การยกระดับกลุ่มผู้ผลิตข้าวสู่มาตรฐานสินค้าเกษตรอินทรีย์อย่างครบวงจร

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ การยกระดับกลุ่มผู้ผลิตข้าวสู่มาตรฐานสินค้าเกษตรอินทรีย์อย่างครบวงจร

ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของสมาชิกในกลุ่มเครือข่ายภายในและภายนอกชุมชน ทำงานบูรณาการร่วมกัน

จัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชน, ข้อตกลงความร่วมมือระหว่างชุมชนกับหน่วยงานภายในและภายนอก, มีนักศึกษาแต่ละสาขาวิชาที่มีองค์ความรู้ และนวัตกรรม เข้าไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการดำเนินโครงการ

เกิดต้นแบบวิสาหกิจชุมชนเรื่องข้าวอินทรีย์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

แก้ปัญหาเรื่องต้นทุนการผลิตข้าว

ปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด, พันธุ์ข้าวที่ดีผลิตได้เอง, ลดต้นทุนเรื่องค่าจ้างแรงงาน

การทำบัญชีครัวเรือนด้านการปลูกข้าว

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

การพัฒนายกระดับข้าวสู่มาตรฐานอินทรีย์ โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน

ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการทำข้าวอินทรีย์ และการใช้องค์ความรู้นวัตกรรมการแปรรูปข้าวได้ผลิตภัณฑ์ข้าวฮาง ข้าวคั่วสมุนไพร ข้าวกล้อง

จัดทำเป็นหลักสูตรท้องถิ่นโดยนักศึกษาในรายวิชาการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นของมาตรฐานวิชาชีพครู สังกัดคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

มีประธานกลุ่มและสมาชิกในกลุ่มช่วยกันขับเคลื่อน และการจัดการความรู้ร่วมกัน

มีกิจกรรมดำเนินงานด้านข้าว มีหลักฐานเอกสาร, มีผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปจากข้าว, มีภูมิปัญญาท้องถิ่น และภูมิปัญญาวิทยาศาสตร์บูรณาการการปลูกข้าวอินทรีย์

สามารถสร้างเครือข่ายในระดับชุมชนและหน่วยงานอื่นๆ ได้ ขยายผลไปยังประชาชนที่สนใจ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

สมาชิกในกลุ่มสามารถวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นในการดำเนินโครงการและแก้ปัญหาได้ด้วยกระบวนการกลุ่ม สมาชิกในกลุ่มจัดทำแผนปฏิบัติการตามความต้องการของตนเองในเรื่องข้าวได้

จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องข้าว เขียนบันทึกรายงานและทำแผนปฏิบัติการโครงการร่วมกับคณะผู้ดำเนินงานได้ และนักศึกษาร่วมปฏิบัติเขียนแผนงานได้

มีข้อตกลงหรือธรรมนูญในการจัดการกลุ่มร่วมกัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