โครงการพัฒนากลไกการจัดการภัยพิบัติ อันดามัน และการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน

บันทึกรายงานกิจกรรมของพื้นที่

วันที่ - เวลากิจกรรม - รายละเอียด
27 พ.ค. 2562 เวลา 09:00-15.00 น. น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติเครือข่ายภัยพิบัติเมื่อ 10 มิถุนายน 2562 21:18:53
Project owner
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติ เมื่อ 10 มิถุนายน 2562 21:30:27 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมคณะทำงาน(ครั้งที่ 8)

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

สรุปปิดโครงการ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะทำงาน 12 คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

เพื่อสรุปการดำเนินโครงการ /การจัดทำรายงาน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 10 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงานร่วมกิจกกรม 10 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ประชุม รวบรวมเอกสารที่เสร็จ สรุปปัญหาการการทำงาน หาวิธีการแก้ไขระบบการทำงาน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เอกสารที่ได้ที่ทางโครงการทำนั้นยังได้ไม่สมบูรณ์ ยังขาดเอกสารทางด้านการท่องเที่ยวยังไม่ครบ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

เอกสารโครงการยังไม่ครบ ต้องติดตามส่งให้ครบตามเวลา

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

คณะทำงานเข้าใจตรงกัน ต้องช่วยการท่องเที่ยวเพื่อติดตามเอกสารให้ครบและเสร็จตามเวลาที่กำหนด

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
30 เมษายน 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2562 20:53:09
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติ เมื่อ 2 พ.ค. 2562 00:33:55 น.

ชื่อกิจกรรม : จัดทำรายงาน/สรุปงาน

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

เพื่อการดำเนินดครงการ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะทำงาน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

สรุปงานโครงการ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงาน และ เจ้าหน้าที่ตรวจบัญชี

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ตรวจบัญชี

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เอกสารถูกต้อง

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
2 เมษายน 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2562 20:47:24
แก้ไขโดย อรวรรณ หาญทะเล เมื่อ 25 พ.ค. 2562 14:53:11 น.

ชื่อกิจกรรม : อุปกรณ์สิ้นเปลือง

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

เพื่อการดำเนินดครงการ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะทำงาน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

อุปกรณ์สำนักงานที่ใช้ในการประชุม แะดำเนินโครงการ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงาน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

เพื่อ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีการขับเคลื่อนโครงการ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
20 มีนาคม 2562 เวลา 09:30-15.00 น. น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติเครือข่ายภัยพิบัติเมื่อ 10 มิถุนายน 2562 20:37:56
Project owner
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติ เมื่อ 10 มิถุนายน 2562 21:17:29 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมคณะทำงาน(ครั้งที่ 7)

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

สรุปรายงานความคืบหน้าโครงการพัฒนากลไกการจัดการภัยพิบัติ อันดามัน และการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะทำงาน มาประชุม 10 คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ประชุมคณะทำงาน ความคืบหน้าของโครงการ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 10 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงานเข้าร่วม 10 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

เริ่มประชุม 09.30 น.
และเลิกกิจกรรม 15.00 น.

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประชุมสรุปโครงการฯ ว่าได้ทำกิจกรรมตามที่ได้จัดครบแล้วหรือยังขาดอะไร หรือต้องทำเพิ่มอีกหรือไม่ กิจกรรมการท่องเที่ยวต้องสรุปเอกสารการเงิน เอกสารด้านข้อมูลลงในโปรแกรม 

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

การเก็บข้อมูลด้านการท่องเที่ยวยังขาดการต่อเนื่อง ต้องทำให้เสร็จ ตามเอกสารการเงินส่งมาด้วย

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ต้องเร่งทำข้อมูลสรุปให้ทันตามเวลาที่กำหนด

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
20 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 10.00-15.00น น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 8 มีนาคม 2562 11:15:36
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติ เมื่อ 26 เมษายน 2562 08:23:07 น.

ชื่อกิจกรรม : (ลงพื้นที่)ประชุมร่วมคณะทำงานจังหวัดระนอง ครั้งที่ 2

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

1.เพื่อลดความเสียหายทั้งชีวิตและทรัพย์สินจากภัยที่เกิดขึ้น 2.เพื่อเตรียมพร้อมรับมือกับภัยพิบัติอย่างรู้เท่าทัน

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

เครือข่ายภัยพิบัติจังหวัดระนอง /คณะทำงานเตรียมความพร้อมฯระดับตำบล คณะทำงานโครงการ


รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

เวทีทำความเข้าใจโครงการ เพื่อให้ได้ 1.ได้การจัดทำแผนพื้นที่ 2.ได้กลไกการทำงาน 3.ต้องทราบข้อมูลข้อมูล จากอดีต ปัจจุบัน และอนาคต อย่างชัดเจน 4.ต้องมีการทำงานร่วมกับทุกภาคส่วน และภาคีเครือข่าย 5.ต้องทราบว่ามีพื้นที่เสี่ยงภัย ว่ามีภัยไดบ้าง 6.พื้นที่ปลอดภัย ที่พักผู้ประสบภัย ที่พักผู้อพยพหลบภัย 7.เส้นทางหนีภัย หรือเส้นทางอพยพ 8.ต้องมีปฏิทินภัย 9.ต้องมีแผนที่ทำมือ 10.ต้องมีระบบการสื่อสารที่ดี มีการประสานงานกับใครบ้า 11.มีการเตรียมพร้อมโดยชุมชนเป็นหลักโดยมีการสนับสนุนจาก ปภ.จังหวัด 12.ต้องทราบว่าในพื้นที่มีเครื่องมือที่ช่วยบรรเทาภัยอะไรบ้าง

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงานเตรียมความพร้อมระดับตำบล ระดับอำเภอ ระดับจังหวัด ของจังหวัดระนอง  เครือข่ายภัยภิบัติจังหวัดภูเก็ต คณะทำงานโครงการฯ เจ้าหน้าที่ป้องกันภัยจังหวัด

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1.ทำแผนที่ทำมือในแต่ละอำเภอ 2.จัดทำแผนเตรียมความพร้อม 3.จัดตั้งคณะกรรมการในระดับหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ 4.จัดเก็บข้อมูลภัย 5.จัดตั้งคณะทำงานในระดับตำบล อำเภอ 6.เลือกพื้นที่นำร่อง 7.จัดตั้งคณะกรรมการผู้ประสานงานระดับตำบล อำเภอ 8.มีการวางแผนการทำงานว่าทำอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ ใครเป็นผู้ประสาน 9.จัดระดมความคิดเห็นในระดับตำบล อำเภอ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

พื้นที่นำร่อง ที่ หมู่ที่ 4 ตำบลบางพระเหนือ อำเภอละอุ่น จังหวัดระนอง
จัดมีผู้ประสานงานดังนี้ 1.นายชัย เพิ่มพูน              ประสานงานระดับตำบล 2.นายจรัล คชราช              ประสานงานระดับตำบล 3.นายฉัตรชัย ลาภตำ            คณะทำงาน 4.นายสุชาติ เขินบ้านทวร        คณะทำงาน 5.นายบุญสิทธิ์ ทรงชัย        ประสานงานระดับอำเภอ จัดตั้งคณะทำงาน จัดหาต้นทุน จัดเก็บข้อมูลภัย จัดระดมความคิดเห็น จัดเตรียมความพร้อม จัดตั้งคณะกรรมการในหมู่บ้าน เริ่ม ทำ วันที่ 5 มกราคม 2562 เทศบาลเมืองระนอง อำเเภอมือง จังหวัดระนอง เลือกพื้นที่นำร่อง คือ ตำบลเขานิเวศน์ และตำบลหาดส้มแป้น ผู้ประสานงาน คือ นาย สำราญ ใจดี
แผนงานที่จะทำ คือ 1.จัดเวทีระดับอำเภอ 2.จัดตั้งคณะทำงาน    เดือน ธันวาคม 2561 3.ประสานภาคี          เดือน มกราคม 2562 4.เก็บรวบรวมข้อมูลทั้งหมด 5.จัดตั้งศูนย์ประสานงานระดับอำเภอ
6.อบรมเครื่องมือสื่อสาร  เดือน มกราคม 2562 พื้นที่ อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง เลือกพื้นที่ประสบภัย จัดอบรมแกนนำในระดับตำบล อำเภอ 50 คน โดยใช้วิทยากรในพื้นที่ และขอความร่วมมือจากป้องกันภัยจังหวัดระนองในการให้ความรู้ ซึ่งจะจัดในช่วงเดือน มกราคม 2562   พื้นที่ อำเภอกระบุรี จังหวัดระนอง
ได้เลือกพื้นที่ หมู่ที่ 7 ตำบลลำเลียง อำเภอกระบุรี จังหวัดระนอง เป็นพื้นที่นำร่อง มีแผนที่จะทำดังนี้ คือ 1.จัดเวทีกลุ่มย่อย                  เดือน มกราคม 2562
2.จัดเวทีหลัก อบรมให้ความรู้  เดือน มีนาคม 2562 3.กลุ่มเป้าหมาย 100 คน ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ ป้องกันภัย อปพร. อสม. ภาคีเครือข่าย 4.ซ้อมแผนป้องกันภัย ยกระดับหมู่บ้าน ไปเป็นระดับตำบล พัฒนาคน หาข้อมูลภัย สร้างอาสาในชุมชน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
20 มกราคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2562 20:56:40
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติอันดามัน เมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2562 20:58:57 น.

ชื่อกิจกรรม : ค่าประสานงานฝ่ายเลขาฯ งวดที่ 3 (ปี 2562)

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

1.ติดตามความคืบหน้าโครงการฯ 2.สรุปแนวทางและการดำเนินโครงการต่อไป

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

เลขานุการ

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ค่าตอบแทนฝ่ายเลขาโครงการ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

เลขานุการ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

เก็บเอกสารและประสานงาน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เป็นไปอย่างต่อเนื่อง

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไมมี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
28 พฤศจิกายน 2561 เวลา 09:00-16.00 น. น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 14 ธันวาคม 2561 10:55:03
แก้ไขโดย อรวรรณ หาญทะเล เมื่อ 7 มิถุนายน 2562 14:27:19 น.

ชื่อกิจกรรม : (ลงพื้นที่)ประชุมร่วมคณะทำงานจังหวัดระนอง ครั้งที่ 1

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

1.ทำความเข้าใจโครงการ 2.จัดทำแผนการขับเคลื่อนชุมชนเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

กลุ่มเครือข่ายภัยพิบัติ จังหวัดระนอง หน่วยงานราชการ ป้องกันสาธารณภัย จังหวัดระนอง คณะทำงาน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

เนื่องจากจังหวัดระนองมีภูมิประเทศที่คล้ายกับจังหวัดพังงาพซึ่งพื้นที่ที่เป็นทะเล เคยเกิดสึนามิ พื้นที่บริเวณภูเขา ก็มีภัยดินสไลด์ เลื่อนไหล น้ำป่าไหลหลาก ส่วนที่ราบก็จะมีน้ำท่วม และมีรอยเลื่อนระนอง วันนี้ต้องได้
1.กลไกการทำงาน 2.ต้องได้ข้อมูล ทราบอดีต ปัจจุบัน และอนาคต 3.ต้องรู้ว่ามีพื้นที่เสี่ยงภัยตรงไหนบ้าน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 62 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

กลุ่มเครือข่ายภัยพิบัติ จังหวัดระนอง กลุม่เครือข่ายภัยพิบัติ จังหวัดภูเก็ต 5 คน ป้องกันสาธารณภัย จังหวัดระนอง ตัวแทนอำเภอละอุ่น ตัวแทเทศบาลเมืองระนอง ตัวแทนอำเภอกะเปอร์

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

เวทีทำความเข้าใจโครงการ โดยเราจะกลับไปทำในพื้นที่เราโดยมีการประสานงานในระดับตำบล หมู่บ้าน เลือกพื้นที่นำร่อง

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เวทีทำความเข้าใจโครงการ โดยเราจะกลับไปทำในพื้นที่เราโดยมีการประสานงานในระดับตำบล หมู่บ้าน เลือกพื้นที่นำร่องให้เป็นรูปธรรมโดยที่ อำเภอละอุ่น เลือกพื้นที่นำร่องคือ ม.4 ต.บางพระเหนือ อ.ละอุ่น จ.ระนองซึ่งมีผู้ประสานงานคือ1.นายจรัล คชราช 2.นายบุญสิทธิ์ ทรงชัย 3.นายชัย เพิ่มพูล 4.นายฉัตรชัย สาระกำ เมื่อมีคณะทำงานแล้ว ต้องมีการเก็บข้อมูล จัดเวทีค้นหาต้นทุน ข้อมูลภัย จัดระดมความคิดเห็น เตรียมหาความพร้อม จัดตั้งคณะกรรมการในหมู่บ้าน ในวันที่ 5 มกราคม - 5 มีนาคม 2562 เทศบาลเมืองระนอง เลือกพื้นที่ ต.เขานิเวศน์ อ.เมือง จ.ระนอง และหาดส้มแป้น อ.เมือง จ.ระนอง โดยมี นายสำราญ ใจดี เป็นผู้ประสานงานหลัก ด้วยวิธีการ จัดเวทีระดับอำเภอ พัฒนาทีมทำงาน ประสานภาคี รวบรวมข้อมูล อบรมการใช้เครื่องสื่อสาร ทบทวนเวทีสร้างการเรียนรู้ เพิ่มพื้นที่ตำบล และถอดบทเรียน จัดในช่วง ธันวาคม 2561 - มกราคม 2562 อำเภอกะเปอร์ ลงพื้นที่ปฏิบัติการทุตำบลโดยการกระจารทั่วทุกพื้นที่ เพื่่อให้ทุกคนเรียนรู้ รับรู้เรื่องภัยโดยทั่วกัน ซึ่งมีผู้ประสานงาน คือ 1.ว่าที่ร้อยตรี จักรพงศ์ ริ่มไทยสงค์ 2.นาดำรงค์ นวลหิงค์ 3.นายคณิต พรหมบุตร 4.นายจำเนียร สาลี 5.นายคำแดง พรมดาว โดยวิธีการ  1.จัดเวทีกลุ่มย่อย จัดประชุมระดัยตำบล แต่งตั้งคณะกรรมการระดับตำบลจัดทำแผนที่เสี่ยงภัยระดับตำบล  2.จัดเวทีหลัก จัดอบรมให้ความรู้ในพื้นที่เสี่ยงภัย หมู่ที่ 7 บ้านสองแพรก ต.ลำเลียง แต่งตั้งคณะทำงาน/กรรมการระดับหมุ๋บ้าน ตำบล อำเภอ จัดทำแผนที่เสี่ยงภัยระดับหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ และทำการฝ฿ก้อมแผนการอพยพในพื้นที่เสี่ยงภัย โดยได้รับการสนับสนุนจากทุกภาคส่วน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

อาสาสมัครในพื้นที่/ประชุมลงพื้นที่นำร่อง

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
26 พฤศจิกายน 2561 เวลา 09:00-16:30 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2561 12:51:23
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติ เมื่อ 1 พ.ค. 2562 11:41:33 น.

