โครงงานการพัฒนาน้ำหมักชีวภาพทดแทนกรดฟอร์มิก : กรณีศึกษาสวนยางพารา นายสมพร เขียววารี ตำบลนาทับไฮ อำเภอรัตนวาปี จังหวัดหนองคาย

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงงานการพัฒนาน้ำหมักชีวภาพทดแทนกรดฟอร์มิก : กรณีศึกษาสวนยางพารา นายสมพร เขียววารี ตำบลนาทับไฮ อำเภอรัตนวาปี จังหวัดหนองคาย

ระยะเวลาโครงการ 1 มกราคม 2562 - 30 เมษายน 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

จากการทดสอบประสิทธิภาพน้ำหมักชีวภาพแต่ละสูตรที่ทำการทำการทดลอง ที่ปริมาณน้ำยาง น้ำหมักชีวภาพและกรดฟอร์มิกเท่ากัน เพื่อเปรียบเทียบการจับตัว กลิ่น สี ลักษณะการแพ้ ความยืดหยุ่นและคุณภาพของยางก้อนถ้วย จะเห็นได้ว่า 1. สูตรน้ำซาวข้าวสามารถทำให้น้ำยางจับตัวได้เร็วที่สุด และไม่ทำให้เกิดอาการแพ้ แต่สีและความยืดหยุ่นของยางก้อนถ้วยที่ได้จากการหยอดน้ำซาวข้าวยังไม่มีความยืดหยุ่น เมื่อนำไปให้พ่อค้าคนกลางที่รับซื้อจากลานยางเพื่อดูคุณภาพ พ่อค้าคนกลางสามารถรับซื้อได้ แต่สีและความยืดหยุ่นของยางก้อนถ้วยหากนำไปตรวจสอบคุณภาพที่โรงงานที่เขารับซื้อจริงๆ อาจไม่ผ่าน
2. สูตรน้ำหมักสัปปะรดผลการทดลองคล้ายน้ำซาวข้าว แต่จะใช้เวลานานกว่า กรดฟอร์มิกสามารถทำให้น้ำยางจับตัวได้ดี ยางก้อนถ้วยมีสีขาว มีความยืดหยุ่น โดยปกติพ่อค้าคนกลางรับซื้อยางก้อนถ้วยจากกรดฟอร์มิกเพราะมีคุณภาพ แต่จะมีอาการแพ้กรดทำให้แสบผิว
3. สูตรน้ำหมักกล้วยการจับตัวของน้ำยางช้า ยางก้อนถ้วยมีสีขาวคล้ายกรดฟอร์มิกแต่ความยืดหยุ่นและคุณภาพจะเหมือนกับน้าหมักสัปปะรดและน้ำซาวข้าว 4. กรดฟอร์มิก การจับตัวของน้ำยางเร็ว ยางก้อนถ้วยมีสีขาวมีความยืดหยุ่นสูงสุด พ่อค้าคนกลางรับซื้อยางก้อนถ้วย คุณภาพของยางเป็นที่ยอมรับ

 

  1. ทดลองหมักน้ำหมักชีวภาพให้นานมากขึ้น
  2. พัฒนาน้ำหมักไม่ให้มีสีน้ำตาล
  3. ศึกษาสูตรพัฒนาน้ำหมักชีวภาพที่ทำให้คุณภาพของยางก้อนถ้วยเทียบเท่ากับกรดฟอร์มิก
  4. ศึกษาสารเคมีรวมถึงวิธีการที่จะพัฒนาแปรรูปผลิตภัณฑ์ ที่เกษตรกรสามารถผลิตเองได้
  5. ข้อมูลเรื่องการแปรรูปยังไม่เข้าถึงเกษตรกร การศึกษาความรู้เรื่องการแปรรูป
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