิ้ง อำเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี

ระยะเวลาโครงการ 1 มกราคม 2562 - 30 เมษายน 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

ด้านโครงสร้างผลิตภัณฑ์กระเป๋าสตรี (Structure) พบว่า ผลความพึงพอใจและความชอบของกระเป๋าสตรี แบบที่ 4 โดยรวมอยู่ในระดับมาก (x ̅=3.95) เมื่อพิจารนาเป็นรายข้อพบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจสูงสุด คือ กระเป๋ามีลวดลายสวยงาม อยู่ในระดับมาก (x ̅=4.01) รองลงมาได้แก่ กระเป๋ามีรูปทรงสวยงาม อยู่ในระดับมาก (x ̅=3.96), และกระเป๋ามีรูปทรงที่ทนทานและแข็งแรง อยู่ในระดับมาก (x ̅=3.89) ด้านวัสดุที่ใช้ทำผลิตภัณฑ์กระเป๋าสตรี (Material) พบว่า ผลความพึงพอใจและความชอบของกระเป๋าสตรี แบบที่ 4 โดยรวมอยู่ในระดับมาก (x ̅=4.05) เมื่อพิจารนาเป็นรายข้อพบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจสูงสุด คือ วัสดุมีความทนทานต่อการใช้งาน อยู่ในระดับมาก (x ̅=4.05) รองลงมาได้แก่ วัสดุมีความสวยงามเข้ากับลวดลายของเสื่อและรูปแบบกระเป๋า อยู่ในระดับมาก (x ̅=4.05) ด้านความสวยงาม (Aesthetic) พบว่า ผลความพึงพอใจและความชอบของกระเป๋าสตรี แบบที่ 4 โดยรวมอยู่ในระดับมาก (x ̅=4.07) เมื่อพิจารนาเป็นรายข้อพบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจสูงสุด คือ มีความแปลกและสวยงาม ดูทันสมัย อยู่ในระดับมาก (x ̅=4.16) รองลงมาได้แก่ มีความโดดเด่นและสะดุดตา อยู่ในระดับมาก (x ̅=3.98) ด้านประโยชน์ใช้สอย (Function) พบว่า ผลความพึงพอใจและความชอบของกระเป๋าสตรี แบบที่ 4 โดยรวมอยู่ในระดับมาก (x ̅=3.932) เมื่อพิจารนาเป็นรายข้อพบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจสูงสุด คือ รูปทรงพกพาสะดวก อยู่ในระดับมาก (x ̅=4.00) รองลงมาได้แก่ ความสะดวกในการหยิบสิ่งของ อยู่ในระดับมาก (x ̅=3.92), และสามารถเก็บสิ่งของได้หลายอย่าง อยู่ในระดับมาก (x ̅=3.86) ด้านการดูแลและบำรุงรักษา (Care and maintenance) พบว่า ผลความพึงพอใจและความชอบของกระเป๋าสตรี แบบที่ 4 โดยรวมอยู่ในระดับมาก (x ̅=3.90) เมื่อพิจารนาเป็นรายข้อพบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจสูงสุด คือ ง่ายต่อการทำความสะอาด ทั้งภายในและภายนอกอยู่ในระดับมาก (x ̅=3.93) รองลงมาได้แก่ ง่ายต่อการซ่อมแซม อยู่ในระดับมาก (x ̅=3.88) ด้านลวดลาย (Pattern)พบว่า ผลความพึงพอใจและความชอบของกระเป๋าสตรี แบบที่ 4 โดยรวมอยู่ในระดับมาก (x ̅=4.13) เมื่อพิจารนาเป็นรายข้อพบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจสูงสุด คือ สีสันและลวดลายยังคงความเป็นภูมิปัญญาอยู่ในระดับมาก (x ̅=4.23) รองลงมาได้แก่ ลวดลายมีความเหมาะสมกับรูปแบบของกระเป๋า อยู่ในระดับมาก (x ̅=4.11), และความแปลกใหม่และคงเอกลักษณ์ของเสื่อ อยู่ในระดับมาก (x ̅=4.07)

 

  • ออกแบบรูปทรงให้ตามสมัย ให้เหมาะสมกับวัยรุ่นมากขึ้น
    • เพิ่มรูปทรงและลวดลาย ให้มีความแปลกใหม่และเพิ่มสีสันให้มากขึ้น
    • จัดทำการตลาด โปรโมทสินค้าในช่องทางต่างๆ เช่น Facebook Instagram Line ฯลฯ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