รายละเอียดโครงการ
เลขที่ข้อตกลง 60-ข-079
ชื่อโครงการ พัฒนาเครือข่ายสื่อสาธารณะ
ชุดโครงการ แผนงานสื่อ
ผู้รับผิดชอบโครงการ อานนท์ มีศรี
คณะทำงาน ? สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้ และกองบรรณาธิการสื่อสร้างสุขภาคใต้
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤศจิกายน 2560 - 30 พ.ค. 2562
งบประมาณโครงการ 2,500,000.00 บาท
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย (คน) 0
รายละเอียดกลุ่มเป้าหมาย

1.นักสื่อสารชุมชน ใน14จังหวัด ภาคใต้ 2.แกนนำขับเคลื่อนประเด็นสร้างสุขภาคใต้

พื้นที่ดำเนินการ
จังหวัด
ละติจูด-ลองจิจูด 8.3419530754668,99.989318847656
งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ก.ย. 2560 31 ม.ค. 2561 1 ก.ย. 2560 31 ม.ค. 2561 1,000,000.00
2 1 ก.พ. 2561 31 พ.ค. 2561 1 ก.พ. 2561 31 พ.ค. 2561 600,000.00
3 1 มิ.ย. 2561 28 ก.พ. 2562 500,000.00
รวมงบประมาณ 2,100,000.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (2,100,000.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (2,500,000.00 บาท)

หลักการและเหตุผล

 

กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

  1. พัฒนารูปแบบการสื่อสารเพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะทางสังคม โดยใช้ประเด็นร่วมพื้นที่ภาคใต้
  2. สร้างอัตลักษณ์เพื่อสร้างความเชื่อมั่นสื่อเพื่อสุขภาวะทางสังคม

กลยุทธ์

วัตถุประสงค์ของโครงการ / ตัวชี้วัด / การดำเนินกิจกรรม

วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / เป้าหมายตัวชี้วัดความสำเร็จ

วัตถุประสงค์โดยตรง

1.ขยายเครือข่ายการสื่อสารสาธารณะด้านการสร้างเสริมสุขภาพให้ครอบคลุม 14 จังหวัดภาคใต้

เกิดเครือข่าย การสื่อสารสาธารณะ เพิ่มจากเดิม 7 จังหวัด เป็น 14 จังหวัด

2.สนับสนุนการผลิตสื่อและจัดรายการเพื่อการสื่อสารสาธารณะให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบาย

เครือข่ายสื่อที่เข้าร่วมโครงการ มีการผลิตสื่อ ในพื้นที่ของจังหวัดที่รับผิดชอบในประเด็นสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ทำการสื่อสารผ่านช่่องทาง ต่างๆ และทำการศึกษาวิเคราะห์ให้เห็นว่า รูปแบบของเนื้อหา รูปแบบของสื่อและวิธีการสื่อสาร อย่างไร ที่จะสามารถสร้างการเปลี่ยนแปลงในชุมชนได้ และเปลี่ยนแปลงอย่างไร

3.ผลักดันให้เกิดการพัฒนาสื่อที่มีคุณภาพและจริยธรรมเพื่อสร้างสังคมสุขภาวะและขับเคลื่อนประเด็นต่างๆในมิติสุขภาวะทางปัญญา และสุขภาวะทางจิตวิญญาณ

สามารถ วิเคราะห์ กระบวนการสื่อสาร ให้เห็นถึงรูปแบบการสื่อสารที่เหมาะสมและมีคุณภาพได้ และกำหนดแนวปฏบัติของนักสื่อสารชุมชน ที่มีจริยธรรมของนักสื่อสารเพื่อการสร้างสังคมสุขภาวะ