ชื่อกิจกรรม : (ลงพื้นที่)ประชุมร่วมคณะทำงานจังหวัดพังงา ครั้งที่ 2 ตำบลนาเตย

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

1.ชี้แจ้งผลการดำเนินโครงการเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติโดยชุมชน 2.การจัดทำแผนเตรียมความพร้อมป้องกันภัยพิบัติในพื้นที่

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ชาวบ้านในพื้นที่เสี่ยงภัยตำบลนาเตย 30คน คณะทำงาน 5 คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

เวทีทำความเข้าใจโครงการ จัดทำแผนเตรียมความพร้อมป้องกันภัยพิบัติระดับโดยชุมชน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 37 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

เครือข่ายภัยพิบัติจังหวัดพังงา ต.นาเตย และชาวบ้านในพื้นที่เสี่ยงตำบลนาเตย 34 คน คณะทำงาน 3 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

จัดประชุมเพื่อสร้างความเข้าใจในการจัด เพื่อให้ทุกคนเข้าใจตรงกันว่าเราจัดทำขึ้นเพื่อเตรียมพร้อมรับมือกับภับทุก ๆ อย่าง เป็นการสร้างให้ทุกคนมีความพร้อมที่จะช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้ทุกเมื่อและรักษาให้ตนเองปลอดภัยและมีชีวิตรอดจากภัยต่าง ๆ ได้

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกิดกระบวนการการจัดตั้งคณะกรรมการเตรียมความพร้อมในตำบล และวางแผนการจัดการแผนภัยพิบัติระดับตำบล

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
20 พฤศจิกายน 2561 เวลา 09:00-16:30 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 26 พฤศจิกายน 2561 11:53:51
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติอันดามัน เมื่อ 8 ธันวาคม 2561 21:54:20 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมคณะทำงาน(ครั้งที่ 6)

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

1.ชี้แจ้งผลการดำเนินการ 2.การดำเนินงานต่อไป

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะทำงาน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ประชุมคณะทำงาน คาวมคืบหน้าของโครงการ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 11 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงาน 11 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ประชุมรายงานความคืบหน้าโครงการภัยพิบัติ ในการลงพื้นที่ในตำบลต่างๆ ในจังหวัดพังงา ตอนนี้ลงพื้นที่ ตำบลรมณีย์ ตำบลบางไทร-ตำตัว ตำบลทุ่งมะพร้าว ตำบลนบปริง ตำบลคลองเคียน และในเดือนนี้เป้าหมาย 1 ตำบล ว่าจะลงพื้นที่ตำบลนาเตย ยังเหลือ 2 ตำบล เป้าหมายว่าจะลงพื้นที่จังหวัดระนอง นัดประชุมกับเครือข่ายภัยพิบัติ เป็นวันที่ 28 นี้ การท่องเที่ยวชุมชน มีการจัดทำเส้นทางท่องเที่ยวในตำบลบางม่วง(หมู่บ้านทับตะวัน) ในส่วนหมู่บ้านนำ้เค็มนั้นจัดทำการสำรวจห้างร้านต่างๆ เพื่อทำเส้นทางท่องเที่ยวในหมู่บ้าน ส่วนอีก 2พื้นที่คือ ท่าใหญ่ กับหินลาด นั้น จะลงพื้นที่เพื่อประชุมทำการสำรวจเส้นทางท่องเที่ยว ช่วงบ่ายมีการสรุปงบประมาณที่ใช้จ่ายและจะดำเนินงานต่อไปอย่างไร งานล่าช้ากว่าที่กำหนดเนื่องจากความไม่พร้อมทั้งทีมทำงานและในพื้นที่จังหวัดเนื่องจากกำหนดการอาจมีงานอื่นแทรกบ้าง แต่จะสรุปงานให้ได้ทุกพื้นที่ตามกำหนด

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เข้าใจและดำเนินการต่อไป

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

เวลางานไม่ตรงกัน/พยายามเคลียร์เวลาให้ตรงกัน

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
30 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2561 11:53:41
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติ เมื่อ 2 พ.ค. 2562 00:32:25 น.

ชื่อกิจกรรม : (ลงพื้นที่)ประชุมร่วมคณะทำงานจังหวัดภูเก็ต ครั้งที่ 2

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

1.ทำความเข้าใจโครงการ 2.จัดทำแผนการขับเคลื่อนชุมชนเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

เครื่อข่ายภัยพิบัติจังหวัดภูเก็ต 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

เวทีทำความเข้าใจโครงการ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 52 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ชาวบ้านในพื้นที่เสี่ยงภัย เครือข่ายภัยพิบัติจังหวัดภูเก็ต 43 คณะทำงาน  3 คน พี่เลี้ยงในพื้นที่ 6 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

การจัดประชุม09.00 น.โดยป้องกันภัยจังหวัดภูเก็ต เล็งถึงปัญหาว่าภัยพิบัติเป็นสิ่งสำคัญต่อชีวิตและทรัพย์สินมาก ต้องมีการทำงานเป็นทีม ต้องมีการเข้าใจวิธีการ หลักการทำงาน ภัยมีหลากหลาย แต่เราต้องเข้าใจและรู้ทุกอย่างทั้งก่อนเกิดภัย ขญณะเกิดภัย หลังเกิดภัย เราต้องมีข้อมูลคน ข้อมูลคนติดเตียง ผู้พิการ เดิกทารก ผู่ที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ต้องเก็บข้อมูลอย่างละเอียด ต้องรู้ว่าเรามีเครื่องมือไดบ้างที่สามารถเข้าไปทำงานในการช่วยเหลือด้านภัยพิบัติ เช่น เครื่องเลื่อย มีดพร้า รถ ยา คน ความพร้อม ฯลฯ ช่วงบ่ายจัดกลุ่มวาดแผนที่ทำมือของแต่ละอำเภอ จัดหาจุดเสี่ยงภัย จุดปลอดภัย เส้นทางหลบหลีกหรือเส้นทางอพยพเวลาเกิดภัย จัดตั้งคณะทะงานระดับตำบลและระดับอำเภอ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จัดโครงสร้างในพื้นที่/จัดต้้งคณะกรรมการภัยพิบัติจังหวัดภูเก็ต มีการจัดเก็บข้อมูลในพื้นที่รับผิดชอบในระดับตำบล อำเภอ และรวบรวมในระดับจังหวัด
มีการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบกันในระดับตำบล อำเภอ และจังหวัด

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
20 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00-15:30 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 8 พฤศจิกายน 2561 09:56:48
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติ เมื่อ 7 เมษายน 2562 19:30:35 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมคณะทำงาน(ครั้งที่ 5)

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

1.ชี้แจ้งผลการดำเนินโครงการเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติโดยชุมชน 2.การจัดทำแผนเตรียมความพร้อมป้องกันภัยพิบัติในพื้นที่

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะทำงาน 12 คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ประชุมคณะทำงาน ความคืบหน้าของโครงการ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงาน 12 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ประชุมความนคืบหน้าของโตรงการ ลงพื้นที่ จัดทำแผนงานภัยพิบัติโดยชุมชน ที่ผ่านมาในชุมชนคลองเคียน ได้รับความสนใจเป็นอย่างดี ในพื้นที่มีคนสนใจในเรื่องภัยพิบัติใกล้ตัวกันมาก ทั้งเรื่องไฟป่า ดินสไลด์ ตลอดถึงสึนามิ เพราะเป็นพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบเหมือนกัน ทั้งนี้มีความเข้าใจในตัวโครงการบ้างแล้วเพราะแกนนำเครือข่ายภัยพิบัติจังหวัดพังงา และเคยมีหน่วยงานเอกชนเข้ามาทำโครงการภัยพิบัติเหมือนกัน โดยจะมีทีม อปพร.ในพื้นที่อยู่บ้างแล้ว การประชุมจึงมีการแลกเปลี่ยนทำความเข้าใจ และจัดตั้งโครงสร้างคณะกรรมการ การรับมือภัยพิบัติโดยชุมชน มีการระบุหัวหน้าาฝ่ายต่างๆ และทางชุมชนจะกลับไปเติมชื่อทีมงานให้รียบร้อยก่อน แล้วจะขอนัดประชุมชนในครั้งต่อไป ในส่วนของโครงการการท่องเที่ยวฯนั้น ยังไม่มีความคืบหน้า แต่จะขอโอนงบประมาณที่คงเหลือใน การศึกษาดูงานที่กระบี่ไปสนับสนุนพื้นที่โครงการ ที่ประชุมเห็นด้วย ในส่วนของงบประมาณได้มีการโอนเงินงวดที่ 2 เป็นที่เรียบร้อยแล้ว จึงขอคืนงบประมาณในส่วนที่ยืมโครงการอื่น ที่ประชุมเห็นด้วย แต่ให้ทำบัญทึกความเข้าใจไว้ด้วย เพื่อจะได้รู้ว่างบในส่วนไหน และมีค่าผู้ตรวจบัญชีด้วย ประมาณ 8,000 กว่าบาท ที่ประชุมว่าในครั้งต่อไปจะมีอีกมัย มีอีกคิดตามงบประมาณที่ได้ใช้จ่าย พื้นที่จังหวัดระนองขอนัดประชุมภัยพิบัติครั้งที่ 2 แต่ยังไม่ได้กำหนดวันเวลา ให้กำหนดล่วงหน้าเพื่อจะได้มีเวลาตรงกัน แล้วจะบอกอีกครั้งเมื่อระนองกำหนดวันมา

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานเข้าใจเป็นอย่างดี

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

การดำเนินโครงการล่าช้ามาก /ต้องหาเวลาและลงพื้นที่

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
28 กันยายน 2561 เวลา 09:00-16:30 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 15 พฤศจิกายน 2561 11:52:37
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติ เมื่อ 2 พ.ค. 2562 00:33:07 น.

ชื่อกิจกรรม : (ลงพื้นที่)ประชุมร่วมคณะทำงานจังหวัดพังงา ครั้งที่ 2 ตำบลคลองเคียน

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

1.ทำความเข้าใจโครงการ 2.จัดทำแผนการขับเคลื่อนชุมชนเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะทำงาาน 5 คน แกนนำและชาวบ้านในพื้นที่ 35 คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

เวทีทำความเข้าใจโครงการ จัดหาสมาชิกและทีมงาน จุดชะนวนการเกิดภัย ต้องเป็นที่พึ่งของคนอื่นได้ การรู้แจ้งเรื่องภัยที่รู้จริง (ที่ชาวบ้านเชื่อ) ความเสี่ยงภัย คณะทำงานต้องขยับเรื่องดังนี้แต่งตั้งคณะทำงาน มีการจัดเก็บข้อมูล สังเคราะห์ข้อมูล จัดทำแผน ต้องมีเครื่องมือ และคนร่วมทีม

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงาน 5 คน แกนนำและชาวบ้านในพื้นที่ 25 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

โครงการการจัดทำแผนการขับเคลื่อนชุมชนเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติโดยชุมชน เป็นแนวคิดว่า " ภัยพิบัติเป็นเรื่องที่ป้องกันและบรรเทาได้ ถ้ามีการเตรียมความพร้อมที่ดี "  ได้นำแนวคิดการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยอาศัยชุมชนเป็นฐานมาใช้ เพื่อให้ชุมชน หมู่บ้านมาอยู่ในพื้นที่เสี่ยงภัย มีความรู้ความเข้าใจถึงภัยในท้องถิ่น และตระหนักถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วมในการจัการภัย แนวคิดในการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยอาศัยชุมชนเป็นฐาน เป็นการศูนย์กลางในการดำเนินการป้องกัน แก้ไข บรรเทา ฟื้นฟูจากภัยพิบัติ โดยใช้ทรัพยากรและบุคลากรในชุมชน มีส่วนร่วมในการ ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมวางแผน ท้งในด้านการแจ้งเตือนภัย การอพยพประชาชนอย่างเป็นระบบ และการฝึกซ้อมแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของชุมชน ลดความเสี่ยงภัยของชุมชนและเพิ่มขีดความสามารถให้คนในชุมชน เพิ่มทักษะโดยการฝึกปฏิบัติให้แก่คนในชุมชน สามารถรับมือกับภัยพิบัติด้วยตนเอง ชุมชนเข้ามามีบทบาทและมีส่วนร่วมในการ ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมวางแผน ทั้งในด้านการแจ้งเตือนภัยการอพยพประชาชนอย่างเป็นระบบ และการฝึกซ้อมแผนป้องกันภัย ในพื้นที่ชุมชนคลองเคียนเคยได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์สึนามิ หลังจากนั้นได้มีองค์กรเอกชนเข้ามาให้การสนับสนุนตั้งอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน อปพร. เพื่อให้ชุมชนช่วยเหลือตนเองได้ แต่การดำเนินการไม่ต่อเนื่อง จึงต้องมีการทำแผนเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติ ทางคณะทำงานโครงการฯจะเข้ามรเป็นพื่เลี้ยงช่วยดำเนินการและประสานงานกับหน่วยงาน เช่นประสานงานกับปภ.จังหวัดในการให้ความรู้เรื่องภัยและอบรมการกู้ภัยเบื้องต้น  ทั้งนี้ ในชุมชนต้องมีขั้นตอนในการดำเนินการ 1. สถานะการณ์ในพื้นที่ 2.สิ่งที่มี 3.สิ่งที่ต้องทำ  สถานะการในพื้นที่/สภาพทั่วไปของตำบลคลองเคียน มีอะไรบ้าง แผ่นดินไหว/ลมพายุ เสียเป็นส่วนใหญ่ น้ำทะเลหนุนสูง ดินสไลด์ใน ม.7 ม.8 ในสวนยางทำให้ต้นยางเสียหาย  ลมพายุ เรือล่ม ไฟ้ไหมลามสวน ในเดือนท่ีผ่านมานั้น พายุหอบเอาหลังคาบ้านไปหลายหลัง ทำให้ทาง อบต.คลองเคียน ช่วยเหลือกระเบื้องมุงหลังคาให้กับชาวบ้าน  ในเหตุพายุอาจมีการปรกาศล่วงหน้าได้ แต่ในสภาวะดินสไลด์และเหตุนำ้ทะเลหนุนไม่มีประกาศล่วงหน้าทำให้มีความเสียหายและส่งผลกระทบกับการใช้ชีวิตของคนในชุมชน เป้าหมายของโครงการ คือการรู้เท่าทันต่อสถานการณ์การเกิดภัย ความเสี่ยง สิ่งสำคัญ คือ อาสาสมัคร/คณะทำงานโครงสร้าง ข้อมูลประชากรชุมชน ความรู้เดิมของทีมงาน การปรับเพิ่มคณะทำงาน การจัดทำข้อมูลในพื้นที่ตำบล เพื่อสังเคราะห์ข้อมูลจัดทำแผนภัยพิบัติ การเก็บข้อมูลเพื่อจัดทำแผนเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติ โครงสร้างคณะทำงานกรรมการศูนย์เตรียมความพร้อมป้องกันภัยพิบัติตำบล มี ประธานศูนย์ฯ รองประธาน 2 คน  ที่ปรึกษา 2 คน เลขานุการ เหรัญญิก ฝ่ายต่างๆ หัวหน้าฝ่ายเฝ้าระวัง หัวหน้าฝ่ายจราจร หัวหน้าฝ่ายอพยพ หัวหน้าฝ่ายปฐมพยาบาล หัวหน้าฝ่ายครัวกลาง ระดมความคิดเห็นคนเข้าเป็นอาสาสมัคร

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เข้าใจในโครงการ/มีโครงสร้างคณะกรรมการศูนย์เตรียมความพร้อม

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ต้องการให้ผู้ที่มีจิตอาสาเข้ามาร่วมทำงานด้วย

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
20 กันยายน 2561 เวลา 09:00-15:30 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 8 พฤศจิกายน 2561 09:28:55
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติอันดามัน เมื่อ 8 ธันวาคม 2561 21:31:05 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมคณะทำงาน(ครั้งที่ 4)

