น้ำหมักชีวภาพและสบู่ล้างมือจากสารสกัดข้าว หมู่ที่ 10 คลองถ่ำตะบัน ต.ระแหง อ.ลาดหลุมแก้ว จ.ปทุมธานี

น้ำหมักชีวภาพและสบู่ล้างมือจากสารสกัดข้าว หมู่ที่ 10 คลองถ่ำตะบัน ต.ระแหง อ.ลาดหลุมแก้ว จ.ปทุมธานี

ข้อมูลโครงการ

ชื่อนวัตกรรม น้ำหมักชีวภาพและสบู่ล้างมือจากสารสกัดข้าว หมู่ที่ 10 คลองถ่ำตะบัน ต.ระแหง อ.ลาดหลุมแก้ว จ.ปทุมธานี
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
หน่วยงานหลัก สำนักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ
หน่วยงานร่วม คณะครุศาสตร์
ชื่อชุมชน หมู่ที่ 10 คลองถ่ำตะบัน ต.ระแหง อ.ลาดหลุมแก้ว จ.ปทุมธานี
ชื่อผู้รับผิดชอบ อาจารย์ ดร.สุภัชฌาน์ ศรีเอี่ยม
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ เลขที่ 1 หมู่ 20 ถนนพหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 13180
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา -
การติดต่อ 029093026
ปี พ.ศ. 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤศจิกายน 2561 - 30 กันยายน 2562
งบประมาณ 0.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
ปทุมธานี ลาดหลุมแก้ว ระแหง place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
ตำบลระแหง เป็นส่วนหนึ่งของอำเภอลาดหลุมแก้ว พื้นที่มีลักษณะเป็นที่ราบลุ่มและสูง พื้นที่บางส่วนได้รับประกาศเป็นทางการ เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2549 มีการปกครองแบ่งเป็น 12 หมู่บ้าน สภาพโดยทั่วไปในอดีตพื้นที่ตำบลระแหง เป็นป่าพง มีสัตว์เล็กใหญ่อาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก เพราะมีความปลอดภัยและอาหารของสัตว์อย่างเพียงพอ ในฤดูน้ำหลากลงมาพื้นที่ตำบลนี้ จะท่วมทุกพื้นที่ ลึก-ตืน ตามสภาพของพื้นที่และในฤดูแล้ง น้ำตามธรรมชาติจะแห้งเป็นเวลาหลายวันจนกว่าจะถึงฤดูฝน จึงทำให้บริเวณช่วงน้ำดังกล่าวแตกแยกเป็นรอยทั่วๆจำนวนมาก ราษฎรที่อาศัยอยู่บริเวณนี้จึงเรียกขานว่า “คลองระแหง” ตั้งแต่ย้ายถิ่นฐานมา
คำว่า ระแหง จึงได้เป็นชื่อของตำบลนี้ มีความสำคัญตามหลักฐานทางราชการ เป็นที่ตั้งอำเภอ เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2458 เป็นการชั่วคราว ก่อนมีชื่อว่า “อำเภอระแหง” ซึ่งต่อมาในปี พ.ศ.2458 ได้ประกาศให้เรียกชื่ออำเภอที่สร้างใหม่ว่า อำเภอลาดหลุมแก้ว ตำบลระแหง มีความสำคัญในด้านศูนย์รวมชุมชน โดยมีลำคลองระแหง เป็นแหล่งขนถ่ายสินค้าการเกษตรและสัญจรทางเรือ ซึ่งในพื้นที่ตำบลนี้มีประวัติเล่าขานกันต่อๆกันมาจนถึงปัจจุบัน เช่น ถ้ำตะบีน บ้านตับผักชี มีศูนย์กลางขนส่งสินค้าเกษตรทางเรือ มีรถไฟสายระแหง-บางบัวทอง และปัจจุบันตำบลระแหงได้พัฒนาด้านสาธารณูปโภคมากมาย
ประวัติตำบลระแหง ตำบลระแหงเป็นส่วนหนึ่งของอำเภอลาดหลุมแก้ว พื้นที่มีลักษณะเป็นที่ราบลุ่มและสูง พื้นที่บางส่วนได้รับประกาศอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2449 มีการปกครองแบ่งเป็น 12 หมู่บ้าน สภาพโดยทั่วไปในอดีตพื้นที่ตำบลระแหง เป็นป่าพง มีสัตว์เล็กใหญ่ อาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก เพราะมีความปลอดภัยและอาหารของสัตว์อย่างเพียงพอ ในฤดูน้ำหลากลงมาพื้นที่ตำบลนี้ จะท่วมทุกพื้นที่ ลึก-ตื้น ตามสภาพของพื้นที่และในฤดูแล้ง น้ำตามธรรมชาติจะแห้งเป็นเวลาหลายวันจนกว่าจะถึงฤดูฝน จึงทำให้บริเวณช่วงน้ำดังกล่าวแตกแยกเป็นรอยทั่วๆจำนวนมาก ราษฎรที่อาศัยอยู่บริเวณนี้จึงเรียกขานกันว่า “คลองระแหง” ตั้งแต่ย้ายถิ่นฐานมา
คำว่า ระแหง จึงได้เป็นชื่อของตำบลนี้ มีความสำคัญตามหลักฐานทางราชการ เป็นที่ตั้งอำเภอ เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2458 เป็นการชั่วคราว ก่อนมีชื่อว่า “อำเภอระแหง” ซึ่งต่อมาในปี พ.ศ.2458 ได้ประกาศให้เรียกชื่ออำเภอที่สร้างขึ้นใหม่ว่า “อำเภอลาดหลุมแก้ว” ตำบลระแหง มีความสำคัญในด้านศูนย์รวมชุมชนโดยมีลำคลองระแหง เป็นแหล่งขนถ่ายสินค้าการเกษตรจากทางเรือ ซึ่งในพื้นที่ตำบลนี้มีประวัติเล่าขานต่อๆกันมาจนถึงปัจจุบัน