กิจกรรมหลัก

วันที่ทำกิจกรรมชื่อกิจกรรมหลักงบประมาณ
(บาท)
กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
กิจกรรม
(ครั้ง)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
(ครั้ง)
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
1 แผนงานกลาง/บริหารจัดการ 1,113,500.00 50 33 1,772,868.00 25 872,193.55 more_vert
21-22 ก.ย. 60 ประชุมสร้างความเข้าใจคณะทำงาน กองบก. เครือข่าย " สื่อสร้างสุขภาคใต้" ครั้งที่ 1 33 - -
18-19 ต.ค. 60 เวทีงานสมัชชาเพื่อนสื่อสาธารณะ ภาคใต้ ปี 2560 กับการสื่อสารประเด็นการขับเคลื่อนทางสังคม 200 - -
23 พ.ย. 60 เวทีสมัชชา "ขับเคลื่อนเมืองนคร สู่นครศรีฯ อยู่ดีมีสุข" 200 - -
15 ธ.ค. 60 หักภาษีดอกเบี้ยรับเงินฝากธนาคาร 0 - -
26-27 ธ.ค. 60 ประชุม กองบก.สื่อสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่ 1 30 - -
17 ม.ค. 61 สานเสวนา ทางเลือก ทางรอด ของเยาวชนคนคอน ภายใต้ปัจจัยเลี่ยงต่อสุขภาพที่รุมเร้า 40 - -
22 ม.ค. 61 สนับสนุนเครือข่ายกขป.เขต 11 สุราษฎร์ธานี 30 - -
26 ม.ค. 61 เวทีถกเถียงสาธารณะ ”เสวนาการจัดการน้ำเมืองคอน ทั้งระบบแบบมีส่วนร่วม “ 200 - -
28 ม.ค. 61 เวทีรับฟังความคิดเห็นของประชาชน โครงการโรงไฟฟ้าพลังความร้อนกระบี่ 2500 - -
21 ก.พ. 61 เวทีเชื่อมโยงเครือข่ายสื่อจังหวัดตรัง 20 - -
15 มี.ค. 61 ค่าธรรมเนียมการโอนและค่าธรรมเนียมเช็ค 0 - -
20 มี.ค. 61 ประชุม กองบก. สื่อสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่ 2 30 - -
28-30 มี.ค. 61 ประชุมวิชาการ ประจำปี 2561 "สร้างคน สร้างงาน สร้างสุข สานพลังที่ก้าวข้ามขีดกำจัดสู่สุขภาวะที่ยั่งยืน 60 - -
28-30 มี.ค. 61 เวทีสร้างสุขภาคใต้ ปี 2561 2000 - -
2 เม.ย. 61 ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานในพื้นที่ 50 - -
2 เม.ย. 61 จัดประชุมร่างแนวปฏิบัติเพื่อกำหนดจริยธรรมสื่อในกระบวนการนโยบายสาธารณะ 50 - -
2 เม.ย. 61 จัดประชุมรูปแบบการสื่อสาร นโยบายสาธารณะ 50 - -
9 พ.ค. 61 ค่าตรวจบันชี 0 - -
9 พ.ค. 61 ค่าตรวจบัญชีโครงการ 50 - -
2 มิ.ย. 61 โครงการคืนปูสู่ทะเล เพิ่มความมั่นคงทางอาหารของชุมชน ครั้งที่2 100 - -
8 มิ.ย. 61 เวทีเสวนา ทิศทางการท่องเที่ยวโดยชุมชน ภาคใต้ 1000 - -
9 มิ.ย. 61 เวทีสาธารณะ การท่องเที่ยวโดยชุมชนเข้ม มุ่งสู่ความเป็นเลิศ 30 - -
15 มิ.ย. 61 หักภาษีดอกเบี้ยรับเงินฝากธนาคาร 0 - -
21 มิ.ย. 61 เวทีเสวนาสาธารณะจัดการภัยพิบัติ โจทย์ท้าทายของการมีส่วนร่วมให้ถึงฝันได้อย่างไร 50 - -
31 ก.ค. 61 การประชุมคณะกรรมการกำกับทิศ เพื่อการรายงานความคืบหน้าของโครงการในระยะที่ 2 50 - -
1 ส.ค. 61-30 เม.ย. 62 ถอดบทเรียนระหว่างโครงการและหลังเสร็จสิ้นโครงการ 50 - -
4 ก.ย. 61 ประชุม กองบก. สื่อสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่ 3 30 - -
21 ธ.ค. 61 หักภาษีดอกเบี้ยรับเงินฝากธนาคาร 50 - -
16 ม.ค. 62 ค่าตรวจบัญชี 50 - -
28 มิ.ย. 62 หักภาษีดอกเบี้ยรับเงินฝากธนาคาร 50 - -
1 ก.ค. 62 ถอดบทเรียนโครงการ การประเมินเครือข่ายสื่อ งวดที่ 1 50 - -
12 ก.ค. 62 เวทีพัฒนาข้อเสนอ ห้องย่อยจริยธรรมสื่อเพื่อสุขภาวะทางสังคม 50 - -
15 ส.ค. 62 ถอดบทเรียนโครงการ การประเมินเครือข่ายสื่อ งวดที่ 2 50 - -
2 แผนงานสนับสนุนประเด็นสุขภาวะทางสังคม(พื้นที่) 524,500.00 280 42 2,018,300.00 23 408,036.00 more_vert
9 ม.ค. 61 สนับสนุนประเด็นสุขภาวะทางสังคม ประเด็นการจัดการปัจจัยเสี่ยงจังหวัดกระบี่ งวดที่ 1 200 - -
16 ม.ค. 61 สนับสนุนประเด็นสุขภาวะทางสังคม ประเด็นการจัดการปัจจัยเสี่ยงจังหวัดชุมพรงวดที่ 1 50 - -
21 มี.ค. 61 สนับสนุนพื้นที่ ประเด็นสุขภาวะทางสังคมการจัดการปัจจัยเสี่ยงจังหวัดชุมพร งวดที่ 2 70 - -
2 เม.ย. 61 สนับสนุนประเด็นสุขภาวะทางสังคม ประเด็นระบบอาหาร 280 - -
2 เม.ย. 61 สนับสนุนประเด็นสุขภาวะทางสังคม ประเด็นการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ 280 - -
20 มิ.ย. 61 งานวิชาการเพื่อการวิจัยกิจกรรมศึกษาและเก็บข้อมูลการสื่อสาร สำหรับการวิเคราะห์รูปแบบการสื่อสาร/แนวทางกำหนดจริยธรรมสื่อ (การจัดการระบบอาหาร) 20 - -
25 มิ.ย. 61 เวทีเสวนาสื่อสารสาธารณะ “หลักสูตรพัฒนาศักยภาพกับการนำไปใช้ประโยชน์ เห็นผลต่อการเปลี่ยนแปลง” อย่างไร 30 - -
28 มิ.ย. 61 งานวิชาการเพื่อวิจัยกิจกรรมศึกษาและเก็บข้อมูลการสื่อสาร สำหรับการวิเคราะห์รูปแบบการสื่อสาร/แนวทางกำหนดจริยธรรมสื่อ (กองการแพทย์เทศบาลนครภูเก็ตใช้กองทุนหลักประกันสุขภาพ) 20 - -
4 ก.ค. 61 งานวิชาการเพื่อการวิจัยกิจกรรมศึกษาและเก็บข้อมูลการสื่อสาร สำหรับการวิเคราะห์รูปแบบการสื่อสาร/แนวทางกำหนดจริยธรรมสื่อ (ธรรมนูญสุขภาวะ กองทุนหลักประกันสุขภาพ กับการสร้างเสริมสุขภาพ ทำงานแบบมีส่วนร่วมทุกคนในตำบลเข้าถึงกองทุนฯ ) 20 - -
6 ก.ค. 61 งานวิชการเพื่อการวิจัยกิจกรรมศึกษาและเก็บข้อมูลการสื่อสาร สำหรับการวิเคราะห์รูปแบบการสื่อสาร/แนวทางกำหนดจริยธรรมสื่อ (การสร้างเสริมสุขภาพและการจัดการสิ่งแวดล้อม) 20 - -
30 ก.ค. 61 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการด้านสุขภาพ ประเด็นปัจจัยเสี่ยง, แรงงานนอกระบบ 200 - -
17 ส.ค. 61 เวทีสื่อสารสุขภาวะทางสังคม ประเด็นอาหารปลอดภัยและวิถีฅนสายน้ำปากพนังสร้างสุข สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน 200 - -
18 ต.ค. 61 เวทีเสวนา “การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ภายใต้การจัดการตนเอง ผ่านเครือข่ายฝายมีชีวิต” 100 - -
20 ต.ค. 61 เวทีธรรมนูญฝาย(คลอง) พัฒนาเป็นกติกาชุมชนในการรักษาสายน้ำโดยการจัดทำธรรมนูญคลอง 40 - -
31 ต.ค. 61 ลงพื้นที่ในการผลิตสื่อ เพื่อเป็นข้อมูลกำหนดรูปแบบและจริยธรรมสื่อ (พื้นที่ 3 จังหวัด กับกลุ่มจิตอาสา “ญาลันนันบารู” ) 3 - -
16 พ.ย. 61 เวทีเสวนา การสร้างความเข้าใจ ใช้อย่างถูกต้องกับการเท่าทัน E SPORT 100 - -
26 พ.ย. 61 เวทีเสวนาและแลกเปลี่ยนประเด็นปัญหาที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย 300 - -
18 ธ.ค. 61 เวทีเสวนา การท่องเที่ยวโดยชุมชนกับความยั่งยืนที่ทำงานเชื่อมโยงที่เกิดรูปธรรม 100 - -
13 ม.ค. 62 เวทีเสวนา “มาปกป้องคลองท่าดี @ไชยมนตรี สายน้ำหล่อเลี้ยงชีวิต คนเมืองนครศรีฯ” 50 - -
19-20 ม.ค. 62 เวทีระดมความคิดเพื่อกำหนดกรอบหลักสูตรการใช้สมาร์ทโฟนในการตัดต่อคลิปวีดีโอ 10 - -
5 ก.พ. 62 ลงพื้นที่ในการผลิตสื่อ เพื่อเป็นข้อมูลกำหนดรูปแบบและจริยธรรมสื่อ (โครงการทำเล่นๆให้เป็นงาน) 5 - -
9-10 ก.พ. 62 เวทีอบรมหลักสูตรการใช้สมาร์ทโฟน เพื่อการผลิตสื่อปลอดภัย ในกลุ่มเสี่ยง เด็กและเยาวชน 30 - -
25 ก.พ. 62 เวทีประชุมเชิงปฏิบัติการ การออกแบบการสื่อสารเพื่อการอนุรักษ์ไว้ซึ่งภูมิปัญญา 9 ด้าน กับแนวการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 100 - -
1 มี.ค. 62 เวทีประชุมเชิงปฏิบัติการ การออกแบบการสื่อสารเพื่อการอนุรักษ์ไว้ซึ่งภูมิปัญญา 9 ด้าน กับแนวการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ครั้งที่ 2 150 - -
8 มี.ค. 62 เวทีประชุมเชิงปฏิบัติการ การออกแบบการสื่อสารเพื่อการอนุรักษ์ไว้ซึ่งภูมิปัญญา 9 ด้าน กับแนวการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ครั้งที่ 3 100 - -
19-20 มี.ค. 62 อบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร พัฒนาการสร้างสรรค์สื่อโดยใช้สมาร์ทโฟน ครั้งที่ 1 280 - -
22 มี.ค. 62 เวทีเสวนา ประชาเข้าใจ#ฝายมีชีวิตบ้านนาสัญญา 280 - -
30-31 มี.ค. 62 อบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร พัฒนาการสร้างสรรค์สื่อโดยใช้สมาร์ทโฟน ครั้งที่ 2 280 - -
30-31 มี.ค. 62 อบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร พัฒนาการสร้างสรรค์สื่อโดยใช้สมาร์ทโฟน ครั้งที่ 2 280 - -
4 มิ.ย. 62 เวทีเสวนา ฝายมีชีวิตบ้านคลองดิน ตอนที่ 1 8 - -
8-9 มิ.ย. 62 อบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร พัฒนาการสร้างสรรค์สื่อโดยใช้สมาร์ทโฟน ครั้งที่ 3 280 - -
13 มิ.ย. 62 กิจกรรมศึกษาและเก็บข้อมูลการสื่อสาร สำหรับการวิเคราะห์รูปแบบการสื่อสาร/แนวทางกำหนดจริยธรรมสื่อ (ปฐมนิเทศโรงเรียนผู้สูงอายุ) 280 - -
14 มิ.ย. 62 เวทีเสวนา ฝายมีชีวิตบ้านคลองดิน ตอนที่ 2 15 - -
18 มิ.ย. 62 กิจกรรมศึกษาและเก็บข้อมูลการสื่อสาร สำหรับการวิเคราะห์รูปแบบการสื่อสาร/แนวทางกำหนดจริยธรรมสื่อ(การประเมินผลการดำเนินงานด้านการเข้าถึงสิทธิ์ของประชาชนกับการสร้างเสริมสุขภาพ) 280 - -
4 ก.ค. 62 ประชุมเครือข่ายภัยพิบัติดันดามัน "คลายเกลียว" เหลียวหลัง พัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบาย 280 - -
5 ก.ค. 62 กิจกรรมศึกษาและเก็บข้อมูลการสื่อสาร สำหรับการวิเคราะห์รูปแบบการสื่อสาร/แนวทางกำหนดจริยธรรมสื่อ (การป้องกันส่งเสริมงานอนามัยแม่และเด็ก) 280 - -
6 ก.ค. 62 การท่องเที่ยวโดยชุมชนกมลาและสามช่องเหนือ 280 - -
16 ก.ค. 62 กิจกรรมศึกษาและเก็บข้อมูลการสื่อสาร สำหรับการวิเคราะห์รูปแบบการสื่อสาร/แนวทางกำหนดจริยธรรมสื่อ(รู้สิทธิ์ รู้ทันกับ (สปสช.) 280 - -
17 ก.ค. 62 เวทีเสวนา ฝายมีชีวิตบ้านคลองดิน ตอนที่ 3 280 - -
20 ก.ค. 62 เวที “มหกรรมสานพลังคนเมืองนครศรีฯสูสังคมสุขภาวะ” 280 - -
27 ก.ค. 62 กิจกรรมศึกษาและเก็บข้อมูลการสื่อสาร สำหรับการวิเคราะห์รูปแบบการสื่อสาร/แนวทางกำหนดจริยธรรมสื่อ(ศูนย์บริการอุปกรณ์ช่วยเหลือผู้ป่วยติดเตียง) 280 - -
9 ส.ค. 62 กิจกรรมศึกษาและเก็บข้อมูลการสื่อสาร สำหรับการวิเคราะห์รูปแบบการสื่อสาร/แนวทางกำหนดจริยธรรมสื่อ(โมเดลหลักของการจัดการขยะตั้งแต่ต้นทาง) 280 - -
3 แผนงานสื่อสาร 862,000.00 50 46 3,525,610.00 38 2,207,970.00 more_vert
27 พ.ย. 60 เบิกจ่ายเงินสนับสนุนการปฎิบัติงานวิชาการ พัฒนาเครือข่ายสื่อสาธารณะภาคใต้ งวดที่1 1 - -
5 ม.ค. 61 สนับสนุนการเชื่อมโยงการสื่อสารเพื่อการเรียนรู้ (การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ)ผ่านรายการกินอิ่ม นอนอุ่นบนแผ่นดินใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช งวดที่ 1 500 - -
5 ม.ค. 61 สนับสนุนการเชื่อมโยงการสื่อสารเพื่อการเรียนรู้ (การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ)ผ่านรายการกินอิ่ม นอนอุ่นบนแผ่นดินใต้ จังหวัดพังงา งวดที่ 1 1000 - -
5 ม.ค. 61 สนับสนุนการเชื่อมโยงการสื่อสารเพื่อการเรียนรู้ (การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ)ผ่านรายการกินอิ่ม นอนอุ่นบนแผ่นดินใต้ จังหวัดกระบี่ งวดที่ 1 500 - -
5 ม.ค. 61 สนับสนุนการเชื่อมโยงการสื่อสารเพื่อการเรียนรู้ (การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ)ผ่านรายการกินอิ่ม นอนอุ่นบนแผ่นดินใต้ จังหวัดชุมพร งวดที่ 1 1000 - -
5 ม.ค. 61 สนับสนุนการเชื่อมโยงการสื่อสารเพื่อการเรียนรู้ (การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ)ผ่านรายการกินอิ่ม นอนอุ่นบนแผ่นดินใต้ จังหวัดพัทลุง งวดที่ 1 500 - -
5 ม.ค. 61 สนับสนุนการเชื่อมโยงการสื่อสารเพื่อการเรียนรู้(การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ)ผ่านรายการกินอิ่ม นอนอุ่นบนแผ่นดินใต้ จังหวัดสงขลา งวดที่ 1 500 - -
10 ม.ค. 61 สนับสนุนการเชื่อมโยงการสื่อสารเพื่อการเรียนรู้ (การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ)ผ่านรายการกินอิ่ม นอนอุ่นบนแผ่นดินใต้ จังหวัดสุราษฎร์ธานี งวดที่ 1 100 - -
16 ม.ค. 61 เวทีถกเถียงสาธารณะ ร้อยใจคนชุมพร ร่วมสร้างเมืองปลอดภัย กรณีศึกษา “อุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาล” 50 - -
19-20 ม.ค. 61 เวทีเตรียมงานสร้างสุขภาคใต้ปี 2561 ห้องย่อยการท่องเที่ยวโดยชุมชนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติโซนอันดามัน 50 - -
22-24 ม.ค. 61 เวทีเรียนรู้ประวัติศาสตร์ศรีวิชัยสู่การสร้างพลังทางสังคม 50 - -
23 ม.ค. 61 เวทีเสวนา สมุยโมเดล “เตรียมวางแผนกิจกรรมเดินรอบเกาะ” 30 - -
12-13 ก.พ. 61 เวทีประชุมเชิงปฏิบัติการพลังการสื่อสาร เผยเเพร่ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติสู่การเปลี่ยนแปลงสุขภาวะ 15 - -
25 ก.พ. 61 เวทีประเด็นเหล้ากับระบบสุขภาพคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ 3 - -
26 ก.พ. 61 เวทีประเด็นอุบัติเหตุกับแผนพัฒนาจังหวัดระนอง 3 - -
12 มี.ค. 61 สนับสนุนการเชื่อมโยงการสื่อสารเพื่อการเรียนรู้(การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ)ผ่านรายการกินอิ่ม นอนอุ่นบนแผ่นดินใต้ จังหวัดกระบี่ งวดที่ 2 5000 - -
19 มี.ค. 61 สนับสนุนการเชื่อมโยงการสื่อสารเพื่อการเรียนรู้(การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ)ผ่านรายการกินอิ่ม นอนอุ่นบนแผ่นดินใต้ จังหวัดตรัง งวดที่ 1 50 - -
19 มี.ค. 61 เวทีสาธารณะ“คนเมืองตรังบ้านโคกออกร่วมจัดการชุมชนอยู่ดีมีสุข” 50 - -
2 เม.ย. 61 สนับสนุนการเชื่อมโยงการสื่อสารเพื่อการเรียนรู้ จังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส งวดที่ 1 50 - -
2 เม.ย. 61 สนับสนุนการเชื่อมโยงการสื่อสารเพื่อการเรียนรู้ จังหวัดภูเก็ตงวดที่ 1 50 - -
2 เม.ย. 61 สนับสนุนการเชื่อมโยงการสื่อสารเพื่อการเรียนรู้ จังหวัดตรังงวดที่ 1 50 - -
11 เม.ย. 61 สนับสนุนการเชื่อมโยงการสื่อสารเพื่อการเรียนรู้(การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ)ผ่านรายการกินอิ่ม นอนอุ่นบนแผ่นดินใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช งวดที่ 2 500 - -
19 มิ.ย. 61 เบิกจ่ายเงินสนับสนุนการปิบัติงานวิชาการ พัฒนาเครือข่ายสื่อสาธารณะภาคใต้ งวดที่3 1 - -
19 มิ.ย. 61 เบิกจ่ายเงินสนับสนุนการปฎิบัติงานวิชาการ พัฒนาเครือข่ายสื่อสาธารณะภาคใต้ งวดที่2 1 - -
21 มิ.ย. 61 สนับสนุนผลิตสื่อเพื่อการเรียนรู้ ประเด็นสุขภาวะ งานสร้างสุขภาคใต้(ประเด็นเกษตรกรรมเพื่อสุขภาพ) 1500 - -
21 มิ.ย. 61 สนับสนุนผลิตสื่อเพื่อการเรียนรู้ ประเด็นสุขภาวะ งานสร้างสุขภาคใต้(ประเด็นปัจจัยเสี่ยง) 1500 - -
21 มิ.ย. 61 สนับสนุนการเชื่อมโยงการสื่อสารเพื่อการเรียนรู้(การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ)ผ่านรายการกินอิ่ม นอนอุ่นบนแผ่นดินใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช 500 - -
12 ก.ค. 61 เวทีสาธารณะ“การจัดการน้ำทั้งระบบ เตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติ” 20 - -
13 ก.ค. 61 เวทีสาธารณะ การจัดการขยะอยู่ที่มือของเรา 200 - -
22 ก.ค. 61 ผลิตสื่อเพื่อการเรียนรู้ ประเด็นสุขภาวะ สนับสนุนงานสร้างสุขภาคใต้ 50 - -
22 ก.ค. 61 พัฒนาศักยภาพเพื่อการเรียนรู้การสื่อสารเพื่อสุขภาวะ 2 พื้นที่ 0 - -
25 ก.ค. 61 เวทีสาธารณะ ท่าซอมโมเดลกับจุลินทรีย์สมุนไพร 20 - -
26 ก.ค. 61 เวทีสาธารณะ บทเรียนจากภัยพิบัติ ทำอย่างไรให้อยู่รอด 20 - -
12 ส.ค. 61 เวทีเสวนา ฝายมีชีวิต 100 - -
4 ก.ย. 61 ประชุม กอง บก.สื่อสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่4/2561 26 - -
17 ต.ค. 61 การผลิตสื่อเพื่อการเรียนรู้(สื่อสาธารณะ ไทยพีบีเอส สารคดีเชิงข่าว : ความมั่นคงทางอาหาร กับการสร้างฝายมีชีวิต) 60 - -
29 ต.ค. 61 การผลิตสื่อเพื่อการเรียนรู้(สื่อสาธารณะ ไทยพีบีเอส สารคดีเชิงข่าว : ข้าวไร่ งานเสริมชาวสวนยาง จ.นครศรีธรรมราช) 500 - -
3 พ.ย. 61 เวทีสาธารณะ ร่วมสร้าง : วัดสร้างสุข (วัดสร้างคน คนสร้างวัด) 8 - -
21 พ.ย. 61 การผลิตสื่อเพื่อการเรียนรู้(สื่อสาธารณะ ไทยพีบีเอส รายงานสถานการณ์ น้ำท่วม) 500 - -
6 ธ.ค. 61 เบิกจ่ายเงินสนับสนุนการปฎิบัติงานวิชาการพัฒนาเครือข่ายสื่อสาธารณะภาคใต้ งวดที่3 1 - -
25 ธ.ค. 61 การผลิตสื่อเพื่อการเรียนรู้(สื่อสาธารณะ ไทยพีบีเอส สารคดีเชิงข่าว : รู้เท่าทัน E PORT) 500 - -
4 ม.ค. 62 การผลิตสื่อเพื่อการเรียนรู้(สื่อสาธารณะ ไทยพีบีเอส รายงานสถานการณ์พายุ ปาบึก) 500 - -
5 ม.ค. 62 การผลิตสื่อเพื่อการเรียนรู้(สื่อสาธารณะ สถานีโทรทัศน์ ไบรทีวี รายงานสถานการณ์ในพื้นที่ภาคใต้ ) 500 - -
28 มิ.ย. 62 เบิกจ่ายเงินสนับสนุนการปฎิบัติงานวิชาการ พัฒนาเครือข่ายสื่อสาธารณะภาคใต้ งวดที่4 1 - -
10 ก.ค. 62 เวทีรับฟังความคิดเห็นตามบริบทและสถานการณ์ เสวนา “การจัดการน้ำท่วม น้ำแล้ง อย่างยั่งยืน” 50 - -
15 ส.ค. 62 สนับสนุนการเชื่อมโยงการสื่อสารเพื่อการเรียนรู้(การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ)ผ่านรายการกินอิ่ม นอนอุ่นบนแผ่นดินใต้ จังหวัดภูเก็ต 50 - -
รวม 2,500,000.00 380 121 7,316,778.00 86 3,488,199.55