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

1.ติดตามความคืบหน้าโครงการฯ 2.สรุปแนวทางและการดำเนินโครงการต่อไป

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะทำงาน 12 คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

จัดประชุมคณะทำงาน ความคืบหน้าของโครงการ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 12 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงาน 11 คน ทีมงานในพื้นที่ 1 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ประชุมความคืบหน้าของโครงการภัยพิบัติ เนื่องจากต้องยืมงบประมาณการดำเนินโครงการจากส่วนอื่น จึงต้องขอความเห็นในที่ประชุม ที่ประชุมให้ดำเนินการได้ แต่เมื่องบสนับสนุนได้โอนมาแล้ว ก็ให้ทำบันทึกคืนเงินทันที ถามเรื่องงบประมาณ และผลการตรวจเอกสารการเงิน ว่าด้วยได้ส่งตรวจไปแล้วแต่ในพื้นที่จังหวัดพังงาไม่เข้าใจการตรวจบัญชีในโครงการ จึงต้องส่งไปให้ที่ สจรส.ส่งตรวจให้ และกำลังดำเนินการอยู่ เมื่อตรวจเรียบร้อยแล้วจะรายงานอีกที การลงพื้นที่ว่าด้วยในเดือนนี้มีพื้นที่ ตำบลคลองเคียน ได้นัดวันประชุมเป็นที่เรียบร้อยแล้ว วันที่ 22 นี้ ขอเชิญคณะทำงานเข้าร่วมด้วย สถานที่ เป็นห้องประชุม อบต.คลอฃเคียน การท่องเที่ยวโดยชุมชน มีการดำเนินการเส้นทางการท่องเที่ยวโดยมีการลงพื้นที่ร่วมกับชาวบ้านมอแกลน ทำเส้นทางแนะนำการท่องเที่ยวชุมชน ขณะนี้ในพื้นที่ชุมชนน้ำเค็มได้จัดทำเป็นที่เรียบร้อยแล้ว แต่ยังมีรายละเอียดข้อมูลชุมชนในบ้างส่นประกอบด้วย เช่น ร้านค้า แหล่งที่พัก จุดพักผ่อน เป็นต้น จะนำเสนอในครั้งหน้า

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีความคืบหน้าของโครงการ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไมมี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
20 สิงหาคม 2561 เวลา 09:00-15:30 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 7 พฤศจิกายน 2561 14:30:49
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติอันดามัน เมื่อ 8 ธันวาคม 2561 21:24:00 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมคณะทำงาน(ครั้งที่ 3)

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

1.ติดตามความคืบหน้าโครงการฯ 2.สรุปแนวทางและการดำเนินโครงการต่อไป

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะทำงานโครงการทั้ง 12คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ประชุมคณะทำงาน ความคืบหน้าของโครงการ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 12 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงานโครงการ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

เรื่องงบประมาณที่ใช้จ่ายในการดำเนินการประชุมนั้น อาจจะไม่ตรงตามที่ได้กำหนดในโครงการได้ ไม่จำเป็นที่จะต้องตรงตามที่กำหนด  ในบางเรื่องที่ยังคงเหลืองบประมาณ ขอความเห็นชอบจากที่ประชุมว่า ให้ใช้ในหมวดอื่นต่อไป เช่น การศึกษาดูงานท่องเที่ยวชุมชนนั้น ก็นำงบประมาณที่เหลือใส่ในหมวดอุดหนุนพื้นที่ก็ได้ หรือแล้วแต่ว่าในหมวดอื่นขาด นไส่วนนี้มาเสริมก็ได้ แต่ต้องมีการรายงานในที่ประชุมทุกคีั้งในเรื่องการใช้งบประมาณ ทั้งนี้ความคืบหบน้าของโครงการภัยพิบัตินั้น มีการดำเนินการลงพื้นที่เสี่ยงในจังหวัดพังงาไปแล้ว 3 พื้นที่ ในเดือนที่ผ่านมา คือ ตำบลนบปริง ตำบลรมณี ตำบลตำตัว และตำบลทุ่งมะพร้าว ยังมีพื้นที่อีก คือ ตำบลบางเตย ตำบลนาเตย ตำบลคลองเคียน ซึ่งจะมีการประสานงานลงพื้นที่กับทางแกนนำอีกครั้ง ในแต่ละพื้นที่มีความพร้อมไม่เหมือนกัน ทั้งนี้จึงขอให้แต่ละพื้นที่ทำการสำรวจข้อมูลเสี่ยงภัยก่อน และจัดทำปฏิทินภัยในพื้นที่นั้นๆ พื้นที่ไหนมีเครื่องมีการช่วยเหลือเบื้องต้นแล้วให้รายงานด้วย เช่นในพื้นที่ รมณีย์ บอกว่าพื้นที่ของตนเคยได้รับ มาตราวัดปริมาณนำ้ฝนมาแล้ว แต่ขาตั้งเกิดการเสียหาย ทางชุมชนรับว่าจะกลับซ่อมบำรุง ในพื้นที่ทุ่งมะพร้าวก็มีเหมือนกันแต่เป็นของกรมป่าไม้ในพื้นที่่ ซึ่งมีเจ้าหน้าดูแลอยู่แล้ว แต่ละพื้นที่มีพื้นฐานไม่เท่ากัน ในพื้นที่รมณีย์ ตำตัวและนบปริง ต้องจัดการตั้งแต่ทำแบบสำรวจภัย แต่ในพื้นที่ทุ่งมะพร้าว นั้นมีข้อมูลอยู่แล้วจึงจะมีการจัดทำแผนเตรียมความพร้อมเลย คือมีการตั้งทีมทำงานภัยพิบัติในพื้นที่ และมีการตั้งศูนย์เตรียมความพร้อมป้องกันภัยพิบัติ ่ พื้นที่คลองเคียนได้เคยมีหน่วยงานเข้ามาสนับสนุนป้องกันภัยโดยชุมชนหลังเหตุการณ์สึนมิเมือ่ปี47 แต่ก็ได้ขาดการต่อเนื่อง ในพื้นที่ยังมีทีมทำงานอยู่ แต่ขาดการต่อเนื่องแล้วจึงต้องมีการทำข้อมูลสำรวจภัยก่่่อน และจัดตั้งคณะทำงานฝ่ายต่างๆ เบื้องต้นก่อน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เข้าใจและในดำเนินการต่อไป

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
4 สิงหาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2562 20:38:40
แก้ไขโดย อรวรรณ หาญทะเล เมื่อ 21 มิถุนายน 2562 16:54:37 น.

ชื่อกิจกรรม : หนุนเสริมการปฎิบัติการในพื้นที่ ชุมชนท่าใหญ่ ครั้งที่1

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

1.ทำความเข้าใจโครงการ 2.จัดทำแผนการขับเคลื่อนชุมชนเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ชาวบ้าน ตัวแทนสมาชิก ชาวประมงพื้นบ้าน จัดทำข้อมูล จัดสำรวจเส้นทางการท่องเที่ยว มีการรวบรวมทุนเพื่อทำกิจกรรมร่วมกัน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ประชุมสร้างความเข้าใจ จัดทแผนงาน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ชาวบ้าน คณะทำงาน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ประชุมสร้างความเข้าใจ ทำแผนที่ทำมือ สำรวจเส้นทางการท่องเที่ยว จัดตั้งกองทุน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เข้าใจถึงการท่องเที่ยวที่ต้องมีความยั่งยืน คือ ต้องเลือกนักท่องเที่ยว ต้องอนุรักษ์ทรัพยากรที่มีอยู่ให้ยาวนานที่สุด เช่น กุ้ง หอย ปู ปลา ป่าโกงกาง ป่าชายเลน เพื่อให้เกิดสมดุลทางธรรมชาติทางทะเล ต้องสร้างวิถีชาวเลแบบดั้งเดิม จัดบ้านพักสำหรับนักท่องเที่ยวกินอยู่แบบชาวเลด้วยความสะอาดและปลอดภัย

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
3 สิงหาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2562 20:36:38
แก้ไขโดย อรวรรณ หาญทะเล เมื่อ 21 มิถุนายน 2562 16:34:46 น.

ชื่อกิจกรรม : หนุนเสริมการปำิบัติการในพื้นที่ชุมชนบ้านหินลาดครั้งที่1

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

1.ชี้แจ้งผลการดำเนินการ 2.การดำเนินงานต่อไป

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

-ตัวแทนแต่ละชุมชนที่ร่วมโครงการ ชุมชน  30 คน -คณะทำงานโครงการ 10 คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

สามารถนำข้อมูล/ เข้าใจวิธีการ/การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน -สามารถค้นหาจุดเด่น เพื่อนำเสนอเป็นจุดท่องเที่ยว

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ชาวบ้าน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ประชุมสร้างความเข้าใจกับสมาชิกในโครงการ จัดทำข้อมูล สำรวจเส้นทางการท่องเที่ยวโดยสมาชิกโครงการ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เข้าใจในกระบวนการการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ มีการเลี้ยงหอย ปูปลา การหากุ้งแบบโบราณ สามารถสร้างให้การท่องเที่ยวยั่งยืนโดยที่ไม่มีการทำลายสิ่งแวดล้อม สร้างวิถีการหาปลาแบบชาวบ้าน ต้องมีการเลือกนักท่องเที่ยวที่มาแล้วสามารถบอกต่อเอรื่องราวชาวเลได้

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
2 สิงหาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2562 20:34:35
แก้ไขโดย อรวรรณ หาญทะเล เมื่อ 21 มิถุนายน 2562 16:23:30 น.

ชื่อกิจกรรม : หนุนเสริมการปฎิบัติการในพื้นที่ ชุมชนทับตะวัน ครั้งที่1

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

1.ชี้แจ้งผลการดำเนินการ 2.การดำเนินงานต่อไป

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

1.ครูภูมิปัญญาด้านต่างๆ 2.ทีมเรือ 3.ทีมสตรี 4.ทีมเยาวชน/คนรุ่นใหม่ 5.ทีมไกค์ชุมชน 6.ทีมโฮมสเตย์ 7.ทีมอาหาร

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

เนื้อหา 1.ทบทวน/สรุปบทเรียนที่ผ่านมา 2.ติดตามสถานการณ์แต่ละประเด็นงาน 3.วางแผนงานท่องเที่ยว/วางแผนงานอนุรักษ์

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ชาวบ้าน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ประชุม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เข้าใจ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
1 สิงหาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2562 20:31:25
แก้ไขโดย อรวรรณ หาญทะเล เมื่อ 20 มิถุนายน 2562 15:53:50 น.

ชื่อกิจกรรม : หนุนเสริมการปฎิบัติการในพื้นที่ ชุมชนน้ำเค็มครั้งที่2

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

1.การดำเนินงานต่อไป

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

-ทีมประมง -ทีมเยาวชน -ทีมแม่สตรี -และผู้สนใจ

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

-ทำความเข้าใจทีมท่องเที่ยวชุมชนโครงการ -เพิ่มกำหนดจุดน่าสนใจ -วางแผนงาน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 15 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

เยาวชน แกนนำชุมชนมอแกลนบ้านน้ำเค็มที่เป็นคณะทำงาน ประกอบด้วย ผู้รู้ ทีมเก็บข้อมูล/สำรวจ ทีมหนุนเสริมการจัดทำข้อมูล

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ประชุมแนวทางการจัดทำข้อมูลมอแกลนพาเที่ยวบ้านน้ำเค็ม
- ประเมินจุดท่องเที่ยวกับเนื้อหาที่ได้จัดเก็บข้อมูลมา - จำแนกข้อมูล พื้นที่ธรรมชาติตามวิถีชีวิต ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม สังคมวิถีความเป็นอยู่ กระบวนการแก้ปัญหาและพัฒนาชุมชน เพื่อใช้สำหรับกลุ่มนักท่องเที่ยวที่มีระดับความต้องการด้านความรู้และสันทนาการแตกต่างกัน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สถานที่ที่จัดนำเที่ยว มีจุดเช็คอินที่น่าสนใจ จัดทีมและคณะทำงานชัดเจน จัดปราชน์สำหรับแนะนำการท่องเที่ยวอย่างชัดเจน จัดการท่องเที่ยวเชื่อมโยงกับบ้านทับตะวัน จัดการท่องเที่ยวแบบวิถีชาวเลโดยไม่ทำลายทรัพยากรเดิม

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
28 กรกฎาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยอรวรรณ หาญทะเลอรวรรณ หาญทะเลเมื่อ 20 ธันวาคม 2561 11:20:32
Project owner
แก้ไขโดย อรวรรณ หาญทะเล เมื่อ 7 มิถุนายน 2562 16:49:13 น.

ชื่อกิจกรรม : อบรมการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

1.ทำความเข้าใจโครงการ 2.จัดทำแผนการขับเคลื่อนชุมชนเพื่อการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

กลุ่มเป้าหมายจาก
- ชุมชนบ้านน้ำเค็ม ต.บางม่วง อ.ตะกั่วป่า จ.พังงา - ชุมชนทับตะวัน บ้านบางสัก ต.บางม่วง อ.ตะกั่วป่า จ.พังงา - ชุมชนบนไร่ บ้านบางสัก ต.บางม่วง อ.ตะกั่วป่า จ.พังงา - ชุมชนท่าใหญ่ บ้านท่าปากแหว่ง ต.โคกกลอย อ.ตะกั่วทุ่ง จ.พังงา - ชุมชนหินลาด บ้านหินลาด ต.ท้ายเหมือง อ.ท้ายเหมือง จ.พังงา

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงาน ตัวแทนพื้นที่โครงการ 4 พื้นที่

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

สัมมนาเชิงปฏิบัติ - ฟังบรรยายสถานการณ์ท่องเที่ยวชุมชนในประเทศไทย - แลกเปลี่ยนสถานการณ์และความเป็นไปได้ของการท่องเที่ยวชุมชน - เรียนรู้เครื่องมือการทำแผนที่ท่องเที่ยวชุมชนในฝัน - เรียนรู้เครื่องมือการทำปฏิทินการท่องเที่ยวชุมชน - เรียนรู้หลักสูตรบริหารจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

3.5.1 วิเคราะห์การท่องเที่ยวที่ชาวเลมองเห็นและเป็นไปได้ 3.5.2 ทำแผนที่มานุษยวิทยาเดินดิน(แผนที่ชุมชน)ได้ 3.5.3 กำหนดจุดน่าเที่ยว-เรียนรู้ในชุมชนได้ 3.5.4 ทำปฏิทินการท่องเที่ยวชุมชนได้ 3.5.5 ทำตารางบริหารจัดการท่องเที่ยวชุมชนได้

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
22 กรกฎาคม 2561 เวลา 09:00-15:30 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 14 พฤศจิกายน 2561 14:33:53
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติอันดามัน เมื่อ 8 ธันวาคม 2561 21:21:32 น.