ที่ตั้งของหมู่บ้าน/ชุมชน/ตำบล
องค์การบริหารส่วนตำบลระแหง อยู่ห่างจากอำเภอลาดหลุมแก้วไปทางทิศตะวันออกประมาณ 4 กิโลเมตร มีพื้นที่รวมทั้งสิ้น 39.19 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 24,493.25 ไร่ จำนวนหมู่บ้านที่อยู่ในพื้นที่ จำนวน 9 หมู่บ้าน ดังนี้
หมู่ที่ 1 มีจำนวนหมู่บ้านอยู่ในเขต อบต.บางส่วน อยู่ในเขต ทต.ระแหง บางส่วน
หมู่ที่ 5 มีจำนวนหมู่บ้านอยู่ในเขต อบต.บางส่วน อยู่ในเขต ทต.ระแหง บางส่วน
หมู่ที่ 6 มีจำนวนหมู่บ้านอยู่ในเขต อบต.บางส่วน อยู่ในเขต ทต.ระแหง บางส่วน
หมู่ที่ 7 มีจำนวนหมู่บ้านเต็มทั้งหมู่บ้าน
หมู่ที่ 8 มีจำนวนหมู่บ้านอยู่ในเขต อบต.บางส่วน อยู่ในเขต ทต.ระแหง บางส่วน
หมู่ที่ 9 มีจำนวนหมู่บ้านเต็มทั้งหมู่บ้าน
หมู่ที่ 10 มีจำนวนหมู่บ้านเต็มทั้งหมู่บ้าน
หมู่ที่ 11 มีจำนวนหมู่บ้านเต็มทั้งหมู่บ้าน
หมู่ที่ 12 มีจำนวนหมู่บ้านเต็มทั้งหมู่บ้าน
และในเขตตำบลระแหงมีท้องถิ่นอื่นในตำบล 1 แห่ง คือ เทศบาลตำบลระแหง โดยมี
อาณาเขตติดต่อกับท้องถิ่นอื่น ดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตำบลบ่อเงิน และตำบลหน้าไม้
ทิศใต้ ติดต่อกับ ตำบลคลองพระอุดม และตำบลลาดหลุมแก้ว
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตำบลคูขวาง และตำบลคูบางหลวง
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตำบลหน้าไม้ และตำบลลาดหลุมแก้ว
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
1. คนในชุมชนปลูกข้าวเป็นสินค้าส่งออกหลัก
2. มีดินอุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การท่าเกษตรกรรม
ข้อมูลประเด็นปัญหา
ข้าวที่ปลูกเป็นข้าวคุณภาพต่่า ซึ่งใช้ส่าหรับท่าแป้ง หรือเป็นอาหารสัตว์ ท่าให้ไม่สามารถน่ามารับประทานได้
ต้องซื้อข้าวจากที่อื่นมารับประทาน รวมถึงขายข้าวได้ในราคาที่ไม่สูงนัก เนื่องจากเป็นข้าวคุณภาพต่่า
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่
มีหลายครัวเรือนที่สนใจร่วมโครงการกับทางมหาวิทยาลัย ในการส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิต

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

Action Learning คือ การรวมกลุ่มของคนที่มีระดับของทักษะและประสบการณ์ที่แตกต่างกัน เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและพัฒนาแผนการดำเนินงาน โดยการเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติ และองค์ความรู้การน้ำหมักชีวภาพและสบู่ล้างมือจากสารสกัดข้าว

ประเภทนวัตกรรม

นวัตกรรมชุมชน , นวัตกรรมเกษตร , นวัตกรรมแก้จน , นวัตกรรมสังคม

รายละเอียดนวัตกรรม/หลักการและเหตุผล

ตามที่ภาครัฐได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี ระหว่างปี 2560 ถึง ปี 2579 โดยน้อมนำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน โดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมที่อยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชบรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อนำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 ก็ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการในพระราชดำริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

  • คลองถ่ำตะบัน
  • จ.ปทุมธานี
  • น้ำหมักชีวภาพ
  • สบู่ล้างมือจากสารสกัดข้าว
  • หมู่ที่ 10
  • อ.ลาดหลุมแก้ว

ภาพถ่าย

  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย learnoffice learnoffice เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2562 13:54 น.