คำเตือน : งบประมาณของกิจกรรมหลัก (2,500,000.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณของกิจกรรมย่อย (7,316,778.00 บาท)

โครงการเข้าสู่ระบบโดย เมื่อวันที่ 17 พ.ค. 2567 น.

วันที่ - เวลากิจกรรม - รายละเอียด
28 มิถุนายน 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 18 สิงหาคม 2562 12:44:25
Project trainer
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 18 สิงหาคม 2562 12:45:25 น.

ชื่อกิจกรรม : เบิกจ่ายเงินสนับสนุนการปฎิบัติงานวิชาการ พัฒนาเครือข่ายสื่อสาธารณะภาคใต้ งวดที่4

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เบิกจ่ายเงินสนับสนุนการปฎิบัติงานวิชาการ พัฒนาเครือข่ายสื่อสาธารณะภาคใต้ งวดที่4

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้ นครศรีธรรมราช

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

เบิกจ่ายเงินสนับสนุนการปฎิบัติงานวิชาการ พัฒนาเครือข่ายสื่อสาธารณะภาคใต้ งวดที่4

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 1 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้ นครศรีธรรมราช

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

เบิกจ่ายเงินสนับสนุนการปฎิบัติงานวิชาการ พัฒนาเครือข่ายสื่อสาธารณะภาคใต้ งวดที่4

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เบิกจ่ายเงินสนับสนุนการปฎิบัติงานวิชาการ พัฒนาเครือข่ายสื่อสาธารณะภาคใต้ งวดที่4

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
28 มิถุนายน 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยวิลาสลักษณ์  แก้วบุญเรืองวิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรืองเมื่อ 19 กันยายน 2562 08:16:44
Project owner
แก้ไขโดย วิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรือง เมื่อ 19 กันยายน 2562 08:24:24 น.

ชื่อกิจกรรม : หักภาษีดอกเบี้ยรับเงินฝากธนาคาร

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

หักภาษีดอกเบี้ยรับเงินฝากธนาคาร

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

หักภาษีดอกเบี้ยรับเงินฝากธนาคาร

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

หักภาษีดอกเบี้ยรับเงินฝากธนาคาร

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ไม่มี

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ไม่มี

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ไม่มี

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
4 มิถุนายน 2562 เวลา 08:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยวรวิชญ์ กฐินหอมวรวิชญ์ กฐินหอมเมื่อ 9 ตุลาคม 2562 14:02:23
Project owner
แก้ไขโดย วรวิชญ์ กฐินหอม เมื่อ 9 ตุลาคม 2562 14:41:40 น.