ชื่อกิจกรรม : (ลงพื้นที่)ประชุมร่วมคณะทำงานจังหวัดพังงา ครั้งที่ 2 ตำบลทุ่งมะพร้าว

  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

1.ทำความเข้าใจโครงการ 2.จัดทำแผนการขับเคลื่อนชุมชนเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ทีมทำงาน 5 คน แกนนำและชาวบ้านในพื้นที่ 15 คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

เวทีทำความเข้าใจโครงการ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ทีมทำงาน 3 คน แกนนำและชาวบ้านในพื้นที่ 16 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

โครงการจัดทำแผนการขับเคลื่อนชุมชนเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติ ว่าด้วยในชุมชนทุ่งมะพร้าวเป็นหนึ่งในเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันที่มีแกนนำเข้าร่วมประชุมอย่างต่อเนื่อง จุดสำคํยของโครงการฯ คือเน้นให้ชาวงบ้านในพื้นที่มีส่วนร่วม ร่วคิด ร่วมทำ ร่วมวางแผน ทั้งนี้จะช่วยลดความเสี่ยงภัยในชุมชน และเพิ่มขีดความสามารถให้กับคนในชุมชน จะเน้นเรื่องฝึกอบรมกู้ภัย ในพื้นที่มีต้นทุนทีมทำงานอยู่แล้ว และยังมีอุปกรณ์กู้ภัย

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีข้อมูลประชากร  มี

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
20 กรกฎาคม 2561 เวลา 09:00-15:30 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 28 ตุลาคม 2561 13:22:28
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติอันดามัน เมื่อ 8 ธันวาคม 2561 22:08:31 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมคณะทำงาน(ครั้งที่ 2)

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

1.ชี้แจ้งผลการดำเนินการ 2.การดำเนินงานต่อไป

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะทำงานโครงการฯทั้ง 13 คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

จัดประชุมคณะทำงาน สรุปความคืบหน้าของโครงการจัดการภัยพิบัติและการท่องเที่ยว และฝ่ายเลขารายงานการส่งตรวจเอกสารการเงิน 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 13 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงาน 12 คน ทีมงานในชุมชน 1 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

การประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินการ และการใช้งบประมาณในการประชุมแต่ละครั้ง งบประมาณในการดำเนินโครงการต่อไป เนื่องจากมีการนัดประชุมลงพื้นที่ทำแผนเตรียมความพร้อมฯ ในพื้นที่จังหวัดพังงา เพื่อให้การดำเนินโครงการเป็นไปอย่างต่อเนื่อง หากงบประมาณในการดำเนินการ ไม่เพียงพอให้ยืมเงินสำรองจ่ายจากส่วนอื่นก่อนเพื่อโครงการจะได้ดำเนินการอย่างต่อเนื่องต่อนื่อง มีการเห็นชอบในที่ประชุม ในส่วนงานดำเนินการโครงการท่องเที่ยวชุมชนจะมีการจัดอบรมการจัดการท่องเที่ยวชุมชน โดยผู้เข้าร่วมประชุมว่าจะเชิญ 4 พื้นที่ที่เข้าร่วมโครงการ คือ บ้านน้ำเค็ม บ้านทับตะวัน บ้านทับปลา เกาะพระทอง ผู้เข้าร่วมอบรมโดยประมาณ 30 คน โดยสถานที่นั้นน่าจะจัดที่บ้านทับตะวัน  เพราะเป็นพื้นที่ส่วนกลาง  เวลา 2วันกับ 1 คืน จึงขอเชิญคณะทำงานท่านใดที่ว่างเข้าร่วมกิจกรรมการอบรมนี้ด้วย 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีการรับทราบการส่งตรวจเอกสารการเงิน รับทราบผลการดำเนินโครงการไปมากแล้ว การเห็นชอบในส่วนของการยืมงบประมาณจากส่วนอื่นเพื่อให้การดำเนินโครงการเป็นไปอย่างต่อเนื่อง การดำเนินโครงการการท่องเที่ยวชุมชนอย่างต่อเนื่อง

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

การประชุมคณะทำงานนั้นทิ้งระยะห่างเกินไป แนวทางคือ ทุกวันที่ 20 ทุกเดือนต้องมีการประชุมคณะทำงาน

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
20 กรกฎาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 6 พฤศจิกายน 2561 13:33:15
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติอันดามัน เมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2562 20:55:55 น.

ชื่อกิจกรรม : ค่าประสานงานฝ่ายเลขาฯ งวดที่ 2 (เดือน กรกฎาคม ถึงมีนาคม 2562)

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

1.ชี้แจ้งผลการดำเนินการ 2.การดำเนินงานต่อไป

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ทีมเก็บข้อมูลและรายงานเอกสารการเงิน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ค่าตอบแทนฝ่ายเลขา

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 1 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

1.ผู้ช่วยเลขาโครงการฯ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

การบันทึกการประชุม รายงานความคืบหน้าโครงการแก่ทีมทำงาน จัดเก็บเอกสารการเงิน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการในที่ประชุมคณะทำงาน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
18 กรกฎาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 6 สิงหาคม 2561 11:34:05
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติ เมื่อ 26 เมษายน 2562 08:22:01 น.

ชื่อกิจกรรม : สนับสนุนกลไกขับเคลื่อนการประสานเครือข่ายภัยพิบัติระดับจังหวัดระนอง

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

1.เพื่อให้เกิดกลไกการประสานงาานในระดับจังหวัด 2. เพื่อให้ได้แผนการประสานการจัดการภัยพิบัติระดับจังหวัด 3.เพื่อให้ได้ข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัยจังหวัด

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

30 คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ทำความเข้าใจโครงการและเกิดการประสานงานในระดับจังหวัด

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 51 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ภาคีภัยพิบัติจังหวัดระนอง 50 คน วิทยากร 3 คน คณะทำงาน 5 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

เริ่มประชุม 9.30 น มีการชี้แจ้งวัตถุประสงค์ของโครงการการจัดากรภัยพิบัติโดยชุมชนเป็นฐาน โดยนายไมตรี จงไกรจักร์ มีผู้แทนสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จ.ระนอง เข้าร่วมให้ความรู้เรื่องภัยในพื้นที่จังหวัดระนอง ว่าด้วยน้ำท่วมบางพื้นท่ี ดินสไลจากภูเขา ช่วงบ่ายให้เครือข่ายระนอง ได้แบ่งกลุ่มเขตอำเภอทำแผนภัยพิบัติและได้ร่วมนำเสนอภัยในพื้นที่ของตน วิธีแก้ปัญหา

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้เกิดการประสานงานระหว่างหน่วยงานของรัฐและภาคประชาชน มีการแต่งตั้งคณะกรรมการภัยพิบัต จังหวัดระนอง โดยจะมีการเสนอให้ท่านผู้ว่าเป็นประธาน มีแผนภัยพิบัติและแผนงานการจัดตั้งทีมในชุมชน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

มีการนัดประชุมเพิ่มเติม

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ให้มีการจัดทำแผนที่เส้นทางภัยและทีมทำงานในพื้นที่

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
15 กรกฎาคม 2561 เวลา 09:00-16:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 14 พฤศจิกายน 2561 12:16:24
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติ เมื่อ 26 เมษายน 2562 08:03:32 น.

ชื่อกิจกรรม : (ลงพื้นที่)ประชุมร่วมคณะทำงานจังหวัดพังงา ครั้งที่ 2 ตำบลตำตัว

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

1.ทำความเข้าใจโครงการ 2.จัดทำแผนการขับเคลื่อนชุมชนเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะทำงาน 5 คน แกนนำและชาวบ้านในพื้นที่ 15 คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

เวทีทำความเข้าใจโครงการ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 31 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงาน 5 คน
แกนนำและชาวบ้านในพื้นที่ 26 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ภัยพิบัติเป็นเรื่องใกล้ตัวเราแล้ว พี่น้องในชุมชนก็เห็น เพราะในพื้นที่ตำบลตำตัว-บางไทร มีเหตุการณ์น้ำท่วมขังทุกปีเนื่องจากฝนตกหนัก  นั้นก็ถือว่าเป็นภัยพิบัติเหมือนกัน ทั้งยังมีเหตุบนท้องถนนก็เยอะ  แนวคิดเรื่องโครงการแผนการจัดการรับมือภัยพิบัติโดยชุมชนนั้น คือการที่ชุมชน ชาวบ้านในพื้นที่เป็นศูนย์กลางในการดำเนินการป้องกัน แก่ไข ลดความเสี่ยงภัยของตนเองและครอบครัว โดยชุมชนมีส่วนร่วมในการวางแผน ตัดสินใจ กำหนดแนวทางแก้ปัญหาและการบริหารจัดการภัย โดยใช้ทรัพยากรและบุคลากรในชุมชนโดยมีจุดมุ่งหมายสำคัญ คือ ลดความเสี่ยงของชุมชน และเพิ่มขีดจำกัดให้กับคนในชุมชน ว่าด้วยทีมทำงานโครงการจะเป็นพี่เลี้ยง สนับสนุนเรื่องกระบวนการการจัดทำแผนเตรียมความพร้อมป้องกันภัยพิบัติ และสนับสนุบประสานหาหน่วยงานให้การอบรมกู้ภัยเบื้องต้น ขั้นตอนการจัดทำแผนเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติโดยชุมชน 1.สภานการณ์ภัยในพื้นที่ 2.ต้นทุนชุมชน 3.สิ่งต้องทำต่อไป สถานะการณ์ภัยพื้นที่ตำบลตำตัว-บางไทร ในตำบลเป็นพื้นสวนเสียเป็นส่วนใหญ่และบ้านพักอาศัยอยู่ห่างๆกัน จึงมีเหตุ 1.น้ำท่วมขังเนื่องจากฝนตกติดต่อกันหลายวัน 2.ภัยท้องถนน(อุบัติเหตุ) 3.ภัยวาตภัย/ลมพายุ 4.น้ำป่า/ดินถล่ม 5.ไฟใหม้  ต้นทุนชุมชน เช่น อุปกรณ์กู้ภัยเบื้องต้น เลื่อยไฟฟ้า /ทีมอาสาสมัคร หรือ อปพร. ชรบ. ข้อมูลประชากรในพื้นที่ ช่วงบ่าย ระดมความคิดเห็นในเรื่องโครงสร้างคณะทำงานทีมเตรียมความพร้อมป้องกันภัยพิบัติตำบล เลือกหัวหน้าฝ่ายงานรับผิดชอบก่อน แล้วค่อยประชุมหมู่บ้านทำความเข้าใจและหาอาสาเพิ่มเติม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ชาวบ้านมีความเข้าใจและมีส่วนร่วม หัวหน้าฝ่ายคณะทำงานทีมเตรียมความพร้อมป้องกันภัยพิบัติ
การปฏิบัติการประชุมร่วม มีการทำแผนที่ทำมือของแต่ละหมู่บ้าน มีการจัดตั้งคณะทำงานระดับตำบล

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ทีมทำงานมาเข้าร่วมประชุมน้อย/นัดประชุมทีม

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ต้องจัดทีมสมาชิกมากกว่านี้

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
14 กรกฎาคม 2561 เวลา 09:00-16:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 14 พฤศจิกายน 2561 10:57:16
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติอันดามัน เมื่อ 8 ธันวาคม 2561 21:12:13 น.

ชื่อกิจกรรม : (ลงพื้นที่)ประชุมร่วมคณะทำงานจังหวัดพังงา ครั้งที่ 2 ตำบลรมณีย์

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

1.ทำความเข้าใจโครงการ 2.จัดทำแผนการขับเคลื่อนชุมชนเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะทำงาน 5 คน เครือข่ายภัยพิบัติในตำบลรมณีย์ และทีมอาสาสมัคร 25 คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

เวทีทำความเข้าใจโครงการ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงาน 5 คน เครือข่ายภัยพิบัติและอาสาสมัครในพื้นที่ 10 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ความเป็นมาของโครงการแผนเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติโดยชุมชน ว่าด้วยภัยธรรมชาติหรือภัยที่เกิดจากความประมาทน้ำมือคนนั้น เช่นอุบัติเหตุต่างๆ ถือว่าเป็นภัยพิบัติทั้งนั้น ภัยเหล่านี้ได้ส่งผลกระทบต่อความสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนเป็นจำนวนมาก การที่เรายอมรับชะตากรรมรอให้ทางราชการให้การช่วยเหลืออย่างเดียว ถือว่าเป็นภาระให้กับทางรัฐ ทั้งนี้การรับมือภัยพิบัติควรเป็นหน้าที่ของ่ทุกคน ทุกหน่วยงานที่จะต้องมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไข เมื่อเกิดเหตุภัยขึ้น ชุมชนที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดภัยพิบัติ จึงเป็นกลุ่มแรกท่ีจะๆด้รับผลกระทบจากภัยพิบัติ อย่างพื้นที่ชุมชนตำบลรมณีย์เป็นพื้นที่เสี่ยงหับภัยธรรมชาติเสียเป็นส่วนใหญ่เพราะจากที่เห็นเป็นพื้นที่ล้อมรอบไปด้วยภูเขาและแหล่งน้ำ ชุมชนเป็นพื้นที่เสี่ยงภัย ในโครงการฯนี้เราจะเน้นการจัดการป้องกันและรับมือภัยพิบัติด้วยชุมชนเอง แกนนำชุมชนรมณีย์ว่าในพื้นที่นี้ ท้องที่ ท้องถิ่น ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี มีการสนับสนุนให้ใช้เรื่องอุปกรณ์กู้ภัย ส่วนที่ ทาง อบต.รมณีย์มีอยู่ มีการพูดคุยเรื่องขอสนับสนุนไว้บางแล้วกับท้องที่ แกนนำและทีมอาสาได้เข้าร่วมประชุมงานภัยพิบัติอย่างต่อเนื่อง ถือว่าในพื้นที่รมณีย์เป็นเครือข่ายภัยพิบัติจังหวัดพังงา โครงการนี้ทางทีมคณะทำงานจะมาเป็นพี่เลี้ยงให้ โดยจะช่วยประสานให้ชุมชนเป็นชุมชนเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติได้เอง การดำเนินการนั้นจะต้องมีการจัดทำแผนเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติตำบลรมณีย์ ขั้นตอนต่างๆ ทางทีมคณะทำงานจะช่วยดำเนินการประสานทำความเข้าใจ ประสานหน่วยงานอบรมให้ความรู้กู้ภัยเบื้องต้น ในตอนนี้ทางตำบลรมณีย์ที่เข้าร่วมประชุม มี4หมู่บ้าน เพราะฉะนั้นวันนี้เราได้ให้ทำแบบสำรวจความเสี่ยงในพื้นที่ก่อน เช่น ในพื้นที่ตำบลประสบภัยอะไรบ้าง มีน้ำป่าไหลหลาก น่ำฝนท่วมขัง อุบัติเหตุทางถนน ช้างทำลายพืชไร่  หัวข้อที่ชุมชนจะต้องดำเนินการคือ  1.สถานการณ์พื้นที่ 2.ต้นทุนที่ทำมา 3.สิ่งที่ต้องทำต่อไป สถานการณ์ภัยในพื้นที่-มีน้ำป่าไหลหลาก เนื่องจากเป็นพื้นที่น้ำตก น้ำป่า -ดินสไลด์-เส้นทางถนนเป็นเส้นทางภูเขา มีโค้งอันตรายเยอะ-เมื่อเกิดเหตุการให้การช่วยเหลือไม่ถูกวิธี ต้นทุนที่ทำมา- มีทีมอาสาสมัครในพื้นที่-ทีม ท้องถิ่น อบต. อปพร. อาสาชาวบ้าน -ทีมอบุติเหตุทั่วไป บนท้องถนน -ทีมภัยพิบัติดินถล่ม โคลนสไลด์-ทีมชาวบ้านในพื้นที่ สิ่งที่ต้องทำต่อไป- ต้องมีการสำรวจข้อมูลประชากรในพื้นที่เสี่ยงภัย ข้อนี้แนะนำให้ปรึกษาทีม อสม.ในตำบล -ทำปฏิทินภัย เพื่อจะได้ทราบข้อมูลภัยและทำการรับมือ -จัดทำโครงสร้างคณะทำงานเตรียมความพร้อมตำบลรมณีย์ -จัดทำแผนเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติ -จัดตั้งศูนย์เตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติประจำตำบล - อบรมให้ความรู้เรื่องการกู้ภัย
ช่วงบ่าย มีการจัดทำและแสดงความคิดเห็น ปฏิทินภัยในพื้นที่ การจัดทำปฎิทินภัยมีความสำคัญมากเพื่อเราจะได้รู้และตั้งรับมือภัยได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว การเตรียมทีมอาสาในพื้นที่ต้องมีความพร้อมและเสียสละเวลา
อาจจะเป็นทีม อปพร.

