โครงการการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเชิงบูรณาการจากไม้ผล/ประมง/ปศุสัตว์ : ทางเลือกใหม่ให้เกษตรกรสวนยางในเขตพื้นที่ริมแม่น้ำโขง

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเชิงบูรณาการจากไม้ผล/ประมง/ปศุสัตว์ : ทางเลือกใหม่ให้เกษตรกรสวนยางในเขตพื้นที่ริมแม่น้ำโขง

ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

องค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีปูนและปุ๋ยสั่งตัดสำหรับการปรับสภาพบ่อเลี้ยงปลา

สูตรการคำนวณการใช้ปูนและปุ๋ยสั่งตัดตามสภาพพื้นที่จริง

ขยายผลให้เกษตรกรนำไปใช้ในการลดต้นทุนการปรับสภาพบ่อเลี้ยงปลา ก่อนการปล่อยลูกพันธุ์ปลา เพื่อลดอัตราการตาย เพิ่มอัตรารอด

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

จัดกระบวนการเรียนการสอนแบบใหม่

ผนวกรายวิชาต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ลงพื้นที่ไปหาเกษตรกรพร้อมกัน ช่วยกันแก้ปัญหา

สร้างนักวิชาการประมงอาสา รับปรึกษาปัญหาให้กับเกษตรกรผ่านช่องทางต่างๆ โดยเฉพาะช่องทาง Socail media

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

การบูรณาการการจัดการเรียนการสอนจากของจริงในพื้นที่ การทำวิจัยจากปัญหาที่เจอในพื้นที่ นำไปสู่การบริการวิชาการเพื่อแก้ปัยหาให้กับชุมขนและเกษตรกรได้ตรงกับปัญหา

การลงพพื้นที่ตรวจติดตามของนิสิตในรายวิชาต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ รายงานผลการตรวจติดตามและการให้คำปรึกษากับเกษตรกร

สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการดูแลช่วยเหลือเกษตรกรผู้เลี้ยงปลา ผ่านการจัดการเรียนการสอนแบบ Active learning เรียนผ่านกระบวนการแก้ปัญหาจากของจริงในพื้นที่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

สร้างกลุ่มเรือค่ายเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำหนองเลิงเปือย

รายชื่อเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ

พัฒนาสู่การเป็นกลุ่มผู้ผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำหนองเลิงเปือย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

สร้างเกษตรกรต้นแบบผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำหนองเลิงเปือย

ศูนย์เรียนรู้การเลี้ยงสัตว์น้ำหนองเลิงเปือย

ขยายผลสู่เกษตรกรและชุมชนอื่นในพื้นที่ใกล้เคียงต่อๆไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

นิสิตที่เข้าร่วมโครงการได้มีทักษะการติดต่อสื่อสาร การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า การคิดวิเคราะห์เพื่อช่วยเหลือเกษตรกร มีการทำงานเป็นทีม มีทักษะการวางแผนในการทำงาน

ผลการประเมินการเข้าร่วมโครงการของนิสิตและเกษตรกร

สร้างรูปแบบการเรียนการสอนแบบ Active learning ในทุกรายวิชาของหลักสูตร