ชื่อกิจกรรม : เวทีเสวนา ฝายมีชีวิตบ้านคลองดิน ตอนที่ 1

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

สื่อสารสังคมเกี่ยวกับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

1.ผู้แทนจาก สช. 2 ผู้แทนคณะทำงานสมัชชาสุขภาพ 3.เครือข่ายสื่อสร้งสุข นครศรีธรรมราช 4 แกนนำขับเคลื่อนประเด็นการจัดการน้ำ และชาวบ้านในพื้นที่

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

สื่อสารการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะปรพเด็นการจัดการน้ำโดยการสร้างฝายมีชีวิต เชื่อมโยงกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดนครศรีธรรมราช

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

1 ผู้แทนจาก สช. 2 ผู้แทนคณะทำงานสมัชชาสุขภาพ 3.เครือข่ายสื่อสร้งสุข นครศรีธรรมราช 4 แกนนำขับเคลื่อนประเด็นการจัดการน้ำ และชาวบ้านในพื้นที่

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1วงเสวนาให้กลุ่มเป้าหมาย ได้แลกเปลี่ยนกระบวนการทำงาน การมืส่วนร่วม และผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น โดยมี คุณอานนท์ มีศรี จากสมาคมสื่อชุมชนภาคใต้นครศรีธรรมราช และเครือข่ายสื่อสร้างสุข เป็นผู้ดำเนินรายการ 2.สื่อสารผ่านช่องทาง Facebook live  และบันทึกรายการ อัพลง ยูทูป

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. กระบวนการการจัดการน้ำโดยการสร้างฝายมีชีวิต สามารถพลิกฟื้นระบบนิเวศน์ และวิถีชีวิต ให้กับชาวบ้าน รอบฝายรัศมีประมาณ 2  กม. ได้มีวิถีชีวิตที่ดีขึ้น มีคุณภาพชีวิตและมีการจัดการด้านอาหารที่ปลอดภัยมากขึ้น 2  การสื่อสาร มีความสำคัญต่อการเผยแพร่ ชุดความรู้ให้กับชุมชนต่างๆ ได้เดินทางเข้ามาเรียนู้และนำไปขยายผลประยุกต์ใช้ในพื้นที่ตัวเอง
  2. ผุ้เกี่ยวข้องในระดับนโยบาย สามารถนำไปเป็นข้อมูลในการตัดสินใจเชิงนโยบายที่เป็นประโยชน์กับสังคมมากขึ้น
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ปัญหา ด้านการสร้างความเข้าใจกับชุมชนในพื้นที่  จำเป็นต้องสร้างความเข้าใจให้เท่าทันตั้งแตเริ่มต้น และ ในระหว่างกระบวนการ เพื่อให้การดำเนินการบรรลุได้เร็วชึ้น

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ต้องทราบและตระหนักต่อผลลัพธ์ที่เกิดจากปัญหาร่วม และช่วยกันออกความเห็นเพื่อหาทางออกร่วมกัน

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
1 มีนาคม 2562 เวลา 08:00-16:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยวิลาสลักษณ์  แก้วบุญเรืองวิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรืองเมื่อ 4 ตุลาคม 2562 12:02:14
Project owner
แก้ไขโดย วิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรือง เมื่อ 4 ตุลาคม 2562 12:58:41 น.

ชื่อกิจกรรม : เวทีประชุมเชิงปฏิบัติการ การออกแบบการสื่อสารเพื่อการอนุรักษ์ไว้ซึ่งภูมิปัญญา 9 ด้าน กับแนวการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ครั้งที่ 2

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

สร้างความเข้าใจให้ถูกต้องตามสัญญาประชาคมความเห็นร่วมไปสู่การสร้างความสามัคคีปรองดองและการช่วยกันขับเคลื่อนไปสู่ยุทธศาสตร์ 20 ปี

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

  1. สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้  นครศรีธรรมราช
  2. เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช
  3. เครือข่าย กศน.
  4. เครือข่ายปราชญ์
  5. เครือข่ายสื่อมวลชน
  6. กอ.รมน.ภาค 4

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

เป็นกิจกรรมสื่อมวลชนสัมพันธ์  ใช้ภูมิปัญญาปราชญ์ 9 ด้าน เบิกทางเชื่อมยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี  และแลกเปลี่ยนโดยใช้ข้อมูลที่ให้ยุทธศาสตร์ชาติัทั้ง 9 ด้านมาเป็นข้อมูลนำเข้าโดยให้ผู้เข้าร่วมได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในแตะละปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงาน คือ ปัญหาจากคน สภาพแวดล้อม กลไก ว่าแต่ละปัจจัยนั้นมีปัญหามาจากอะไร

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 8 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

  1. สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้  นครศรีธรรมราช
  2. เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช
  3. เครือข่าย กศน.
  4. เครือข่ายปราชญ์
  5. เครือข่ายสื่อมวลชน
  6. กอ.รมน.ภาค 4

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

เป็นกิจกรรมสื่อมวลชนสัมพันธ์  ใช้ภูมิปัญญาปราชญ์ 9 ด้าน เบิกทางเชื่อมยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี  และแลกเปลี่ยนโดยใช้ข้อมูลที่ให้ยุทธศาสตร์ชาติัทั้ง 9 ด้านมาเป็นข้อมูลนำเข้าโดยให้ผู้เข้าร่วมได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในแตะละปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงาน คือ ปัญหาจากคน สภาพแวดล้อม กลไก ว่าแต่ละปัจจัยนั้นมีปัญหามาจากอะไร

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

          กอ.รมน.ภาค 4 สร้างสัมพันธ์ เป็นกิจกรรมสื่อมวลชนสัมพันธ์  ใช้ภูมิปัญญาปราชญ์ 9 ด้าน เบิกทางเชื่อมยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี           พลตรี ทรงพล สุมนาวดี  ผอ.ศปม.กอ.รมน. ภาค 4 เป็นประธานเปิดโครงการสื่อมวลชนสัมพันธ์ ครั้งที่ 2 ของศูนย์ปรองดองสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูป  กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค 4 เพื่อสร้างความเข้าใจให้สื่อมวลชนทุกแขนง  กลุ่มแกนนำในชุมชนและกลุ่มเยาวชน ที่ทำหน้าที่เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารซึ่งจำทำให้การบิดเบือนข่าวสารที่เกิดขึ้นในทุกวันนี้ที่จะนำไปสู่ความขัดแย้ง ลดน้อยลงได้  และจะก่อให้เกิดประโยชน์กับประเทศชาติในด้านความมั่งคงของชาติและนำไปสู่การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 20 ปี ที่จะต้องได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วน         พันเอกภัทรชัย  แทนขำ  หัวหน้าแผนฯ ศปป.กอ. รมน. ภาค 4 ประชุมในครั้งนี้สร้างความเข้าใจให้ถูกต้องตามสัญญาประชาคมความเห็นร่วมไปสู่การสร้างความสามัคคีปรองดองและการช่วยกันขับเคลื่อนไปสู่ยุทธศาสตร์ 20 ปี  สร้างเครือข่ายสื่อมวลชนในการเฝ้าระวัง  และแจ้งเตือนเพื่อต่อต้านการแสข่าวลือ  โดยการนำเสนอข่าวสารคดีที่ดี ที่เกิดขึ้นในชุมชน  และเพื่อให้สื่อมวลชน หรือกลุ่มบุคคล หรือบุคคลที่ทำหน้าที่สื่อสารมวลชนเป็นส่วนในการลดปัญกาความขัดแย้งที่เกิดจากการบิดเบือนข่าวสาร  พร้อมทั้งแลกเปลี่ยนโดยใช้ข้อมูลที่ให้ยุทธศาสตร์ชาติัทั้ง 9 ด้านมาเป็นข้อมูลนำเข้าโดยให้ผู้เข้าร่วมได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในแตะละปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงาน คือ ปัญหาจากคน สภาพแวดล้อม กลไก ว่าแต่ละปัจจัยนั้นมีปัญหามาจากอะไร

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
25 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 08:30-16:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยวิลาสลักษณ์  แก้วบุญเรืองวิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรืองเมื่อ 16 กันยายน 2562 14:28:53
Project owner
แก้ไขโดย วิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรือง เมื่อ 18 กันยายน 2562 10:31:44 น.

ชื่อกิจกรรม : เวทีประชุมเชิงปฏิบัติการ การออกแบบการสื่อสารเพื่อการอนุรักษ์ไว้ซึ่งภูมิปัญญา 9 ด้าน กับแนวการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

เพื่อต้องการให้สื่อมวลชนเป็นโซ่กลางในการสื่อสารเพื่อสร้างความสมานฉันท์ในสังคม

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

1.พระมหาบุญนำ  กูลภักดี 2.อ.บุญเสริม  แก้วพรม 3.สวท.นครศรีธรรมราช 4.เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จ.กระบี่ 5.รองประธานคณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน  (ชุมพร)  กขป.  เขต11 6.ผู้แทน กศน. 7.ผู้แทนเครือข่าย ภัยพิบัติ สิ่งแวดล้อม 8.สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้  นครศรีธรรมราช
9.เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช 10.เครือข่ายภัยพิบัติ 11.เครือข่ายสภาองค์กรชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช 12.สื่อมวลชน 13.กองทัพภาคที่ 4

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

เป็นเวทีเสวนาในหัวข้อ การสื่อสารเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ปราชญ์ 9 ด้าน เพื่อรักษาไว้ซึ่งภูมิปัญญากับแนวทางการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีอย่างไร และมีการปฏิบัติการกลุ่มย่อยการออกแบบแนวทางการสื่อสาร โดยใช้ภูมิปัญญาเชื่อมกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 100 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

1.พระมหาบุญนำ  กูลภักดี 2.อ.บุญเสริม  แก้วพรม 3.สวท.นครศรีธรรมราช 4.เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จ.กระบี่ 5.รองประธานคณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน  (ชุมพร)  กขป.  เขต11 6.ผู้แทน กศน. 7.ผู้แทนเครือข่าย ภัยพิบัติ สิ่งแวดล้อม 8.สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้  นครศรีธรรมราช
9.เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช 10.เครือข่ายภัยพิบัติ 11.เครือข่ายสภาองค์กรชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช 12.สื่อมวลชน 13.กองทัพภาคที่ 4

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1.บรรยายในหัวข้อ  “ภูมิปัญญา กับสังคมสุขภาวะ สู่ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี” 2.สานเสวนา "การสื่อสารเพื่อการถ่ายทอดองค์ความรู้ปราชญ์ 9 ด้านเพื่อรักษาซึ่งภูมิปัญญากับแนวการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ร่วมกันได้อย่างไร 3.ข้อมูลนำเข้า ภูมิปัญญาปราชญ์ 9 ด้านกับการออกแบบการสื่อสารเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
4.แบ่งกลุ่มย่อยเพื่อระดมความคิดเห็น  หัวข้อ"สื่อมวลชนจะนำองค์ความรู้  ปราชญ์ 9 ด้าน เชื่อมโยงสู่การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีอย่างไร  โดยใช้ปัจจัยที่ส่งผลกระทบ -  คน , สภาพแวดล้อม , กลไก จากปัญหาจะนำมาดำเนินการอย่างไร -  วิธีการ  รูปแบบ ช่องทาง  เนื้อหา  จังหวะก้าว 5.นำเสนอกลุ่มย่อยและสรุปรวมเวที โดยทีมวิชาการ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.สื่อสารการ ประชาสัมพันธ์การอนุรักษ์ภูมิปัญญา ทางภาคใต้ ที่สอดคล้องกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ 2.เกิดความรู้ และตระหนักต่อภูมิปัญญา จากปราชญ์แต่ละสาขา เช่น ศาสนา วัฒนธรรมประเพณี ภาษา สมุนไพร
3.เรียนรู้ยุทธศาสตร์ชาติ 6 ด้าน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
9 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 08:30-16:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยวิลาสลักษณ์  แก้วบุญเรืองวิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรืองเมื่อ 16 กันยายน 2562 16:42:34
Project owner
แก้ไขโดย วิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรือง เมื่อ 4 ตุลาคม 2562 11:25:27 น.