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีปฏิทินภัยในตำบล มีทีมอาสาป้องกันภัย เข้าใจในโครงการฯ ท้องที่ท้องถิ่นให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ผู้เข้าร่วมประชุมไม่ตามเป้าที่วางไว้/นัดประชุมครั้งต่อไปต้องให้พื้นที่พร้อมก่อน

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
27 มิถุนายน 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 2 กรกฎาคม 2561 12:00:21
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติ เมื่อ 1 พ.ค. 2562 11:28:59 น.

ชื่อกิจกรรม : สนับสนุนกลไกขับเคลื่อนการประสานเครือข่ายภัยพิบัติจังหวัดภูเก็ต

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

1.เพื่อให้เกิดกลไกการประสานงานในระดับจังหวัด 2.เพื่อให้ได้แผนการประสานการจัดการภัยพิบัติระดับจังหวัด 3.เพื่อให้ได้ข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัยจังหวัด

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

เครือข่ายภัยพิบัติจังหวัดภูเก็ต 30 คน ส่วนราชการ 2 คน คณะทำงาน 8 คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

เวทีทำความเข้าใจโครงการเพื่อให้เกิดกลไกการประสานงานในระดับจังหวัดให้ได้แผนการประสานการจัดการภัยพิบัติเพื่อให้ได้ข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัยในชุมชน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 80 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

เครือข่ายภัยพิบัติจังหวัดภูเก็ต 74 คน ผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดภูเก็ต 1 ท่าน คณะทำงานโครงการ 6 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

เริ่มประชุมเวลา 9.00 น ประชุมเชิงอบรมทำความเข้าใจเรื่องภัยใกล้ตัว และการเอาตัวรอดในภาวะเผชิญกับภัย มีการเสนอให้แต่ละชุมชนตำบลตั้งทีมทำงานเพื่อประสานกีบทีมพี่เลี้ยง จัดทำแผนที่ภัย และเส้นทางภัย ให้แต่ละตำบลเสนอ 1 หมู่บ้านเพื่อเป็นหมู่บ้านตัวอย่างจัดการภัยพิบัติ ให้แต่ละหมู่บ้านจัดทำข้อมูลชุมชน ทั้งบุคคล เครื่องใช้ที่มีความเสี่ยงภัย แผนที่ภัย และเส้นทางหนีภัย การบริหารจัดการ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-ทีมทำงานในชุมชน -ข้อมูลชุมชน -แผนที่ภัยพิบัติในชุมชน การประสานภาคีเครือข่าย

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

สนับสนุนทีมทำงานในชุมชนพร้อมประสานงานลงพื้นที่ชุมชนอย่างต่อเนื่อง

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
20 มิถุนายน 2561 เวลา 09:00-16:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 6 พฤศจิกายน 2561 13:36:21
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติอันดามัน เมื่อ 8 ธันวาคม 2561 21:09:23 น.

ชื่อกิจกรรม : (ลงพื้นที่)ประชุมร่วมคณะทำงานจังหวัดพังงา ครั้งที่ 2 ตำบลนบปริง

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

1.ทำความเข้าใจโครงการ 2.จัดทำแผนการขับเคลื่อนชุมชนเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

เครือข่ายภัยพิบัติในพื้นที่ 20 คน คณทำงาน 10 คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

เวทีทำความเข้าใจโครงการและจัดทำแผนเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติโดยชุมชน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 15 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงาน 4 คน แกนนำและทีมชุมชน 4 คน ผู้แทน สำนักงาน ปภ.จ.พังงา 2 คน นายก อบต.นบปริง

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ประชุม ทำความเข้าใจโครงการจัดทำแผนเตรียมความพร้อมรับมือัยพิบัติโดยชุมชน เนื่องจากมีท่านนายก อบต.นบปริงให้เกียรติเข้าาร่วมประชุมด้วย จึงนำเสนอความเป็นมาของโครงการ เริ่มตั้งแต่ชุมชนบ้านน้ำเค็มเคยประสบภัยสึนามิ เมื่อปี  47  มีหน่วยงานเข้ามาให้การช่วยเหลือเบื้องต้นก็เยอะ แต่พอให้การช่วยแล้วก็กลับ ไม่มีการเยี่ยวยาอย่างต่อเนื่อง บ้างรายไม่มีชื่อ(ชาวมอแกรนบางคนไม่มีบัตร)ก็ไม่ได้รับการช่วยเหลือ แต่หลังจากผ่านไปเป็นปีๆ ก็ยังมีองค์กรที่ให้การช่วยเหลืออย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ต้น ได้มีแนวร่วมกับองค์กรอิสระ สนับสนุนให้ชุมชนรุกขึ้นมาพึ่งตนเอง โดยมีการการจัดตั้งทีมอาสาสมัครเตรียมความพร้อมฯในชุชนหรือ ทีม อปพร. และได้ขอการสนับสนุนให้มีการจัดอบรมการช่วยเหลือกู้ภัยเบื้องตน จากทาง ปภ.จ.พังงา แล้วจึงมีการสนับสนุนให้ในชุมชนจัดตั้งศูนย์เตรียมความพร้อมป้องกันภัยพิบัติตำบล ขึ้นมา และได้มีการจัดซ้อมแผนหนีภัยสึนามิทุกปี มีกิจกรรมการช่วยเหลือชุมชนใกล้เคียง  และทางศูนย์เตรียมความพร้อมฯกฌได้รับการยอมรับจากคนในชุมชนเป็นอย่างดี ตลอดจนมีต่างประเทศเข้ามาขอศึกษาดูงาน เช่น ศรีลังกา ฯ  โครงการจัดทำแผนเตรียมความพร้อมรับมือัยพิบัติโดยชุมชน เกิดจาก ผู้ว่าราชการจังหวัดพังงา คนเก่า ท่านเคยติเตียนว่า ทางทีมให้การช่วยเหลือแต่พื้นที่อื่น ทำไมไม่ทำในบ้านตนเองบ้าง จึงเกิดเป็นโครงการนี้ขึ้น โดยของบประมาณสนับสนุนจาก สจรส.มอ.สงขลา จึงมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ในจังหวัดพังงา ภูเก็ต ระนอง ในพื้นที่จังหวัดพังงานั้นตั้งเป้าไว้ 7 ตำบลก่อน ตำบลนบปริงก็เป็นพื้นที่หนึ่งด้วย ครั้งนี้ จึงขอทำความเข้าใจในรายละเอียดโครงการ โดยชุมชนจะต้องทำความเข้าใจในพื้นที่ที่เสี่ยงภัย ทำการสำรวจข้อมูลเสี่ยงภัย มีปฏิทินภัย ตั้งคณะทำงาน(อาสาสมัคร)ภัยพิบัติ และถึงจะมีการจัดทำแผนเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติ อันดับต่อไปอาจมีการจัดตั้งศูนย์เตรียมความพร้อมฯตำบล แต่ในวันนี้ขอคุยรายละเอียดการจัดทำโครงการก่อน ทางชุมชนจะต้องทำการสำรวจพื้นที่เสี่ยงภัย และประชากรในพื้นที่เสี่ยง สอบถามสถานะของแต่ละครัวเรือนที่เสี่ยงภัย เพื่อจะได้มีข้อมมูลจัดทำแผนฯอย่างถูกต้องและตรงกับพื้นที่  จากนั้นทาง สำนักงาน ปภ.จ.พังงา ก็ได้อธิบายถึงการปฏิบัติง่นของหน่วยงาน ซึ่งการปฏิบัติงานของปภ.นั้น เกิดขึ้นหลังมีเหตุการณืการแล้ว จึงถือว่าเป็นการช่วยเหลือมากกว่า แต่ถ้าชุมชนไหนที่ต้องการบุคคลากรเพื่อเป็นวิทยากรในการอบรมกู้ภัยอย่างถูกต้อง หรืออุปกรณ์เครื่องมือให้การช่วยเหลือบ้างชนิด ก็พร้อมที่จะให้การสนับสนุน ทางด้าน อบต.นบปริงว่า อบต.มีหน้าที่ให้การช่วยเหลือแก่ชาวบ้าน หากชาวบ้านเดือดร้อนทาง อบต.ในพื้นที่มีหน้าที่ให้การช่วยเหลือเบื้องต้นไปก่อน เช่น ประสบเหตุพายุ หลังคาบ้านพังเสียหาย ก็มีการชดเชยให้ในรายที่มาแจ้งความเสียหาย ทาง อบต.นบปริง มีความเห็นด้วยและให้การร่วมมือสนับสนุนอย่างเต็มที่ ขอให้เห็นว่าชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้ก่อน ไม่ต้องรอให้ทางหน่วยงานหรือรัฐบาลความช่วยเหลืออย่างเดียว ทาง อบต.นบปริงขอให้ชาวบ้านบอกจะรับฟังและให้การช่วยเหลืออย่างเต็มกำลัง ในครั้งหน้าจะชวนชาวบ้านให้เข้ามาจัดทำข้อมูลและแผนภัยพิบัติ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีความร่วมมือเกิดขึ้นหลายฝ่าย ทั้งท้องทีท้องถิ่น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับภัยพิบัติ และทีมชาวบ้าน ก็เข้าใจเป็นอย่างดี

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ชาวบ้านติดภาระกิจผู้เข้าร่วมประชุมน้อย/ ครั้งหน้าจะให้มีตัวแทนแต่ละหมู่บ้านที่เสี่ยงภัยเข้าร่วมอย่างน้อยหมู่บ้านละ 2 คน

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
26 พ.ค. 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2562 20:23:05
แก้ไขโดย อรวรรณ หาญทะเล เมื่อ 16 มิถุนายน 2562 16:02:48 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมคณะทำงานเครือข่ายท่องเที่ยว ครั้งที่ 2

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

1.เพื่อจัดทำแผนการขับเคลื่อนโครงหารการท่องเที่ยวชุมชนของแต่ละพื้นที่ 3.ประชุมครั้งที่ 3 3.1 เพื่อติดตามผลความคืบหน้าและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ 4.ประชุมครั้งที่ 4 4.1 สรุปงาน

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ประชุมคณะทำงาน และแกนนำพื้นที่ชุมชนโครงการท่องเที่ยว

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ประชุมเครือข่ายท่องเที่ยวชุมชน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงานหลักและคณะทำงานในชุมชน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ลงพื้นที่ประชุมร่วมคณะทำงานระดับชุมชน 4 พื้นที่ ได้แก่ชุมชนชาวเลมอแกลนบ้านน้ำเค็ม ,ทับตะวัน-บนไร่,หินลาด,ท่าใหญ่ กระบวนการวงประชุม 1. ช่วงแนะนำคณะทำงานหลักกับคณะทำงานชุมชน แนะนำโครงการ ทำความเข้าใจที่มา 2. แลกเปลี่ยนสถานการณ์และความพร้อมของพื้นที่และกลุ่มเป้าหมาย 3. วางแผน-แนวทางการทำงานร่วม/แบ่งหน้าที่

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต คณะทำงานหลักของโครงการกับคณะทำงานของชุมชนได้รู้จักกัน วางแผนร่วมกันในการปฏิบัติการโดยชุมชนจะเป็นหลักและคณะทำงานหลักมีหน้าที่หนุนเสริม เช่น เรื่องของการใช้เทคโนโลยีชุมชนไม่มีศักยภาพ แต่ชุมชนสามารถให้ข้อมูลและทำกระบวนการร่วมกันได้ หรือการใช้พื้นที่สาธารณะทำกิจกรรม ต้องให้ผู้นำท้องที่ ท้องถิ่นที่เป็นคณะทำงาน ใช้หน้าที่บทบาทรัฐหรือภาคประชาสังคมร่วมดำเนินการ

ผลลัพธ์ เกิดการแบ่งหน้าที่ตามศักยภาพ คณะทำงานชุมชนสามารถเชื่อมโยงวัตถุประสงค์และตัวชี้วัดของโครงการเข้ากับแผนกิจกรรม ตัวแทนหน่วยงานท้องที่ท้องถิ่นสามารถนำไปเสนอเพื่อต่อยอดได้

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ระดับความร่วมมือของผู้นำท้องที่-ท้องถิ่นไม่เท่ากัน บางชุมชนเข้ามาเป็นคณะทำงาน บางชุมชนแค่ให้ใส่ชื่อ บางชุมชนแค่เข้ามาร่วมฟัง เสนอแล้วก็หายไป ทำให้ผลของกิจกรรมออกมาต่างกัน ต้องใช้เวลาในการพูดคุยและทำกิจกรรมร่วมกันให้ผู้นำเหล่านี้ได้เห็นภาพร่วมกับชาวเล ไม่ใช่แค่การเข้ามาปฏิสัมพันธ์เพราะชาวเลเป็นประชากรที่เกาะกลุ่ม สามารถพึ่งพิงทางการเมืองได้

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

พื้นที่ต้องเข้มแข็งและแม่นในแนวทาง เพราะการท่องเที่ยวชุมชนใช้ต้นทุนน้อยตามที่ศักยภาพชุมชนมี จะให้สร้างรายได้เป็นกอบเป็นกำเหมือนผู้ประกอบการท่องเที่ยวที่มุ่งหาเงินก็ไม่มีทาง

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
20 พ.ค. 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 6 พ.ค. 2561 11:05:42
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติอันดามัน เมื่อ 2 กรกฎาคม 2561 11:59:08 น.

ชื่อกิจกรรม : ค่าประสานงานฝ่ายเลขาฯ งวดที่ 1 (เดือน มกราคม ถึง มิถนายน 2561)

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อการประสานงานระหว่างเครือข่ายอันดามัน 2. จัดเก็บเอกสารที่ถูกต้อง
กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ประสานงานโครงการ 1ุ6 เดือน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ประสานงานเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 3 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

เพื่อการประสานงานระหว่างเครือข่ายอันดามันเป็นอย่างเรียบร้อย และจัดเก็บเอกสารที่ถูกต้อง

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ประสานงานผู้เข้าร่วมประชุม อำนวยความสะดวกในการดำเนินการจัดการประชุมในแต่ละครั้ง จัดเก็บเอกสารประกอบการประชุม สรุปการประชุมวาระต่างๆ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีการประสานงานเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง และจัดเก็บข้อมูล เอกสารในการประชุมแต่ละครั้ง การประชุมทุกครั้งเป็นไปอย่างที่ตั้งเป้าไว้

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

การดำเนินการต่อเนื่อง / ปี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
29 เมษายน 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 6 พ.ค. 2561 11:56:18
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติ เมื่อ 28 มิถุนายน 2562 11:40:46 น.

