การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากกล้วยหอมทองข้าวเกรียบกล้วย

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากกล้วยหอมทองข้าวเกรียบกล้วย

ระยะเวลาโครงการ 1 สิงหาคม 2561 - 30 พฤศจิกายน 2561

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
  1. เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากกล้วยหอมทอง (ข้าวเกรียบกล้วยหอมทอง) การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจาก กล้วยหอมทองมีขั้นตอนการดำเนินงานคือ การนำผลกล้วยหอมทองที่ไม่ได้มาตรฐาน ผิวขรุขระ ไม่เป็นที่ต้องการของตลาดมาผลิตเป็นข้าวเกรียบกล้วยหอมทอง ศึกษาเกี่ยวกับส่วนผสมที่จะนำมาผลิตข้าวเกรียบกล้วยหอมทอง จากสินค้าเดิมของผู้ประกอบการคือ กล้วยฉาบทอด  จึงได้ศึกษาในการทำผลิตภัณฑ์แปรรูปจากข้าวเกรียบกล้วยหอมทอง เพื่อให้ผู้ประกอบการได้มีรายได้เพิ่มขึ้น
  2. เพื่อทดสอบความชอบและหาช่องทางการจัดจำหน่าย จากการทดสอบความชอบของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์แปรรูปจากกล้วยหอมทอง (ข้าวเกรียบกล้วยหอมทอง) โดยการสุ่มตัวอย่างคือกลุ่มประชากรในมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี โดยการนำแบบสอบถามและให้ทดลองชิมผลิตภัณฑ์ข้าวเกรียบกล้วยหอมทอง มีผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามที่ได้ทดลองชิมผลิตภัณฑ์ข้าวเกรียบกล้วยหอมทอง อันดับ1. มีความชอบในด้านความกรอบในผลิตภัณฑ์ข้าวเกรียบกล้วยหอมทองในระดับมากที่สุด อันดับ2. คือความชอบในด้านรสชาติ เพราะข้าวเกรียบกล้วยหอมทองมีรสชาติที่หวานพอดี มีความอร่อยถูกปากคนชิม อันดับ3. คือความชอบด้านขนาดของข้าวเกรียบกล้วยหอมทอง ที่มีขนาดต่อชิ้นไม่เล็กหรือไม่ใหญ่เกินไป และในด้านความชอบของ สีสัน , กลิ่นกล้วย , เนื้อสัมผัส ( ความหยาบ,ความละเอียด), รูปลักษณ์ที่ปรากฏ ตามลำดับ พบว่าผู้บริโภคให้ค่าคะแนนความชอบในระดับชอบปานกลาง ผู้บริโภคจะตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์หากมีวางจำหน่าย เนื่องจากเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีความแปลกใหม่ คุณค่าทางโภชนาการ และมีความอร่อย ซึ่งตรงกับความต้องการในการบริโภคผลิตภัณฑ์ข้าวเกรียบกล้วยหอมทอง

 

  1. ควรพัฒนาผลิตภัณฑ์กล้วยหอมทองมาทำเป็น กล้วยอบแห้ง, ไอศกรีม,ธัญพืชอาหารเช้า
  2. นำกล้วยหอมทองมาพัฒนาต่อให้ได้สินค้าที่หลากหลายเพื่อเพิ่มรายได้ให้กับผู้ประกอบการ
  3. การทำสวนของฟาร์มแม่เพ็ญสามารถที่จะสร้างโอกาสใหม่ให้กับผู้ที่สนใจในอาชีพการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ และการท่องเที่ยวเพื่อชีวิต
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