ชื่อกิจกรรม : เวทีอบรมหลักสูตรการใช้สมาร์ทโฟน เพื่อการผลิตสื่อปลอดภัย ในกลุ่มเสี่ยง เด็กและเยาวชน

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้เห็นกระบวนการขั้นตอนการฝึกอบรมจากการทดลองหลักสูตรฯ ก่อนนำไปใช้อบรมจริง
กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

1.โรงเรียนฉวางรัชดาภิเษก 2.โรงเรียนศรีธรรมราชศึกษา 3.มหาวิทยาลัยราภัฎนครศรีธรรมราช 4.สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้  นครศรีธรรมราช
5.เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช 6.เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จังหวัดกระบี่ 7.เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จังหวัดพังงา 8.เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จังหวัดชุมพร

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

1.ชี้แจง วัตถุประสงค์ของโครงการ สื่อออนไลน์กับทิศทางการขับเคลื่อนโครงการ 2.รู้จักการวางแผน/ประเด็น/การเขียนโครงเรื่อง 3.รู้จักการถ่ายวีดีโอด้วยสมาร์ทโฟน     - แบ่งกลุ่ม ทำสคริป  วางแผนเตรียมพร้อมในการลงพื้นที่ ตัดต่อวีดี จากการลงพื้นที่ 4.ทบทวนเนื้อหา และเปิด VTR วันวาน 5.นำเสนอผลงานแต่ละกลุ่มและวิพาษ์ วิจารณ์คลิปวีดีโอ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 27 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

1.โรงเรียนฉวางรัชดาภิเษก 2.โรงเรียนศรีธรรมราชศึกษา 3.มหาวิทยาลัยราภัฎนครศรีธรรมราช 4.สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้  นครศรีธรรมราช
5.เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช 6.เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จังหวัดกระบี่ 7.เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จังหวัดพังงา 8.เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จังหวัดชุมพร

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1.ชี้แจง วัตถุประสงค์ของโครงการ สื่อออนไลน์กับทิศทางการขับเคลื่อนโครงการ 2.รู้จักการวางแผน/ประเด็น/การเขียนโครงเรื่อง 3.รู้จักการถ่ายวีดีโอด้วยสมาร์ทโฟน     - แบ่งกลุ่ม ทำสคริป  วางแผนเตรียมพร้อมในการลงพื้นที่ ตัดต่อวีดี จากการลงพื้นที่ 4.ทบทวนเนื้อหา และเปิด VTR วันวาน 5.นำเสนอผลงานแต่ละกลุ่มและวิพาษ์ วิจารณ์คลิปวีดีโอ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สื่อในยุคปัจจุบันกับเทคโนโลยีกาสื่อสารที่ทันสมัย รวดเร็ว เข้าถึงง่าย ทุกคนสามารถเป็นสื่อได้จนวงการสื่อได้ขนานนามว่า “สื่อใหม่” ซึ่งมีอิทธิพลต่อคนรุ่นใหม่ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงคือเด็กเยาวชนทั้งในระบบและนอกระบบ  การรับสื่อก่อให้เกิดพฤติกรรมลอกเลียนแบบทั้งในทางบวกและทางลบนำไปสู่การสร้างเครือข่ายทางสังคมที่กว้างขวาง รวดเร็ว ทั้งนี้ข้อดีของการเปลี่ยนแปลงคือการกระตุ้นให้เกิดการมีส่วนร่วมของผู้รับข่างสารได้โดยง่าย  ทำให้เกิดการขาดความรู้สึกร่วมถึงปัญหานั้นๆอย่างแท้จริง  นอกจากนั้นการรวมตัวที่ง่ายทำให้บุคคลทีสามหรือผู้บริโภคขาดความเชื่อถือของเนื้อหาหรือรูปแบบของการสื่อสาร  การสื่อสารจึงเป็นปัจจัยลำดับต้นๆที่จะเพิ่มความขัดแย้งหรือการชี้นำสังคมไปในทางที่ผิดถ้าขาดการวิเคราะห์แยกแยะหรือการไม่รู้เท่าทัน
จากการขับเคลื่อนงานสื่อฯพบว่า ปัญหาที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับการใช้สื่อทุกวันนี้มีมากขึ้น โดยเฉพาะด้านจริยธรรม ศีลธรรม  หลักสูตร เยาวชนรู้เท่าทันสื่อ โดยการใช้สมาร์ทโฟน เพื่อการผลิตสื่อที่ปลอดภัย ในกลุ่มเสี่ยง เด็กและเยาวชนในสถานศึกษาทั้งในระบบและนอกระบบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย  ที่มุ่งเน้นการรู้เท่าทันสื่อในรูปแบบของการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม เป็นการเรียนรู้ร่วมกัน แลกเปลี่ยนความคิดเห็น  วิเคราะห์ร่วมกัน โดยทำการศึกษาเป็นกลุ่ม  ผู้เรียนจะเป็นศูนย์กลางเป็นผู้สร้างความรู้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง

นำเข้าข้อมูล การรู้เท่าทันสื่อออนไลน์ของเด็กและเยาวชน         “รู้เท่าทันสื่อ” คือ ทักษะ หรือความสามารถในการ “ใช้สื่ออย่างรู้ตัว” และ “ใช้สื่ออย่างตื่นตัว”   “การรู้เท่าทันสื่อ” คือความสามารถป้องกันตนเองจากการถูกจูงใจจากเนื้อหาของสื่อ ไม่หลงเชื่อเนื้อหาที่ได้อ่าน ได้ยิน ได้ฟัง แต่สามารถคิด วิเคราะห์ สงสัย และรู้จักตั้งค่าถามว่า จริงหรือไม่จริง ใครเป็นคนให้ข้อมูล เขาต้องการ สื่อสารอะไร มีจุดมุ่งหมายแอบแฝงหรือไม่ ต้องการสื่อสารให้ใคร และใครได้ประโยชน์ โดยการรับมือจากสื่อออนไลน์นั้นเราสามารถวิเคราะห์และพิจารณาเองได้ รวมถึงการรับมือกับข่าวลือในสื่อสังคมออนไลน์ โดยข่าวในสื่ออาจจะเป็นข่าวสารที่เป็นข่าวลือหรือสื่อเกินจริง พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันเป็นฉบับ (ฉบับที่  ๒) พ.ศ.  ๒๕๖๐หรือที่คุ้นหูในชื่อ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ กฎหมายดังกล่าวเป็นการแก้ไขกฎหมายเดิมอย่าง พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ปี 2550 โดยหนึ่งในประเด็นที่มีการแก้ไขใหม่ คือ การแก้ไขมาตรา 14 เพื่อป้องกันการนำมาใช้ฟ้องหมิ่นประมาท เนื่องจากในอดีต มาตราดังกล่าวนำมาสู่การฟ้องร้องดำเนินคดีเอาผิดกับ "เนื้อหา" บนโลกออนไลน์ ทั้งที่เจตนารมณ์ของกฎหมายมีขึ้นเพื่อการเอาผิดการกระทำต่อ "ระบบ" คอมพิวเตอร์

ชี้แจงเทคนิคการเตรียมอุปกรณ์สมาร์ทโฟนแต่ละรุ่นเพื่อความพร้อมในการเข้าฝึกอบรม โดย นายพงษ์พัฒน์  ด่านอุดม เทคนิคการใช้สมาร์ทโฟนผลิตคลิปวีดีโอ
เป็นแอปพลิเคชั่นตัดต่อวิดีโอชั้นยอดที่สามารถตัดต่อทั้งภาพ เสียง ไตเติ้ล แคปชั่น  และโลโก้ได้อย่างอิสระ นอกจากนี้ยัง import ฟอนต์ตัวอักษร และแปลงไฟล์เป็นระบบ NTSC หรือ PAL ได้เช่นกัน ๑. การเขียนสคริปต์  สร้างสคริปต์ โดยการใช้หลักเขียนเรื่องจากภาพ  ดูว่าคลิปภาพส่วนไหนที่มีพลังและเร้าอารมณ์ที่สุด  แล้วค่อยจึงนำคลิปเหล่านั้นมาตัดต่อเพื่อเล่าเรื่องให้มีพลังมากที่สุดระหว่างการเขียนสคริปต์  ไม่จำเป็นต้องใส่ชื่อของผู้ให้สัมภาษณ์เพราะมันจะปรากฏเป็นตัวอักษรบนหน้าจออยู่แล้วสิ่งที่ควรอยู่ในสคริปต์ คือข้อมูลและการสัมภาษณ์ที่เร้าอารมณ์และทำให้เกิดความสนใจใคร่รู้ ๒. การตัดต่อวิดีโอ โดยการใช้โปรแกรม KineMaster  บันทึกเป็นเสียงบรรยายให้เรียบร้อยผ่าน แอปพลิเคชั่น จากนั้นก็ import เสียงนั้นเข้าไปในแอปพลิเคชั่นตัดต่อเพื่อแยกชิ้นส่วนเสียงเข้ากับวิดีโอในแต่ละช่วง สุดท้ายนำเสียงธรรมชาติ เติมลงไปในช่วงที่ไมมีเสียงบรรยายหรือเสียงสัมภาษณ์

ลงพื้นที่ถ่ายภาพ และถ่ายคลิปสั้นๆด้วยสมาร์ทโฟน

ผลที่ได้ - เกิดการทดลองหลักสูตร พบทั้งข้อดีและข้อบกพร่อง ความไม่สมบูรณ์บางส่วนของหลักสูตร เพื่อการปรับปรุงและแก้ไข - เกิดทีมพี่เลี้ยงจากการอบรมและพัฒนาศักยภาพเพื่อเป็นพี่เลี้ยงในการอบรมจริงทั้ง ๓ จังหวัด - ผู้เข้าอบรมสามารถผลิตคลิปเพื่อการสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
5 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 08:00-16:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยวิลาสลักษณ์  แก้วบุญเรืองวิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรืองเมื่อ 16 กันยายน 2562 16:40:34
Project owner
แก้ไขโดย วิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรือง เมื่อ 18 กันยายน 2562 10:25:38 น.