ชื่อกิจกรรม : สนับสนุนกลไกขับเคลื่อนการประสานเครือข่ายภัยพิบัติระดับจังหวัดพังงา

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้เกิดกลไกการประสานงานในระดับจังหวัด 2. เพื่อให้ได้แผนการประสานการจัดการภัยพิบัติระดับจังหวัด 3.เพื่อให้ได้ข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัยจังหวัด
กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

จ.พังงา 20คน/จ.ระนอง10 คน/จ.ภูเก็ต 10 คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ทำความเข้าใจโครงการและจัดแผนงานการขับเคลื่อน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 39 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

พื้นที่ตำบลเสี่ยงภัยพิบัติจังหวัดพังงา
1.ตำบลพรุใน2.ตำบลตำตัว 3.ตำบลทุ่งมะพร้าว 4.ตำบลโคกกลอย 5.ตำบลคลองเคียน 6.ตำบลนบปริง 7.ตำบลรมณีย์ 8.ตำบลบ่อแสน 9.ตำบลบางเหรียง 10.ตำบลบางเตย 11.ตำบลนาเตย 12.ตำบลเกาะยาวใหญ่ 13.ตำบลถ้ำ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ประชุมจัดทำแผนเตรียมความพร้อมป้องกันภัยในตำบล 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ทำความเข้าใจถึงความสำคัญของการมีแผนการเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติโดยชุมชน มีขั้นตอนในการดำเนินการโดยต้องมีการร่วมกลุ่มกันในชุมชนและทำความเข้ากับชาวบ้านให้รู้ถึงความหมายของการมีแผนเตรียมความพร้อมป้องกันภัย และมีการประชุมกันในพื้นที่ ให้แต่งตั้งคณะกรรมการและทีมทำงานในชุมชน และวางแผนการการขับเคลื่อนกระบวนการเตรียมความพร้อมในชุมชน ให้พื้นที่วางแผนงาน โดยทีมทำงานโครงการจะเป็นพี่เลี้ยงคอยแนะนำและร่วมประชุม ให้แต่ละพื้นที่นัดประชุมกันและประสานกับทมเลขาโครงการเพื่อเข้าร่วมประชุมด้วย แต่ละพื้นที่มี 1.ตำบลพรุใน 2.ตำบลตำตัว 3.ตำบลทุ่งมะพร้าว 4.ตำบลโคกกลอย 5.ตำบลคลองเคียน 6.ตำบลนบปริง 7.ตำบลรมณีย์ 8.ตำบลบ่อแสน 9.ตำบลบางเหรียง 10.ตำบลบางเตย 11.ตำบลนาเตย 12.ตำบลเกาะยาวใหญ่ 13.ตำบลถ้ำ ได้มีการจัดทำแผนงานเสนอ และจะกลับไปวางแผนการประชุมประสานความร่วมมือในชุมชน 

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

เวลาในการทำโครงการมากกว่านี้

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
10 เมษายน 2561 เวลา 09:00-15.30 น น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 28 เมษายน 2561 15:24:14
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติ เมื่อ 10 ธันวาคม 2561 14:25:47 น.

ชื่อกิจกรรม : (ลงพื้นที่)ประชุมร่วมคณะทำงานจังหวัดภูเก็ต ครั้งที่ 1

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์
  1. ทำความเข้าใจโครงการ 2. จัดทำแผนการขับเคลื่อนชุมชนเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติ
กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

จ.ภูเก็ต 45 คน จ.พังงา 10 คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ทำความเข้าใจโครงการแผนการประสานการจัดการภัยพิบัติระดับจังหวัด

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 46 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

เครือข่ายภัยพิบัติ จังหวัดภูเก็ต 40 คน เครือข่าย/คณะทำงานภัยพิบัติจังหวัดพังงา 4 คน หัวหน้า ปภ.จังหวัดภูเก็ต ขขขขขข

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

เริ่มประชุม 9.00 น. ทำความเข้าใจเรื่องภัยพิบัติ ไม่ใช่แค่ภัยจากธรรมชาติ แต่ยังมีภัยที่เกิดจากมนุษย์ด้วย ยกตัวอย่าง อุบัติเหตุบนถนน เป็นต้น แบ่งกลุ่มทำแผนที่เสี่ยงภัยในชุมชน ช่วงบ่ายตัวแทนกลุ่มชุมชนอธิบายภัยพิบัติในชุมชนและเส้นทางหนีภัย หัวหน้า ปภ.จังหวัดภูเก็ต

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประชุมทำความเข้าใจโครงการเตรียมความพร้อมป้องกันภัยพิบัติชุมชน โดยนำเสนอชุมชนบ้านน้ำเค็ม จังหวัดพังงาที่ดำเนินโครงการและมีผลเป็นไปได้ด้วยดี
มีการขับเคลื่อนโครงการป้องกันภัยพิบัติในโซนอันดามัน และจังหวัดภูเก็ตเป็นจังหวัดที่มีการเสี่ยงภัยเกือบทุกด้าน
การจัดประชุมครั้งนี้เพื่อทำความเข้าใจและตื่นตัว ในเรื่องของภัยพิบัติ แต่ละชุมชนรู้เรื่องภัยพิบัติในพื้นที่ดีอยู่แล้ว ให้นำเสนอภัยที่เกิดในชุมชน ในช่วงบ่ายได้มีการจัดทำแผนที่เส้นทางเสี่ยงภัย และวิธีการอยู่อย่างปลอดภัยในชุมชน มีการจัดทำแผนป้องกันภัยในชุมชน และตั้งคณะกรรมการดำเนินงานในแต่ละพื้นที่ ในการประชุมครั้งนี้มีหัวหน้า และเจ้าหน้าที่ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต 8 จังหวัดภูเก็ต เข้าร่วมรับฟังด้วย และได้แสดงความคิดเห็นเป็นการดีที่ชุมชนเข้มแข็งร่วมมือกัน ช่วยเหลือกัน ในเรื่องป้องกันภัยพิบัติ เป็นการช่วยเหลือแบ่งเบางานของทางราชการอีกอย่างหนึ่ง การที่มีโครงการฯโดยชุมชนนี้จะทำให้เกิดการประสานงานระหว่างหน่วยงานราชการกับเครือข่ายภาคประชาชนมากขึ้น

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

จะมีการจัดทำแผนที่ภัยพิบัติระดับชุมชน

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
2 มีนาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 6 พ.ค. 2561 13:52:40
แก้ไขโดย อรวรรณ หาญทะเล เมื่อ 16 มิถุนายน 2562 16:31:17 น.

ชื่อกิจกรรม : การศึกษาดูงานการท่องเที่ยวชุมชนบ้านเกาะกลางและชุมชนถ้ำเสื่อ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

-เพื่อให้บุคลากรได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการปฏิบัติงานและการจัดการบริหารการท่องเที่ยว

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ชุมชนน้ำเค็ม 5 คน/ชุมชนทับตะวัน 5 คน/ชุมชนทับปลา5คน/ชุมชนเกาะพระทอง5คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

เรียนรู้ชุมชนและการจัดการระบบการท่องเที่ยวชุมชน  ศึกษาดูงานการจัดการท่องเที่ยวชุมชนจังหวัดกระบี่

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 23 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

  • ตัวแทนโครงการหมู่บ้านน้ำเค็ม 5 คน
  • ตัวแทนโครงการบ้านทับตะวัน 5 คน
  • ตัวแทนโครงการเกาะพระทอง 5 คน
  • ตัวแทนโครงการบ้านทับปลา 5 คน
  • คณะทำงาน 5 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

จุดที่ 1  เรียนรู้การจัดอาหารพื้นบ้านให้กับนักท่องเที่ยว เวลา 12.00-13.00 น. รับประทานร้านอาหารในแพชุมชนคลองประสงค์ - ได้รับการต้อนรับจากตัวแทนชุมชนอย่างอบอุ่น ( ผู้ประสานงานชุมชนคลองประสงค์ จ๊ะโสภา ) เวลา 13.00-14.00 น. เข้าที่พักเก็บสัมภาระทำภารกิจส่วนตัว จุดที่ 2  เรียนรู้การจัดที่พักโฮมสเตอร์รูปแบบแยกกันอยู่กับเจ้าของบ้าน ซึ่งต้อนรับคณะเราเป็นคณะแรก และเรียนรู้ชีวิตการทำธุรกิจของเจ้าของบ้านที่ทำในตัวเมือง แล้วต้องหันกับมาอยู่บ้านและทำโฮมสเตอร์ในชุมชน เพราะทำในตัวเมืองต้องเช่าที่ของอื่นและมีการแข่งขันธุรกิจไม่ได้คำนึงถึงวิถีชีวิตของเพื่อนร่วมโลก เวลา 14.00-18.00 น. นั่งสามล้อบริการไปยังสถานที่ท่องเที่ยวและเรียนรู้ของชุมชน จุดที่ 3 ประวัติศาสตร์ชุมชน โดยตัวแทนผู้สื่อสารชุมชน ชุมชนเกาะกลางเป็นเกาะเล็กๆมีวิถีชีวิตชุมชนที่เรียบง่าย  และยังคงรักษาเอกลักษณ์ท้องถิ่นไว้ได้อย่างดี เกาะแห่งนี้ตั้งอยู่กลางแม่น้ำกระบี่  ห้อมล้อมด้วยป่าชายเลนบริเวณปากแม่น้ำ  ที่มีความอุดมสมบูรณ์นับพันไร่  การเดินทางจากตัวเมืองกระบี่อาศัยเรือหางยาวข้ามฟาก ใช้เวลาเพียง 10 นาที  ที่นี้ประกอบด้วย  3  หมู่บ้าน  ประชากรราว 5,000  คน  ส่วนใหญ่เป็นชาวมุสลิม ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม  ประมงพื้นบ้าน และรับจ้างทั่วไป เอกลักษณ์และความโดดเด่นของที่นี่ คือภูมิปัญญา และ วิถี ชีวิตชุมชนที่พึ่งพาอาศัย  และผูกพันสอดคล้องระหว่างมนุษย์กับทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่  ผ่านกิจกรรมที่นักท่องเที่ยวที่มาเยือนสามารถเรียนรู้และมีส่วนร่วมได้ เช่น การทำประมงพื้นบ้าน การสักหอย  การทำนาข้าวสังหยด การทำเรือหัวโทง  การทำผ้าปาเต๊ะ เป็นต้น  นอกจากนี้  สิ่งหนึ่งที่ทำให้เกาะกลางคงความงดงามและมีเสน่ห์ นั้นคือ  วิถีชีวิตและวัฒนธรรมของชุมชนมุสลิมที่รักสันติ สงบและเรียบง่าย  มิตรภาพและน้ำใจไมตรีของคนเกาะกลาง  คือส่วนหนึ่งของความสุขที่ถ่ายทอดออกมาให้นักท่องเที่ยวได้สัมผัส  ท่ามกลางสังคมและกระแสโลกที่หมุนไปอย่างรวดเร็ว  ที่นี่เป็นอีกที่หนึ่งที่ยังคงก้าวไปตามจังหวะของตนเอง  ชุมชนเกาะกลาง  เมืองกระบี่ จุดที่ 4 พื้นที่การทำนาข้าวสังข์หยด เป็นข้าวนาปีที่ปลูกปีละครั้ง  โดยมีการคัดเลือกเม็ดพันธ์  หว่านกล้า  โดยจะปักดำนาในช่วงเดือนสิงหาคมและเกี่ยวข้าวช่วงเดือนธันวาคม  ทั้งนี้จะมีการรวมกลุ่มกัน  เพื่อเตรียมพื้นที่เพาะปลูก  สร้างเขื่อนคันดินกันน้ำเค็ม  ลงแขกนาดำ – เกี่ยวข้าว นำผลผลิตที่เหลือเช่นซังข้าว  ฟ้างข้าว  และแกบ  มาผลิตปุ๋ยเกษตรอินทรีย์  รวมทั้งจัดตั้งสหกรณ์และโรงงานสีข้าวชุมชน จุดที่ 5 การร่วมกลุ่มทำผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติต้นไม้ป่าโกงกาง จุดที่ 6 การร่วมตัวฟื้นฟูป่าชายเลนหลังจากถูกภัยพิบัติ สึนามิ จากพื้นที่หน้าชุมชนมีแค่ชายหาดจนทุกวันนี้แกนนำได้เสนอกับชุมชนและหน่วยงาน ท้องถิ่น ท้องที่ ให้ร่วมกันฟื้นฟูป่าชายเลน ปัจจุบันพื้นที่หนึ่งร้อยกว่าไร่มี กุ้ง ปล า หอย ปุ และสัตว์ต่างๆ ทำให้พื้นที่ป่าชายเลนเป็นจุดท่องเที่ยวที่ทำให้ผู้คนสนใจมาก การสักหอย (การขุดหอย) ชาวบ้านจะสักหอยบริเวณชายหาด  ในช่วงที่น้ำทะเลลด โดยหอยที่พบมากบริเวณชายหายเกาะกลางคือ หอยหวาน หอยราก หอยเม็ดขนุน หอยจุ๊บแจง หอยปากหนา หอยหลักไก่  หอยแครง  และหอยแว่น โดย หอยแต่ละชนิดจะมีวิธีการสังเหตุและวิธีหาที่แตกต่างกัน ชาวบ้านจะนำหอยที่ได้มาประกอบอาหารในครัวเรือน

จุดที่ 7 การละเล่นแข็งขันไก่ป่าส่งเสียง เป็นกีฬาพื้นบ้านแบบใหม่ที่กำลังนิยมกันในหมู่คนมุสลิมภาคใต้ เป็นการเลี้ยงไก่แจ้และฝึกให้มีการขันที่มีจังหวะและไพเราะ เราเห็นการนำไก่มาตั้งบนไม้เสาเตี้ยๆ ไก่แต่ตัวมีสีสันสวยงาม จุดที่ 8 พื้นที่หากินทางทะเล    ประมงชายฝั่ง (ประมงน้ำตื้น) การทำประมงชายฝั่ง  เป็นวิถีชีวิตดั้งเดิมของชาวเกาะกลาง  ที่สืบทอดองค์ความรู้และภูมิปัญญาจากรุ่นสู่รุ่น  ชาวเกาะกลางส่วนใหญ่จะมีความรู้เรื่อง การวางอวนปลา  การทำโป๊ะน้ำตื้น  การวางลอบปู  การสักหอย เป็นต้น จุดที่ 9 ชมบรรยากาศยามเย็น จุดที่ 10 บ้านดั้งเดิมชุมชนเกาะกลาง จุดที่ 11 กลุ่มเรือหัวโทง เป็นการสืบสานวิถีชีวิตของชาวเกาะกลางสมัยก่อน ที่นิยมใช้เรือหัวโทงทำประมงหาเลี้ยงชีพและใช้ในการเดินทาง โดยในปัจจุบันอาชีพการประกอบเรือหัวโทงเริ่มลดน้อยลง เพราะการใช้งานลดลงและรูปแบบเรือหัวโทงดั้งเดิม ก็หาดูได้อยากขึ้น ชาวบ้านจึงรวมกลุ่มกันเพื่อทำเรือหัวโทงจำลองขึ้น โดยนักท่องเที่ยวจะได้เรียนรู้ถึงประวัติความเป็นมาของเรือที่เป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของจังหวัดกระบี่  เรือหัวโทงจำลองจากเกาะกลาง  ได้พัฒนาเป็นสินค้า  OTOP  ระดับ  4  ดาว ที่มีชื่อเสียงของจังหวัด จุดที่ 12 ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนเพื่อการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ( พี่นิด เจ้าหน้าที่จากมูลนิธิรักษ์และตัวแทนกลุ่มสตรี) เรื่องราวการพัฒนา และต่อสู้ของชุมชน เช่น - การฟื้นฟูทรัพยากร - การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนเกาะกลาง เช่น กลุ่มเรือพาเที่ยว สามล้อพาเที่ยว - การเชื่อมโยงเครือข่ายชุมชนและหน่วยงานต่างๆ - มีกลุ่มออมทรัพย์ - ส่งเสริมกลุ่มอาชีพ เช่น กลุ่มเรือจำลอง ผ้ามัดย้อม หมายเหตุ ท่องเที่ยวชุมชน  สามารถท่องเที่ยวได้ตลอดทั้งปีเวลาที่ดีที่สุดเดือนธันวาคม-เมษายน

