โครงการเห็ดอินทรีย์ วิถีพอเพียงโรงเรียนวัดบางศาลา (โรงเรียนวัดบางศาลา)

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
อบรมเชิงปฏิบัติการจัดทำโครงการเกษตรในโรงเรียน 19 พ.ย. 2561 31 ก.ค. 2562

 

อบรมเชิงปฏิบัติการจัดทำโครงการเกษตรในโรงเรียน ณ สถาบันการจัดระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพื่อรับหลักการจัดทำโครงการเกษตรในโรงเรียน

 

ผู้เข้าอบรม นำโครงการที่ได้มีการร่างไปดำเนินงานต่อยังโรงเรียนและชุมชนของตนเอง

 

ประชุมคณะทำงานและวางแผนการดำเนินงานโครงการ 23 พ.ย. 2561 31 ก.ค. 2562

 

  1. ประชุมคณะครูโรงเรียนวัดบางศาลา เพื่อวางแผนในการดำเนินงาน ณ ห้องประชุมโรงเรียนวัดบางศาลา
  2. บรรจุโครงการเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดยบูรณาการในช่วงลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ คาบเศรฐกิจพอเพียง
  3. จัดกลุ่มครูและนักเรียนผู้รับผิดชอบโครงการ
  4. กลุ่มครูและนักเรียนผู้รับผิดชอบโครงการดำเนินการเพาะเห็ด ดูแลโรงเห็ด รดน้ำ เก็บเห็ดขายให้กับโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน หากเหลือจะขายให้กับชุมชนต่อไป

 

คณะครูและนักเรียนโรงเรียนวัดบางศาลาดำเนินการตามแผนโครงการที่ได้วางไว้

 

ดำเนินการเพาะเห็ดนางฟ้าขยายผลโรงเรียนสู่ชุมชน 2 ม.ค. 2562 31 ก.ค. 2562

 

  1. ทำความสะอาดโรงเพาะเห็ด ซึ่งเป็นโรงที่มีอยู่เดิมแล้ว เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการลงก้อนเห็ดนางฟ้า
  2. ลงก้อนเห็ดนางฟ้าที่ได้จัดซื้อมาลงในโรงเห็ดที่ได้เตรียมไว้ มีรายละเอียดดังนี้   2.1 ก้อนเห็ดนางฟ้าจำนวน 1,950 ก้อน * ก้อนละ 10 บาท= 19,500 บาท   2.2 สายยางสำหรับฉีดน้ำ 20 เมตร = 500 บาท
  3. แบ่งเวรครูและนักเรียน เพื่อดูแลโรงเห็ดนางฟ้า ซึ่งมีหน้าที่ เก็บเห็ดนางฟ้า รดน้ำเห็ด ทำความสะอาดโรงเห็ด

 

  1. นักเรียนได้เรียนรู้เรื่องการเพาะเห็ดนางฟ้า ซึ่งเป็นการบูรณาการกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
  2. โครงการอาหารกลางวันได้มีผลผลิตที่ปลอดสารพิษ
  3. โรงเรียนมีรายได้เพิ่มจากการเพาะเห็ดนางฟ้า และสามารถนำรายบได้ในส่วนนี้ไปเป็นทุนเพื่อขยายผลสู่โครงการเกษตรอื่นๆ ต่อไป

 

สรุปและรายงานโครงการ 16 พ.ค. 2562

 

 

 

 

 

ประเมินผลและสรุปผลการจัดกิจกรรม 8 ก.ค. 2562 31 ก.ค. 2562

 

  1. โรงเรียนได้วัตถุดิบในการประกอบอาหารเช้าและอาหารกลางวันที่มีต้นทุนต่ำ
  2. โรงเรียนได้วัตถุดิบในการประกอบอาหารเช้าและอาหารกลางวันที่ปลอดสารเคมี
  3. นักเรียน ผู้ปกครองและบุคคลในชุมชน จำนวน 65 คน เห็นคุณค่าความสำคัญของการเพาะเห็ดกินเอง

 

  1. โรงเรียนได้วัตถุดิบในการประกอบอาหารเช้าและอาหารกลางวันที่มีต้นทุนต่ำ
  2. โรงเรียนได้วัตถุดิบในการประกอบอาหารเช้าและอาหารกลางวันที่ปลอดสารเคมี
  3. นักเรียน  ผู้ปกครองและบุคคลในชุมชน  จำนวน  65  คน  เห็นคุณค่าความสำคัญของการเพาะเห็ดกินเอง