ชื่อกิจกรรม : ลงพื้นที่ในการผลิตสื่อ เพื่อเป็นข้อมูลกำหนดรูปแบบและจริยธรรมสื่อ (โครงการทำเล่นๆให้เป็นงาน)

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

เพื่อต้องการส่งเสริมและเอื้อต่อการเรียนของนักศึกษา เน้นจบออกมา ต้องสามารถรับใช้สังคมได้ 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

1.สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้  นครศรีธรรมราช
2.เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช 3.วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จ.ตรัง

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ลงพื้นที่ในการผลิตสารคดี  เกี่ยวกับโครงการทำเล่นๆให้เป็นงาน โดยวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จ.ตรัง ได้จัดระบบการศึกษาที่ส่งเสริมและเอื้อต่อการเรียนของนักศึกษา เน้นจบออกมา ต้องสามารถรับใช้สังคมได้

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 5 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

1.สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้  นครศรีธรรมราช
2.เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช 3.วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จ.ตรัง

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ลงพื้นที่ในการผลิตสารคดี  เกี่ยวกับโครงการทำเล่นๆให้เป็นงาน โดยวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จ.ตรัง ได้จัดระบบการศึกษาที่ส่งเสริมและเอื้อต่อการเรียนของนักศึกษา เน้นจบออกมา ต้องสามารถรับใช้สังคมได้

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

          วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จ.ตรัง ได้จัดระบบการศึกษาที่ส่งเสริมและเอื้อต่อการเรียนของนักศึกษา เน้นจบออกมา ต้องสามารถรับใช้สังคมได้           ปัญหาทางสังคมด้านสุขภาพที่เกิดขึ้นจากปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบให้สุขภาพของคนประสบกับโรคภัยไข้เจ็บเป็นจำนวนมาก  ซึ่งทางวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จ.ตรัง ได้เห็นการดำเนินกิจกรรมเสริมนอกเวลาเรียน เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ  โครงการทำเล่นๆให้เป็นงาน  โดยให้นักศึกษา  เลี้ยงไก่พันธ์ไข่  ไก่พื้นเมือง เป็ดไล่ทุ่ง ปลาดุก ปลูกผักปลอกสารพิษ  ซึ่งเป็นกิจกรรมของสโมสรนักศึกษา           กิจกรรมนี้เป็นการสร้างวินัย  ความรับผิดชอบ การฝึกทักษะชีวิต  หลังจากจบการศึกษาออกไป  สิ่งที่เกิดตามมาคือ  รายได้ที่เกิดจาการขายผลผลิต  นอกจากนั้นยังได้นำสาขาภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย  มาเป็นส่วนหนึ่งในสถานศึกษา  การใช้สมุนไพรการบำบัดรักษา นวดแผนไทย  และเชื่อมโยงไปถึงการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม  เป็นการพัฒนาผู้เรียนและการสร้างเสริมสุขภาวะชุมชนที่นอกเหนือจากการเข้าเรียนในห้องเรียน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
19 มกราคม 2562 เวลา 09:00-16:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยวิลาสลักษณ์  แก้วบุญเรืองวิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรืองเมื่อ 16 กันยายน 2562 16:38:34
Project owner
แก้ไขโดย วิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรือง เมื่อ 3 ตุลาคม 2562 11:30:35 น.

ชื่อกิจกรรม : เวทีระดมความคิดเพื่อกำหนดกรอบหลักสูตรการใช้สมาร์ทโฟนในการตัดต่อคลิปวีดีโอ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อสรุปการประชุมออกแบบหลักสูตรและเตรียมประชุมออกแบบหลักสูตร 2. เพื่อกำหนดกรอบหลักสูตรการใช้สมาร์ทโฟนในการตัดต่อคลิปวีดีโอ
กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

1.สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้  นครศรีธรรมราช
2.เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช 3.เครือข่ายสมาคมการท่องเที่ยว 4.มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

เพื่อระดมความคิดและกำหนดกรอบหลักสูตรการใช้สมาร์ทโฟนในการตัดต่อคลิปวีดีโอ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 10 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

1.สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้  นครศรีธรรมราช
2.เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช 3.เครือข่ายสมาคมการท่องเที่ยว 4.มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

เพื่อระดมความคิดและกำหนดกรอบหลักสูตรการใช้สมาร์ทโฟนในการตัดต่อคลิปวีดีโอ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

อ.กรกฎ  จำเนียร การใช้สมาร์ทโฟน(โมโจ) รวมถึงกระบวนการผลิตต่างๆ  การอบรมเราใช้ทฤษฎีไม่ได้ต้องใช้การปฏิบัติเป็น... ต้นทุน ทักษะ ความสนใจ อาศัยการกระตุ้นของผู้สอนหรือผู้อบรม อ.กรกฎ จำเนียร เป็นแบบเวิร์คช๊อป  มีการทดลองทำกับชุมชนสามารถทำได้ในระดับหนึ่ง ครึ่งวันเช้า ให้ความรู้เรื่องสื่อ การรู้เท่าทันสื่อ ช่วงบ่ายเรียนรู้การผลิตด้วยสมาร์ทโฟน เรียนรู้กระบวนการผลิตรายการโทรทัศน์ด้วยมือถือ สอนตัดต่อด้วยโปรแกรม กลางคืนให้การบ้าน ช่วงเช้าอีกวันเราจะได้ชิ้นงานของเด็ก คุณสมันญา  รายการที่ผลิตจะเน้นเป็นคลิปสั้นๆ  เพราะคนเดี๋ยวนี้ไม่ค่อยมีสมาธิในการดูรายการที่ยาวๆ รายการจะต้องเป็นแบบเร้าใจ เนื้อเรื่องสั้นกระชับ เป้าหมาย 1. รู้เท่าทันสื่อ 2. ผลิตสื่อที่ปลอดภัย 3. สามารถนำไปใช้ได้จริงในสถานศึกษาและชีวิตประจำวัน รูปแบบของคลิป 1. คลิปมีความยาว 3-5 นาที หลักสูตร 1. “พัฒนาการสร้างสรรค์สื่อโดยใช้สมาร์ทโฟน”

1.  คุณธรรม จริยธรรม 1.1  คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา (ให้ตรงกับ มคอ.2)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา มีความซื่อสัตย์ โดยมีคุณธรรมจริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้ -  เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2  วิธีการสอน
- มีการบรรยายเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการผลิตรายการโทรทัศน์ -  การมอบหมายงานให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติและร่วมกันทำงานเป็นกลุ่ม - ให้นักศึกษานำเสนอผลงาน ปัญหาที่เกิดขึ้นและวิธีการแก้ไขปัญหาภายหลังจากฝึกปฏิบัติ 1.3  วิธีการประเมินผล -  พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา -  ประเมินพฤติกรรมในการฝึกปฏิบัติและการทำงานร่วมกันของนักศึกษา -  ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย 2.  ความรู้ (ตรงกับในมคอ.2) 2.1  ความรู้ที่ต้องได้รับ
  มีความรู้ ความเข้าใจสาระสำคัญของหลักการและทฤษฎีที่เป็นพื้นฐานชีวิตในเนื้อหาวิชาเฉพาะด้านเกี่ยวกับแนวคิด หลักการ และทฤษฎีที่สำคัญทางด้านนิเทศศาสตร์ มีความเป็นเลิศทางวิชาการและมีความเป็นมืออาชีพด้านนิเทศศาสตร์
2.2  วิธีการสอน - บรรยายแนวคิด หลักการ และเนื้อหาสาระความรู้เกี่ยวกับการผลิตรายการโทรทัศน์
-  มอบหมายให้นักศึกษาปฏิบัติและการทำงานกลุ่ม
-  นักศึกษานำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย
2.3  วิธีการประเมินผล -  ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี -  การทดสอบปฏิบัติ และการนำเสนอผลงานของนักศึกษา 3.  ทักษะทางปัญญา 3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา สามารถคิดอย่างเป็นระบบและมีวิจารณญาณเพื่อนำไปสู่การตัดสินใจที่ถูกต้อง 3.2 วิธีการสอน -  การมอบหมายให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษ และนำเสนอผลการศึกษา -  อภิปรายกลุ่ม -  วิเคราะห์กรณีศึกษา
3.3  วิธีการประเมินผล -  สอบกลางภาค -  สอบปลายภาค
-  ประเมินผลงานของนักศึกษา ปัญหาที่เกิดขึ้นและวิธีการแก้ไขปัญหาภายหลังจากฝึกปฏิบัติ 4.  ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้อย่างเหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ 4.2 วิธีการสอน -  มอบหมายงานให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติรายกลุ่ม และรายบุคคล
  -  การนำเสนอรายงาน 4.3 วิธีการประเมินผล -  ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด -  รายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม -  รายงานการศึกษาด้วยตนเอง


ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
16 มกราคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยวิลาสลักษณ์  แก้วบุญเรืองวิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรืองเมื่อ 9 เมษายน 2562 11:37:07
Project owner
แก้ไขโดย วิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรือง เมื่อ 9 เมษายน 2562 11:38:45 น.

ชื่อกิจกรรม : ค่าตรวจบัญชี

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

เพื่อตรวจบัญชีโครงการพัฒนาเครือข่ายสื่อสารสาธารณะ สู่การเปลี่ยนแปลงเพื่อสังคมสุขภาวะ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

-

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ตรวจบัญชีโครงการพัฒนาเครือข่ายสื่อสารสาธารณะ สู่การเปลี่ยนแปลงเพื่อสังคมสุขภาวะ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

-

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ตรวจบัญชีโครงการพัฒนาเครือข่ายสื่อสารสาธารณะ สู่การเปลี่ยนแปลงเพื่อสังคมสุขภาวะ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

รายงานผลการตรวจบัญชีประจำงวดจากผู้ตรวจสอบบัญชี นำส่ง สจรส.เพื่อประกอบการเบิกจ่ายงบประมาณงวดถัดไป

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
13 มกราคม 2562 เวลา 08:00-16:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยวิลาสลักษณ์  แก้วบุญเรืองวิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรืองเมื่อ 16 กันยายน 2562 16:37:35
Project owner
แก้ไขโดย วิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรือง เมื่อ 3 ตุลาคม 2562 12:21:18 น.

ชื่อกิจกรรม : เวทีเสวนา “มาปกป้องคลองท่าดี @ไชยมนตรี สายน้ำหล่อเลี้ยงชีวิต คนเมืองนครศรีฯ”

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อต้องการแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นและร่วมกันแก้ไขปัญหาน้ำท่วม น้ำแล้ง ในจังหวัดนครศรีธรรมราช
กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

1.สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้  นครศรีธรรมราช
2.เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช 3.เครือข่ายสื่อเถื่อน 4.ไทยพีบีเอส 5.ชาวบ้านในตำบลไชยมนตรี 6.สถาบันการเรียนรู้เพื่อตนเอง

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

เป็นเวทีเสวนาเกี่ยวกับฝายมีชีวิต ในการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม  น้ำแล้ง เมืองนครศรีฯ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 7 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

1.สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้  นครศรีธรรมราช
2.เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช 3.เครือข่ายสื่อเถื่อน 4.ไทยพีบีเอส 5.ชาวบ้านในตำบลไชยมนตรี 6.สถาบันการเรียนรู้เพื่อตนเอง

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

เป็นเวทีเสวนาเกี่ยวกับฝายมีชีวิต ในการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม  น้ำแล้ง เมืองนครศรีฯ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต การสื่อสารแบบวงคุยผ่านช่องทาง online
ผลลัพธ์ 1. รับทราบและเข้าใจแนวคิดของผู้ที่อาสาปกป้อง คลองสายน้ำ และธรรมชาติ ให้อยู่กับชุมชน แบบยั่งยืน 2. วิธีการหรือแนวทางในการปกป้องสายน้ำ และระบบนิเวศน์ระหว่างสัตว์ธรรมชาติสิ่งแวดล้อม และมนุษย์

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
5 มกราคม 2562 เวลา 08:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยวิลาสลักษณ์  แก้วบุญเรืองวิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรืองเมื่อ 16 กันยายน 2562 16:36:40
Project owner
แก้ไขโดย วิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรือง เมื่อ 19 กันยายน 2562 09:14:12 น.