เวลา 18.00- 21.00 น. รับประทานอาหารเย็น/เวทีพบปะแลกเปลี่ยน/ถอดบทเรียนความรู้ที่ได้จากการจัดการท่องเที่ยวของชุมชนเกาะกลาง/พักผ่อน สิ่งที่ได้เรียนรู้จากชุมชนเกาะกลาง นาย นิคม ธงชัย ตัวแทนจากชุมชนบ้านท่าใหญ่ - ดูพื้นที่การฟื้นฟูป่าชายเลน - ได้นั่งรถสามล้อท่องเที่ยวรอบๆในชุมชน - ได้พักโฮมสเตอร์ของชาวบ้าน - ชุมชนมีการแบ่งบทบาทหน้าที่ได้ทุกวัย - ใช้ภูมิปัญญาชุมชนด้านต่างๆในการทำท่องเที่ยว นาง ผลาก  นาวารักษ์ และน้ำอิง เยาวชน  ตัวแทนจากชุมชนบ้านหินลาด/ทับปลา - ในชุมชนมีภูมิปัญญาหลายอย่าง - มีการปลูกข้าวสังข์หยด - มีกลุ่มเรือท่องเที่ยวชุมชน - การละเล่นแข็งขันไก่ป่าขัน น.ส.อรวรรณ  หาญทะเล และน้องพลอย เยาวชน ตัวแทนชุมชนบ้านทับตะวัน -  กิจกรรมผ้ามัดย้อม โดยเอาต้นไม้ป่าโกงกางมาทำสีย้อมผ้า เช่น ต้นบูน ต้นแม -  พื้นที่เยาวชนเล่นว่าว -  กฎกติกาชุมชน 5 ส./จัดโซนการดื่มสุราในชุมชน -  มีข้อตกลงการทำดูแลความสะอาดชุมชน -  มีกลุ่มออมทรัพย์ - มีกลุ่มโฮมสเตอร์2 แบบ แบบพักร่วม และแยกพักกับเจ้าของบ้าน - แกนนำเข้มแข็ง (ส่วนมากเป็นสตรีที่ทำงานอาสาชุมชน) - เยาวชนมีรายได้จากการท่องเที่ยวชุมชนและได้กลับมาอยู่มากกว่าเหมือนก่อน - มีสินค้าชุมชนจากคนในชุมชน -  มีการเชื่อมโยงเครือข่ายชุมชนในจังกระบี่-ภาค-ชาติ - ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆ วันที่ 21 มีนาคม พ.ศ.2561 เวลา 07.00-09.00 น. รับประทานอาหารพื้นบ้านชุมชนเกาะกลางแล้วออกเดินทางไปดูงานที่ถ้ำเสือต่อ 09.00-11.00 น. เดินทางจากชุมชนเกาะกลาง ต.คลองประสงค์ สู่ศูนย์เรียนรู้การท่องเที่ยวบ้านถ้ำเสือ

2.4.2 ดูงานถ้ำเสือ
11.00 – 12.00 น.  เดินทางถึงชุมชนบ้านถ้ำเสือ อำเภอเมือง จังหวัดกระบี่
ที่ศูนย์รับนักท่องเที่ยวชุมชนบ้านถ้ำเสือ ที่นี่เรียกว่า “บ้านกำนัน” มีการแสดงรองแง็ง ยาโฮ้ง ต้อนรับจากชาวบ้านในชุมชน มีวิทยากรบอกเล่าที่มาในการเริ่มทำการท่องเที่ยวโดยชุมชน จากชุมชนที่ไม่มีผู้คนเข้าถึง ถือว่าเป็นพื้นที่ที่คนภายนอกมองว่าอันตราย ไม่น่าเข้ามาเยี่ยมเยือน ทั้งที่มีแหล่งท่องเที่ยวตามธรรมชาติและแหล่งเรียนรู้ประวัติศาสตร์ วิถีวัฒนธรรมผู้คน และแหล่งโบราณทางประวัติศาสตร์ที่น่าสนใจ หลายที่ ถือว่าการปรับชุมชนมาทำการท่องเที่ยวเป็นการยกระดับคุณค่าของชุมชน และสามารถกำหนดแนวทางพัฒนาด้วยตนเองได้ชัดเจน 12.00-13.00 น. รับประทานอาหาร 13.00-15.30 น. เรียนรู้ดูการพาเที่ยวของสมาชิกการท่องเที่ยวชุมชนบ้านถ้ำเสือ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต ทำให้ชาวเลที่มาดูงานได้รับรู้และเข้าใจว่า การเริ่มคิดเกิดจากคนในที่มีแรงบันดาลใจ มองย้อนเห็นคุณค่าตัวตน ชุมชนของตนเอง ทางด้านความรู้และการท่องเที่ยวที่พื้นที่ดูงานมี ผสานกับการต้องการเปลี่ยนให้ชุมชนถ้ำเสือและเกาะกลาง เป็นพื้นที่ๆใครๆก็อยากมาสัมผัส เยี่ยมเยือน รวมถึงศึกษา เรียนรู้การท่องเที่ยวชุมชนซึ่งถือว่าจะเป็นเป็นพื้นที่ต้นแบบให้ชาวเลนำไปประยุกต์ ต่อยอดแนวคิดต่อไปได้
ผลลัพธ์ เข้าใจเรื่องการจัดการต้อนรับ ขนส่ง อาหาร ที่พัก ผลิตภัณฑ์ชุมชน  ต้นแบบการท่องเที่ยวชุมชน แนวคิด ประสบการณ์ การเชื่อมร้อยภาคีเพื่อเกิดการสนับสนุน ผลักดันนโยบาย สู่การเป็นชุมชนที่ยกระดับคุณค่าของชุมชนเอง และสามารถกำหนดแนวทางพัฒนาด้วยตนเองได้อย่างเป็นรูปธรรม เช่นเดียวกันกับการท่องเที่ยวบนพื้นที่คุ้มครองทางวัฒนธรรมชาวเลที่มุ่งหวังใช้การท่องเที่ยวเปิดเรื่องราวคุณค่าของพื้นที่ วิถีวัฒนธรรมของชาวเลให้ผู้คนได้มาสัมผัส ได้เห็นคุณค่าคู่ควรอนุรักษ์ของวัฒนธรรมและทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ชาวเล เพื่อความยั่งยืนของประเทศ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

2.6.1 พื้นที่เป้าหมายไปร่วมไม่ครบ ทำให้ต้องเปลี่ยนพื้นที่เป้าหมายของโครงการ จากชุมชนเกาะพระทองเป็นชุมชนบ้านท่าใหญ่ 2.6.2 การเดินทางไกลและจำนวนคนที่ไปดูงานมากกว่าที่ตั้งเป้าหมายไว้ ทำให้ค่าใช้จ่ายจำนวนที่ตั้งไว้ จึงแก้ไขโดยใช้รถยนต์ในชุมชน โดยการเหมาจ่ายเป็นค่าน้ำมัน 2.6.3 ตามแผนที่เขียนไว้เราจะดูงานที่เกาะกลางเป็นที่เดียว แต่ชุมชนบ้านถ้ำเสือ เป็นต้นแบบท่องเที่ยวโดยชุมชน

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ควรหนุนเสริมการเชื่อมโยงพื้นที่เกาะกลางและถ้ำเสือกับชาวเลพังงาและท่องเที่ยวเรียนรู้หลักสูตรชุมชนพังงาแห่งความสุข เพราะทั้งชาวเลและพื้นที่ดูงานครั้งนี้ เคยทำโครงการกับ สจรส./สสส.

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

การดูงานการท่องเที่ยวโดยชุมชน ไม่มีรูปแบบมาตฐานตายตัวให้เราศึกษา แต่ชุมชนต้องใช้การสังเกตุและสอบถามแลกเปลี่ยนถึงจะเข้าใจทักษะทีี่สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับชาวเลได้

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
26 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 09:00-15.30น. น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 28 เมษายน 2561 13:24:06
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติอันดามัน เมื่อ 8 ธันวาคม 2561 21:03:02 น.

ชื่อกิจกรรม : (ลงพื้นที่)ประชุมร่วมคณะทำงานจังหวัดพังงา ครั้งที่ 1

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้เกิดกลไกการประสานงานในระดับจังหวัด 2. เพื่อให้ได้แผนการประสานการจัดการภัยพิบัติระดับจังหวัด 3. เพื่อให้ได้ข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัยจังหวัด
กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะทำงานกลไกภัยพิบัติระดับจังหวัด คณะทำงาน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

เวทีทำความเข้าใจโครงการเกิดกลไกประสานงานระดับจังหวัด

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 24 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

กรรมการประชารัฐฯ ชุมชนเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติจังหวัดพังงา 24 คน คณะทำงานโครงการ  6  คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

เริ่มประชุม เวลา  9.00 น  ท่านรองผู้ว่าราชการจังหวัดพังงาเป็นประธานเปิดประชุม
อธิบายทำความเข้าใจความเป็นมาของโครงการการจัดการภัยพิบัติ อันดามัน การมีส่วนร่วมของชุมชน และการขยายเครือข่ายป้องกัยภัยโดยชุมชนในโซนอันดามัน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ประชุมทำความเข้าใจโครงการพัฒนากลไกภัยพิบัติ ร่วมกับคณะกรรมการประชารัฐเพื่อส่งเสริมชุมชนเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติจังหวัดพังงา เพื่อให้เกิดกลไกการประสานงาน การจัดการภัยพิบัติร่วมระหว่างภาครัฐและชุมชน ทำให้เกิดความร่วมมือและเข้าถึงข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัยจังหวัดมากขึ้น โดยมีท่านรองผู้ว่าราชการจังหวัดเข้าร่วมเป็นประธานด้วย
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

มีการประสานงานนระหว่างภาครัฐและชุมชน

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
20 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 09:00-0-16.30 น. น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 6 พ.ค. 2561 11:19:08
แก้ไขโดย อรวรรณ หาญทะเล เมื่อ 16 มิถุนายน 2562 01:17:58 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมคณะทำงานเครือข่ายท่องเที่ยว ครั้งที่1

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อเข้าใจโครงการการจัดทำข้อมูล 2. เพื่อเข้าใจแนวทางทำความเข้าใจข้อมูลในพื้นที่
กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

-บ้านน้ำเค็ม
-บ้านทับตะวัน/บนไร่ -บ้านหินลาด -เกาะพระทอง
-บ้านทับปลา
-คณะทำงานโครงการ 6 คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

1.4 กระบวนการ  ดำเนินการ โดย วิทวัส เทพสง เวลา
08.00-08.30 น. ลงทะเบียน มีแกนนำชุมชนมาทุกพื้นที่เป้าหมาย 08.30-09.00 น. ทบทวนสถานการณ์ชุมชนกลุ่มเป้าหมาย
.....แต่ละชุมชนมีแผนเรื่องการท่องเที่ยวชุมชนอยู่แล้ว แต่ยังต่างระดับความเข้าใจ หลายพื้นที่ยังยึดติดกับการท่องเที่ยวเชิงเศรษฐกิจเป็นหลักและขาดศักยภาพด้านการบริหารจัดการเพื่อยกระดับคุณภาพ และสามารถบริหารจัดการให้เกิดผลกำไรกับชุมชนได้ เพราะการทำการท่องเที่ยว แม้ว่าจะเป็นการท่องเที่ยวเชิงเรียนรู้วิถีวัฒนธรรมบนพื้นที่คุ้มครองทางวัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์ แต่การจัดกระบวนการและรูปแบบการนำเสนอ ต่างจากการนำเสนอปัญหาที่มีอยู่
09.00-10.00 น. ชี้แจงที่มาของโครงการ โดย นาย ไมตรี จงไกรจักร์
.....ชี้แจงที่มาของโครงการ โดยมี 2 ส่วน คือ
1. เรื่องของการพัฒนากลไกภัยพิบัติในอันดามัน 2. การจัดการภัยพิบัติสู่ความยั่งยืนโดยการท่องเที่ยวชุมชน 10.00-11.00 น. แลกเปลี่ยนแนวทางการทำงานตามกิจกรรมที่วางไว้ในโครงการ แกนนำแต่ละชุมชนมีแนวคิดแตกต่างกัน เข้าช่วงกับมีโครงการนวัตวิถี จึงเกิดข้อเปรียบเทียบรูปแบบของการดำเนินกิจกรรมที่ต่างกัน การท่องเที่ยวชุมชนชาวเลเป็นการท่องเที่ยวเพื่อการอนุรักษ์พื้นที่ทางวัฒนธรรมและธรรมชาติในพื้นที่ดำรงวิถีชีวิตดั้งเดิมของชาวเล ให้อยู่ได้อย่างยั่งยืนและมีคุณค่าต่อชาวเล สังคม และประเทศชาติ ซึ่งแกนนำส่วนใหญ่เข้าใจรูปแบบแนวคิดของการท่องเที่ยวชาวเล จึงเห็นร่วมว่ากิจกรรมยึดเอาตามที่ได้เขียนไว้ แต่อาจมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบและให้มีการหนุนเสริมในบางส่วนที่แกนนำไม่สามารถรับผิดชอบได้ ซึ่งกองเลขาฯก็ยินดีที่จะช่วยให้กิจกรรมดำเนินการได้ แต่จะลุล่วงไปอย่างไรนั้น ต้องเกิดจากทุกฝ่ายร่วมกันรับผิดชอบหน้าที่ของตนตามบทบาทที่จะได้รับ โดยแบ่งคณะทำงานเป็น 3 ส่วน 4 ภารกิจ 1. ส่วน/ภารกิจกลางของคณะกรรมการโครงการ 2. ส่วน/ภารกิจของงานภัยพิบัติ 3. ส่วน/ภารกิจของการท่องเที่ยว 4. ภารกิจร่วมที่เกี่ยวกับแผนงานโครงการและตามวาระร่วมของเครือข่าย/ภาคี 11.00-12.00 น. ตั้งโครงสร้าง วางบทบาทคณะทำงานเป็นรูปแบบกลไกร่วมทำงานตามศักยภาพ แกนนำชุมชนและกองเลขาร่วมวางบทบาทโดยยึดเอาแกนนำชุมชนกลับไปทำงานในพื้นที่ตัวเอง โดยมีทีมส่วนกลางคอยหนุนเสริมเรื่องกระบวนการและติดตาม 12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.00-15.30 น. ประเมินความพร้อม-วางแผนปฏิบัติการและกำหนดช่วงเวลาที่ชัดเจน ความพร้อมในการปฏิบัติการของแต่ละชุมชนไม่เท่ากันทั้งด้านการหนุนเสริมจากหน่วยงานท้องที่-ท้องถิ่น สำหรับชุมชนทับตะวันซึ่งเป็นพื้นที่ปฏิบัติการอยู่แล้ว มีประสบการณ์พอที่จะดำเนินการได้ด้วยชุมชนเอง แต่บางชุมชนยังไม่เคยต้อนรับนักท่องเที่ยว นอกจากกลุ่มที่มาดูงานหรือศึกษาสภาพปัญหาของชาวเล ดังนั้นในแผนของแต่ละชุมชนก็จะมีคณะทำงานจากชุมชนอื่นๆ รวมถึงนักวิชาการและองค์กรภาคีไปร่วมหนุนเสริมด้วย


กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 25 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

-หมู่บ้านน้ำเค็ม
-บ้านทับตะวัน
-เกาะพระทอง
-บ้านทับปลา
-คณะทำงานโครงการ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1.4 กระบวนการ  ดำเนินการ โดย วิทวัส เทพสง เวลา
08.00-08.30 น. ลงทะเบียน มีแกนนำชุมชนมาทุกพื้นที่เป้าหมาย 08.30-09.00 น. ทบทวนสถานการณ์ชุมชนกลุ่มเป้าหมาย
.....แต่ละชุมชนมีแผนเรื่องการท่องเที่ยวชุมชนอยู่แล้ว แต่ยังต่างระดับความเข้าใจ หลายพื้นที่ยังยึดติดกับการท่องเที่ยวเชิงเศรษฐกิจเป็นหลักและขาดศักยภาพด้านการบริหารจัดการเพื่อยกระดับคุณภาพ และสามารถบริหารจัดการให้เกิดผลกำไรกับชุมชนได้ เพราะการทำการท่องเที่ยว แม้ว่าจะเป็นการท่องเที่ยวเชิงเรียนรู้วิถีวัฒนธรรมบนพื้นที่คุ้มครองทางวัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์ แต่การจัดกระบวนการและรูปแบบการนำเสนอ ต่างจากการนำเสนอปัญหาที่มีอยู่
09.00-10.00 น. ชี้แจงที่มาของโครงการ โดย นาย ไมตรี จงไกรจักร์
.....ชี้แจงที่มาของโครงการ โดยมี 2 ส่วน คือ
1. เรื่องของการพัฒนากลไกภัยพิบัติในอันดามัน 2. การจัดการภัยพิบัติสู่ความยั่งยืนโดยการท่องเที่ยวชุมชน 10.00-11.00 น. แลกเปลี่ยนแนวทางการทำงานตามกิจกรรมที่วางไว้ในโครงการ แกนนำแต่ละชุมชนมีแนวคิดแตกต่างกัน เข้าช่วงกับมีโครงการนวัตวิถี จึงเกิดข้อเปรียบเทียบรูปแบบของการดำเนินกิจกรรมที่ต่างกัน การท่องเที่ยวชุมชนชาวเลเป็นการท่องเที่ยวเพื่อการอนุรักษ์พื้นที่ทางวัฒนธรรมและธรรมชาติในพื้นที่ดำรงวิถีชีวิตดั้งเดิมของชาวเล ให้อยู่ได้อย่างยั่งยืนและมีคุณค่าต่อชาวเล สังคม และประเทศชาติ ซึ่งแกนนำส่วนใหญ่เข้าใจรูปแบบแนวคิดของการท่องเที่ยวชาวเล จึงเห็นร่วมว่ากิจกรรมยึดเอาตามที่ได้เขียนไว้ แต่อาจมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบและให้มีการหนุนเสริมในบางส่วนที่แกนนำไม่สามารถรับผิดชอบได้ ซึ่งกองเลขาฯก็ยินดีที่จะช่วยให้กิจกรรมดำเนินการได้ แต่จะลุล่วงไปอย่างไรนั้น ต้องเกิดจากทุกฝ่ายร่วมกันรับผิดชอบหน้าที่ของตนตามบทบาทที่จะได้รับ โดยแบ่งคณะทำงานเป็น 3 ส่วน 4 ภารกิจ 1. ส่วน/ภารกิจกลางของคณะกรรมการโครงการ 2. ส่วน/ภารกิจของงานภัยพิบัติ 3. ส่วน/ภารกิจของการท่องเที่ยว 4. ภารกิจร่วมที่เกี่ยวกับแผนงานโครงการและตามวาระร่วมของเครือข่าย/ภาคี 11.00-12.00 น. ตั้งโครงสร้าง วางบทบาทคณะทำงานเป็นรูปแบบกลไกร่วมทำงานตามศักยภาพ แกนนำชุมชนและกองเลขาร่วมวางบทบาทโดยยึดเอาแกนนำชุมชนกลับไปทำงานในพื้นที่ตัวเอง โดยมีทีมส่วนกลางคอยหนุนเสริมเรื่องกระบวนการและติดตาม 12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.00-15.30 น. ประเมินความพร้อม-วางแผนปฏิบัติการและกำหนดช่วงเวลาที่ชัดเจน ความพร้อมในการปฏิบัติการของแต่ละชุมชนไม่เท่ากันทั้งด้านการหนุนเสริมจากหน่วยงานท้องที่-ท้องถิ่น สำหรับชุมชนทับตะวันซึ่งเป็นพื้นที่ปฏิบัติการอยู่แล้ว มีประสบการณ์พอที่จะดำเนินการได้ด้วยชุมชนเอง แต่บางชุมชนยังไม่เคยต้อนรับนักท่องเที่ยว นอกจากกลุ่มที่มาดูงานหรือศึกษาสภาพปัญหาของชาวเล ดังนั้นในแผนของแต่ละชุมชนก็จะมีคณะทำงานจากชุมชนอื่นๆ รวมถึงนักวิชาการและองค์กรภาคีไปร่วมหนุนเสริมด้วย

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม


ผลผลิต ผู้ร่วมโครงการกับผู้ที่เพิ่งได้รับการประสานเชิญเข้าร่วมให้เป็นคณะทำงาน ได้ร่วมทบทวนที่มาของโครงการจากเดิมที่วางแผนกันไว้ตอนเขียนโครงการ และเกิดความเข้าใจข้อมูลเพิ่มเติม
ผลลัพธ์ มีการหารือและเสนอรูปแบบหลักๆของกิจกรรม ที่จะเพิ่มศักยภาพคนให้หนุนพื้นที่ โดยมีคณะทำงานจัดและช่วยกันเอื้อกระบวนการในแต่ละกิจกรรม มีการตกลงสมัครใจแบ่งหน้าที่ตามความถนัดของแต่ละคน เพื่อร่วมกันดำเนินโครงการตามที่วางแผนไว้ และมีความเป็นไปได้ว่าทำให้เกิดการมีส่วนร่วม จากส่วนของชุมชนชาวเล ภาคีทั้งหน่วยงานภาครัฐและภาคประชาสังคมมาช่วยกันหนุนเสริมอีกระดับหนึ่ง 

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

มีจำนวนชุมชนที่ต้องการเข้าร่วมเพิ่มอีกคือ ชุมชนชาวเลมอแกลนบนไร่ ชุมชนมอแกลนท่าใหญ่ ส่วนชุมชนมอแกลนบ้านทับปลาขอแค่ร่วมเรียนรู้ แต่ความพร้อมในการปฏิบัติการนั้นยังไม่มี การดำเนินโครงการต้องต่อเนื่อง และคณะทำงานลงพื้นที่บ่อยขึ้น

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.
  1. ขอให้คำนึงถึงศักยภาพและบริบทของชาวเลที่ยังมีจุดด้อยในการบริหารจัดการโครงการ และเพิ่งเรียนรู้การใช้เทคโนโลยี
  2. ใน 24 ชุมชน 3 อำเภอของจังหวัดชาวเลมอแกลนเป็นญาติกัน เมื่อชุมชนใดจะเข้าร่วม จึงมีการปรับเปลี่ยนกลุ่มเป้าหมาย บางชุมชนที่ไม่ได้เข้าร่วมตอนแรกเพราะขาดความมั่นใจ กลัวทำไม่ได้ ตอนนี้ขอร่วมด้วย และบางชุมชนที่ยังไม่พร้อมก็ขอเข้าเรียนรู้ เป็นการปรับตัวจากการมีปัญหาทำการท่องเที่ยว เชิงเรียนรู้ การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติและวัฒนธรรมหรือการท่องเที่ยวบนพื้นที่คุ้มครองทางวัฒนธรรมชาวเล 
ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ต้องมีการขยายความเข้าใจในชุมชนให้เกิดเป็นแผนของชุมชนที่สอดคล้องกับโครงการ มีคนที่จะเข้าร่วมในระดับที่สามารถรับผิดชอบได้

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
15 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 09:00-15.30น. น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 28 เมษายน 2561 12:34:23
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติ เมื่อ 2 พ.ค. 2562 00:52:48 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมเครือข่ายภัยพิบัติอันดามัน ครั้งที่ 1

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์
  • เพื่อทำความเข้าใจโครงการและจัดแผนงานการขับเคลื่อน
กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

จ.พังงา 20 คน/จ.ภูเก็ต10 คน/จ.ระนอง 10 คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

เวทีทำความเข้าใจโครงการเครือข่ายภัยพิบัติ อันดามัน มีจังหวัด ระนอง จังหวัดภูเก็ต จังหวัดพังงา และคณะทำงานโครงการ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 26 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

จ.พังงา 15 คน/จ.ภูเก็ต 9 คน/จ.ระนอง 2 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

เริ่มประชุม 9.00 น เนื่องจากวันประชุมตรงกับเทศกาลไหว้เจ้าตรุษจีน จึงมีผู้เข้าร่วมประชุมน้อยกว่าที่กำหนดไว้

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จัดประชุมเครือข่ายภัยพิบัติโซนอันดามัน มีจังหวัดพังงา ระนอง และภูเก็ต เพื่อทำเข้าใจในแผนงานการทำงานโครงการภัยพิบัติ โดยคนในชุมชนร่วมมือกันดำเนินการโครงการ  ตามขั้นตอนป้องกันภัยพิบัติในชุมชน มีการลงความคิดเห็นของแต่ละเครือข่ายฯจังหวัด ว่าเห็นด้วยกับแผนงานป้องกันภัยพิบัติโดยชุมชน และจะมีการนัดวันประชุมวางแผนงานป้องกันภัยพิบัติพื้นที่เสี่ยงภัยของชุมชน โดยจะมีทีมทำงานโครงการฯ ร่วมประชุมและเป็นที่ปรึกษาในกระบวนการดำเนินงานแผนปัองกันภัยพิบัติในชุมชนของแต่ละเครือข่ายฯ จังหวัด 

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

จะมีการจัดประชุมคณะกรรมการของพื้นที่แต่ละจังหวัด

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
20 มกราคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยorawan2529orawan2529เมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2561 13:38:11
Project owner
แก้ไขโดย อรวรรณ หาญทะเล เมื่อ 7 มิถุนายน 2562 16:11:49 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมคณะทำงาน(ครั้งที่ 1)

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

ไฟล์ประกอบกิจกรรม

คุณภาพกิจกรรม : ได้น้อยกว่าเป้าหมายมาก (1)
วัตถุประสงค์

ทำความเข้าโครงการ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

25 คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

วางแผนการทำงานเพื่อให้ได้แผนการขับเคลื่อน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 12 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงาน 12 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  • ประชุมคณะทำงาน 12 ท่าน แจ้งเพื่อทราบโครงการการดำเนินโครงการ และร่วมวางแผนงานในการขับเคลื่อนโครงการภัยพิบัติ 3 จังหวัด มี จังหวัดพังงา ระนอง และภูเก็ต  ซึ่งจังหวัดพังงานั้น จะมี 2 โครงการ เป็นโครงการการจัดการภัยพิบัติ และการท่องเที่ยวชุมชนแบบยั่งยืน
    ซึ่งโครงการท่องเที่ยวนี้ ได้แนวคิดมาจากชุมชนมอแกลนทุ่งหว้า โดย นายวิทวัส เทพสง ,น.ส.อรวรรณ หาญทะเล ได้เสนอทรัพย์กรพื้นที่ แนวคิดจะเน้นวิถีชีวิตของชาวมอแกลนในด้านชีวิตประจำวัน และอาชีพที่อยู่กับธรรมาชาติได้ โดยไม่มีกการทำลาย
    โครงการการจัดการภัยพิบัติอันดามัน ในส่วนนี้ จังหวัดพังงา มีการเคลื่อนกระบวนการอยู่แล้ว แต่จะลงไปเน้นขยายตำบลเตรียมความพร้อมป้องกันภัยโดยชุมชนให้มากขึ้น มี ต.พรุใน ,ต.ตำตัว,ต.ทุ่งมะพร้าว,ต.คุระบุรี.ต.โคกกลอย,ต.นบปริง,ต.รมณีย์,และต.บ่อแสน โดยจะมีการหนุนงบประมาณการเคลื่อนโครงการให้แต่ละตำบลโดยที่จะมีทีมทำงานลงพื้นที่ด้วยทุกครั้ง ในส่วนของจังหวัดระนองกับภูเก็ต มีการหนุนงบ จังหวัดละ 50,000 บาท แต่จะมีทีมทำงานโครงการร่วมดำเนินการทุกครั้ง จะมีการจัดประชุมและจัดตั้งคณะกรรมการในพื้นที่ และมีแผนที่ภัยพิบัติ เส้นทางปลอดภัย ให้เป็นรูปธรรมมากขึ้น
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-ประชุมคณะทำงานโครงการ เพื่อให้ทราบถึงความเป็นมา และจุดประสงค์ของหน่วยงานที่สนับสนุนงบประมาณเพื่อดำเนินการโครงการภัยพิบัติ ต่อเนื่องจากที่ในพื้นที่ได้มีการดำเนินงานอยู่แล้ว และขยายพื้นที่ดำเนินโครงการพัฒนากลไกภัยพิบัติอันดามัน คือจะมีเพิ่มเครือข่ายจังหวัดที่เสี่ยงภัย มีจังหวัดระนอง จังหวัดภูเก็ต  ทั้งนี้จะมีเพิ่มโครงการการท่องเที่ยวชุมชนที่ยังยื่น
-มีการวางแผนงานเบื้องต้นให้สอดคล้องกับระยะเวลาการดำเนินโครงการ
    โครงการพัฒนากลไกภัยพิบัติอันดามัน จะมีการจัดประชุมทำความเข้าใจโครงการกับกลุ่มจังหวัด 3 จังหวัด และมีการสนับสนุนงบประมาณเพื่อดำเนินโครงการในพื้นที่ด้วย แต่ทีมคณะทำงานโครงการต้องเป็นผู้ดำเนินการเอง โดยจะเป็นที่ปรึกษาโครงการ เป็นทีมเลขาฯ ลงพื้นที่ร่วมกระบวนการด้วย     โครการการท่องเที่ยวชุมชนที่ยั่งยืน มีการดำเนินการไปบ้างแล้วในชุมชนมอแกลนบ้านทับตะวัน ทั้งนี้จะให้นายวิทวัส เทพสง และน.ส.อรวรรณ หาญทะเลเป็นผู้รับผิดชอบในการดำเนินโครงการ เนื่องจากทั้งสองคนอาศัยอยู่ใมนชุมชนนั้น และเป็นแกนนำหลักในชุมชนมอแกลนทับตะวัน ในการดำเนินงานแต่ละครั้งจะมีทีมทำงานโครงการเข้าร่วมช่วยงานด้วย
-ทีมเลขานุการโครงการ จะมีการจัดเก็บเอกสารประกอบการประชุม และทำรายงานสรุปการประชุมในแต่ละครั้งในโปรมแกรมของทางผู้สนับสนุนโครงการฯ (สจรส.)
โดยโครงการฯ จะเริ่มดำเนินการ ตั้งแต่เดือน ธันวาคม 60 ถึง มีนาคม 62 งบประมาณในการดำเนินการ 800,000 บาท
สรุป จะมีการนัดประชุมทีมทำงานโครงการ ทุก 3 เดือน เพื่อสรุปงาน และเสนอข้อคิด ร่วมแก้ไขปัญหาในการดำเนินโครงการ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-