ชื่อกิจกรรม : การผลิตสื่อเพื่อการเรียนรู้(สื่อสาธารณะ สถานีโทรทัศน์ ไบรทีวี รายงานสถานการณ์ในพื้นที่ภาคใต้ )

  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

เพื่อต้องการรายงานสถานการณ์ภัยพิบัติในเขตพื้นที่ จ.นครศรีธรรมราช

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

1.สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้  นครศรีธรรมราช
2.เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช 3.ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์น้ำท่วมในเขต อ.ฉวาง  จ.นครศรีธรรมราช

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ลงพื้นที่และรายงานสถานการณ์ภัยพิบัติผ่านช่องทางการสื่อสารทางเพจ สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้ นครศรีธรรมราช  สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส และสถานีโทรทัศน์ ไบรทีวี 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 4 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

1.สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้  นครศรีธรรมราช
2.เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช 3.ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์น้ำท่วมในเขต อ.ฉวาง  จ.นครศรีธรรมราช

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ลงพื้นที่และรายงานสถานการณ์ภัยพิบัติผ่านช่องทางการสื่อสารทางเพจ สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้ นครศรีธรรมราช  สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส และสถานีโทรทัศน์ ไบรทีวี 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต
1.  การนำเสนอผ่านช่องทางการสื่อสาร 2.  ได้สื่อสารจากสถานการณ์จริงจากพื้นที่รับผลกระทบ 3.  ชิ้นงานการสื่อสาร ช่องทีวี สาธารณะ

ผลลัพธ์ :
1.  พื้นที่อื่นได้รับรู้ถึงผลกระทบจากภัยพิบัติและการเยียวยาช่วยเหลือ 2.  ได้รับความช่วยเหลือและการส่งต่องานสื่อสารสู่สาธารณะ 3.  รายงานสถานการณ์ปัจจุบัน ออกสื่อสาธารณะช่องไบรทีวี 4.  ความเดือดร้อนของประชาชน กับภัยธรรมชาติเกิดความเสียหายในวงกว้าง 5.  เพิ่มช่องทางการสื่อสารเพื่อให้เกิดการช่วยเหลือผู้ประสบภัย

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี่

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
4 มกราคม 2562 เวลา 08:00-16:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยวิลาสลักษณ์  แก้วบุญเรืองวิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรืองเมื่อ 16 กันยายน 2562 16:35:43
Project owner
แก้ไขโดย วิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรือง เมื่อ 19 กันยายน 2562 09:21:12 น.

ชื่อกิจกรรม : การผลิตสื่อเพื่อการเรียนรู้(สื่อสาธารณะ ไทยพีบีเอส รายงานสถานการณ์พายุ ปาบึก)

  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

เพื่อต้องการรายงานสถานการณ์ภัยพิบัติในเขตพื้นที่ จ.นครศรีธรรมราช

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

1.สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้  นครศรีธรรมราช
2.เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช 3.ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์น้ำท่วมในเขต อ.ปากพนัง  จ.นครศรีธรรมราช

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ลงพื้นที่และรายงานสถานการณ์ภัยพิบัติผ่านช่องทางการสื่อสารทางเพจสมาคมสื่อชุมชนภาคใต้  นครศรีธรรมราช และรายงานผ่านสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 4 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

1.สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้  นครศรีธรรมราช
2.เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช 3.ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์น้ำท่วมในเขต อ.ปากพนัง  จ.นครศรีธรรมราช

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ลงพื้นที่และรายงานสถานการณ์ภัยพิบัติผ่านช่องทางการสื่อสารทางเพจสมาคมสื่อชุมชนภาคใต้  นครศรีธรรมราช และรายงานผ่านสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต
1.  การนำเสนอผ่านช่องทางการสื่อสาร 2.  ได้สื่อสารจากสถานการณ์จริงจากพื้นที่รับผลกระทบ 3.  ชิ้นงานการสื่อสาร ช่องทีวี สาธารณะ

ผลลัพธ์ :
1.  พื้นที่อื่นได้รับรู้ถึงผลกระทบจากภัยพิบัติและการเยียวยาช่วยเหลือ 2.  ได้รับความช่วยเหลือและการส่งต่องานสื่อสารสู่สาธารณะ 3.  รายงานสถานการณ์ปัจจุบัน ออกสื่อสาธารณะช่องทางไทยพีบีเอส 4.  ความเดือดร้อนของประชาชน กับภัยธรรมชาติเกิดความเสียหายในวงกว้าง 5.  เพิ่มช่องทางการสื่อสารเพื่อให้เกิดการช่วยเหลือผู้ประสบภัย

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
25 ธันวาคม 2561 เวลา 08:00-16:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยวิลาสลักษณ์  แก้วบุญเรืองวิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรืองเมื่อ 16 กันยายน 2562 16:34:27
Project owner
แก้ไขโดย วิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรือง เมื่อ 19 กันยายน 2562 09:33:26 น.

ชื่อกิจกรรม : การผลิตสื่อเพื่อการเรียนรู้(สื่อสาธารณะ ไทยพีบีเอส สารคดีเชิงข่าว : รู้เท่าทัน E PORT)

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

เพื่อต้องการสื่อสารให้รู้เท่าทันและเข้าใจ E Sport

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

1.สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้  นครศรีธรรมราช
2.เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช 3.กลุ่มเด็กและเยาวชน 4.กลุ่มบุคคลทั่วไปที่สนใจเกี่ยวกับสารคดีเชิงข่าว : รู้เท่าทัน E PORT

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

เพื่อผลิตงานในการสื่อสารสาธาณะผ่านช่องทาง ไทยพีบีเอส

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 3 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

1.สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้  นครศรีธรรมราช
2.เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช 3.กลุ่มเด็กและเยาวชน 4.กลุ่มบุคคลทั่วไปที่สนใจเกี่ยวกับสารคดีเชิงข่าว : รู้เท่าทัน E PORT

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

เพื่อผลิตงานในการสื่อสารสาธาณะผ่านช่องทาง ไทยพีบีเอส

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต
1.  เป็นเวทีแลกเปลี่ยน และการให้ความรู้ และผลิตสื่อ
2.  วงแลกเปลี่ยนได้มีข้อมูลและรับรู้เกี่ยวกับกีฬาชนิดนี้

ผลลัพธ์
1.  มีชิ้นงานสื่อและสื่อสารผ่านช่องทางสื่อสาธารณะ 2.  มีการผลิตชิ้นงานสื่อประกอบสำหรับสื่อสารสาธารณะผ่านไทยพีบีเอส

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
21 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยวิลาสลักษณ์  แก้วบุญเรืองวิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรืองเมื่อ 9 เมษายน 2562 11:42:07
Project owner
แก้ไขโดย วิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรือง เมื่อ 19 กันยายน 2562 08:19:13 น.

ชื่อกิจกรรม : หักภาษีดอกเบี้ยรับเงินฝากธนาคาร

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

หักภาษีดอกเบี้ยรับเงินฝากธนาคาร

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ไม่มี

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

หักภาษีดอกเบี้ยรับเงินฝากธนาคาร

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ไม่มี

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ไม่มี

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ไม่มี

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
18 ธันวาคม 2561 เวลา 08:30-15:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยวิลาสลักษณ์  แก้วบุญเรืองวิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรืองเมื่อ 16 กันยายน 2562 16:32:31
Project owner
แก้ไขโดย วิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรือง เมื่อ 3 ตุลาคม 2562 12:28:43 น.

ชื่อกิจกรรม : เวทีเสวนา การท่องเที่ยวโดยชุมชนกับความยั่งยืนที่ทำงานเชื่อมโยงที่เกิดรูปธรรม

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

1.เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว ระหว่างอุทยานแห่งชาติและชุมชน 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

1.สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้  นครศรีธรรมราช
2.เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช 3.อุทยานแห่งชาติเขาหลวง 4.มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 5.เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่ากะทูน 6.สถานีวิจัยต้นน้ำบ้านคีรีวง 7.สภ.ลานสกา 8.สถานีควบคุมไฟป่าน้ำตกโยง 9.เครือข่ายการท่องเที่ยวจังหวัดนครศรีธรรมราช

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

เป็นเวทีเสวนา การท่องเที่ยวโดยชุมชนกับความยั่งยืนที่ทำงานเชื่อมโยงที่เกิดรูปธรรม

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 108 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

1.สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้  นครศรีธรรมราช
2.เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช 3.อุทยานแห่งชาติเขาหลวง 4.มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 5.เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่ากะทูน 6.สถานีวิจัยต้นน้ำบ้านคีรีวง 7.สภ.ลานสกา 8.สถานีควบคุมไฟป่าน้ำตกโยง 9.เครือข่ายการท่องเที่ยวจังหวัดนครศรีธรรมราช

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

เป็นเวทีเสวนา การท่องเที่ยวโดยชุมชนกับความยั่งยืนที่ทำงานเชื่อมโยงที่เกิดรูปธรรม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต การสื่อสารวงเสวนา เพื่อรณรงค์การท่องเที่ยวโดยชุมชน และการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์เพื่อดูแลผืนป่า ผลลัพธ์ 1. เกิดการรับรู้ของสาธารณะต่อการเปิดการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่มีการจัดการ่วมกันของหลายภาคส่วน 2. กระบวนการสื่อสารทำให้เกิดการรับรู้และเข้าใจเจตนาของทุกฝ่ายทั้งฝ่ายผู้ที่ดำเนินการและฝ่ายผู้ใช้บริการรวมถึงชุมชนที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
6 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 2 สิงหาคม 2562 14:29:36
Project trainer
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 2 สิงหาคม 2562 14:30:18 น.

ชื่อกิจกรรม : เบิกจ่ายเงินสนับสนุนการปฎิบัติงานวิชาการพัฒนาเครือข่ายสื่อสาธารณะภาคใต้ งวดที่3

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

-

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

เครือข่ายสื่อฯ

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

แผนงานสื่อ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 1 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

-

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

-

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
26 พฤศจิกายน 2561 เวลา 08:30-16:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยวิลาสลักษณ์  แก้วบุญเรืองวิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรืองเมื่อ 16 กันยายน 2562 16:31:02
Project owner
แก้ไขโดย วิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรือง เมื่อ 3 ตุลาคม 2562 11:53:50 น.

ชื่อกิจกรรม : เวทีเสวนาและแลกเปลี่ยนประเด็นปัญหาที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

1.เพื่อแลกเปลี่ยนประเด็นปัญหาที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัยแนวทางแก้ไขและการจัดการ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

1.สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้  นครศรีธรรมราช
2.เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช 3.สภาองค์กรชุมชนตำบลนาหมอบุญ จังหวัดนครศรีธรรมราช 4.ประธานคณะกรรมการแก้ไขปัญหาความมั่นคงในที่อยู่อาศัยพื้นที่ทำกินและพื้นที่ทางจิตวิญญาณของชุมชนชาวเล 5.ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาองค์กรชุนชนภาคใต้

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

1.ชี้แจงวัตถุประสงค์ ของกิจกรรม 2.นำเสนอบทสรุปและบทเรียนแห่งปัญหาที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัยระดับตำบล 3.เวทีเสวนาและแลกเปลี่ยนประเด็นปัญหาที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัยแนวทางแก้ไขและการจัดการ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 8 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

1.สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้  นครศรีธรรมราช
2.เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช 3.สภาองค์กรชุมชนตำบลนาหมอบุญ จังหวัดนครศรีธรรมราช 4.ประธานคณะกรรมการแก้ไขปัญหาความมั่นคงในที่อยู่อาศัยพื้นที่ทำกินและพื้นที่ทางจิตวิญญาณของชุมชนชาวเล 5.ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาองค์กรชุนชนภาคใต้

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1.ชี้แจงวัตถุประสงค์ ของกิจกรรม 2.นำเสนอบทสรุปและบทเรียนแห่งปัญหาที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัยระดับตำบล 3.เวทีเสวนาและแลกเปลี่ยนประเด็นปัญหาที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย แนวทางแก้ไขและการจัดการ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต การสื่อสาร ปัญหาชุมชนผ่านช่องทาง onground และ online
ผลลัพธ์ ใช้รูปแบบการสื่อสารเป็นส่วนหนึ่งของการพูดคุยร่วมกันเพื่อหาทางออกกับปัญหาที่ดินชุมชน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี่

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
21 พฤศจิกายน 2561 เวลา 07:00-18:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยวิลาสลักษณ์  แก้วบุญเรืองวิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรืองเมื่อ 16 กันยายน 2562 16:29:18
Project owner
แก้ไขโดย วิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรือง เมื่อ 19 กันยายน 2562 09:18:46 น.

ชื่อกิจกรรม : การผลิตสื่อเพื่อการเรียนรู้(สื่อสาธารณะ ไทยพีบีเอส รายงานสถานการณ์ น้ำท่วม)

  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

เพื่อต้องการสื่อสารให้มีการเตรียมความพร้อมและการสื่อสารเพื่อการรับรู้และการรับมือกับสถานการณ์

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

1.สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้  นครศรีธรรมราช
2.เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช 3.ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์น้ำท่วมในเขต อ.เมือง    จ.นครศรีธรรมราช

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ลงพื้นที่ในการเก็บข้อมูลเพื่อผลิตชิ้นงานในรูปแบบสารคดีเชิงข่าว และสื่อสารทางช่องทีวี สาธารณะ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 4 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

1.สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้  นครศรีธรรมราช
2.เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช 3.ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์น้ำท่วมในเขต อ.เมือง    จ.นครศรีธรรมราช

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ลงพื้นที่ในการเก็บข้อมูลเพื่อผลิตชิ้นงานในรูปแบบสารคดีเชิงข่าว และสื่อสารทางช่องทีวี สาธารณะ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต
1.  การนำเสนอผ่านช่องทางการสื่อสาร 2.  ได้สื่อสารจากสถานการณ์จริงจากพื้นที่รับผลกระทบ 3.  ชิ้นงานการสื่อสาร ช่องทีวี สาธารณะ 4.  มีการรายงานสถานการณ์ และเกิดการเตรียมความพร้อมในการรับมือ
ผลลัพธ์ :
1.  พื้นที่อื่นได้รับรู้ถึงผลกระทบจากภัยพิบัติและการเยียวยาช่วยเหลือ 2.  ได้รับความช่วยเหลือและการส่งต่องานสื่อสารสู่สาธารณะ 3.  รายงานสถานการณ์ปัจจุบัน ออกสื่อสาธารณะช่องไบรทีวี 4.  ความเดือดร้อนของประชาชน กับภัยธรรมชาติเกิดความเสียหายในวงกว้าง 5.  เพิ่มช่องทางการสื่อสารเพื่อให้เกิดการช่วยเหลือผู้ประสบภัย 6.  ลดการสูญเสียและเกิดการเตรียมความพร้อมในการรับมือ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
16 พฤศจิกายน 2561 เวลา 08:30-16:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยวิลาสลักษณ์  แก้วบุญเรืองวิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรืองเมื่อ 16 กันยายน 2562 16:25:59
Project owner
แก้ไขโดย วิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรือง เมื่อ 16 กันยายน 2562 16:28:22 น.

ชื่อกิจกรรม : เวทีเสวนา การสร้างความเข้าใจ ใช้อย่างถูกต้องกับการเท่าทัน E SPORT

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

1.เพื่อรับฟังความคิดเห็นในแง่มุมต่างๆของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย และนำไปวิเคราะห์เพื่อเป็นนโยบายสู่การแก้ไขหรือลดปัญหา 2.เพื่อสร้างความรู้และความเข้าใจต่อผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

1.นักเรียน นักศึกษา  คณะอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช 2.สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้  นครศรีธรรมราช
3.เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช 4.สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยจังหวัดนครศรีธรรมราช 5.สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

1.ชี้แจงวัตถุประสงค์ของกิจกรรม 2.บรรยายพิเศษ การสร้างความเข้าใจ ใช้อย่างถูกต้องกับการเท่าทัน
E - SPORT 3.เสวนาหัวข้อ “สานสร้างความเข้าใจ กีฬาใหม่ (E-sport) ในสถานการณ์ปัจจุบัน 4.ชี้แจงกระบวนการห้องย่อย โดยแบ่งเป็น 4กลุ่มกับโจทย์“E-sport ในสถานการณ์ปัจจุบัน สู่อนาคต     - กลุ่มที่ 1 ผู้ที่เคยเล่นหรือผ่านการใช้ประโยชน์จาก E-sport
    - กลุ่มที่ 2 ผู้ปกครองและครูอาจารย์ กับมุมมองที่มีต่อ E-sport
    - กลุ่มที่ 3 องค์กรที่เกี่ยวข้องกับการลดปัญหาจาก E-sport
    - กลุ่มที่ 4 สื่อและภาคพลเมืองกับการใช้พื้นที่สาธารณะและช่องทาง
                  ต่อ E- sport

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 84 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

1.นักเรียน นักศึกษา  คณะอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช 2.สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้  นครศรีธรรมราช
3.เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช 4.สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยจังหวัดนครศรีธรรมราช 5.สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1.ชี้แจงวัตถุประสงค์ของกิจกรรม 2.บรรยายพิเศษ การสร้างความเข้าใจ ใช้อย่างถูกต้องกับการเท่าทัน
E - SPORT 3.เสวนาหัวข้อ “สานสร้างความเข้าใจ กีฬาใหม่ (E-sport) ในสถานการณ์ปัจจุบัน 4.ชี้แจงกระบวนการห้องย่อย โดยแบ่งเป็น 4กลุ่มกับโจทย์“E-sport ในสถานการณ์ปัจจุบัน สู่อนาคต     - กลุ่มที่ 1 ผู้ที่เคยเล่นหรือผ่านการใช้ประโยชน์จาก E-sport
    - กลุ่มที่ 2 ผู้ปกครองและครูอาจารย์ กับมุมมองที่มีต่อ E-sport
    - กลุ่มที่ 3 องค์กรที่เกี่ยวข้องกับการลดปัญหาจาก E-sport
    - กลุ่มที่ 4 สื่อและภาคพลเมืองกับการใช้พื้นที่สาธารณะและช่องทาง
                  ต่อ E- sport

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ผู้เข้าร่วมทุกคนจะสามารถนำความรู้กระจายต่อไปยังผู้อื่นๆได้ 2.โครงการจะสามารถนำความเห็นสรุปวิเคราะห์ให้เกิดเป็นข้อเสนอต่อสมัชชาชาติได้ 3.จะได้ผลลัพธ์จากวงเสวนาเพื่อเป็นแนวทางแก้ไขหรือลดปัญหาในพื้นที่ได้

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
3 พฤศจิกายน 2561 เวลา 08:30-16:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยวิลาสลักษณ์  แก้วบุญเรืองวิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรืองเมื่อ 16 กันยายน 2562 16:23:36
Project owner
แก้ไขโดย วิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรือง เมื่อ 18 กันยายน 2562 09:53:09 น.

ชื่อกิจกรรม : เวทีสาธารณะ ร่วมสร้าง : วัดสร้างสุข (วัดสร้างคน คนสร้างวัด)

  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

เพื่อต้องการสื่อสารการดำเนินกิจกรรมร่วมกันระหว่าง บ้าน วัด โรงเรียน

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

1.สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้  นครศรีธรรมราช
2.เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช 3.ผู้แทนพระสงฆ์
4.ชาวบ้านในบริเวณ ต.ทุ่งคาวัด และพื้นที่ ใกล้เคียง 5.สมาคมประชาสังคม จ.ชุมพร 6.ผู้แทนจากสาธารณสุข
7.ผู้แทนสถานศึกษา
8.ภาคประชาสังคม

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

เป็นเวทีสาธารณะเพื่อการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่าง บ้าน วัด โรงเรียน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 8 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

1.สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้  นครศรีธรรมราช
2.เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช 3.ผู้แทนพระสงฆ์
4.ชาวบ้านในบริเวณ ต.ทุ่งคาวัด และพื้นที่ ใกล้เคียง 5.สมาคมประชาสังคม จ.ชุมพร 6.ผู้แทนจากสาธารณสุข
7.ผู้แทนสถานศึกษา
8.ภาคประชาสังคม

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

เป็นเวทีสาธารณะเพื่อการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่าง บ้าน วัด โรงเรียน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต : เกิดเวทีสาธารณะที่เป็นวงคุยแลกเปลี่ยนและต้นทุนของแต่ละฝ่าย
ผลลัพธ์ : ใช้การสื่อสารเพื่อภายนอกจะได้รับรู้และเป็นแนวทางเพื่อการดำเนินงานในพื้นที่อื่นๆ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-