สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

การศึกษาศักยภาพและความพร้อมในการจัดทำหลักสูตรและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน

รายละเอียดโครงการ
เลขที่ข้อตกลง เลขที่ 62-ข-001
ชื่อโครงการ การศึกษาศักยภาพและความพร้อมในการจัดทำหลักสูตรและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน
ชุดโครงการ แผนงานโซนใต้อันดามัน
ผู้รับผิดชอบโครงการ อาจารย์มาฆฤกษ์ ชูช่วย
คณะทำงาน ?
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2562 - 31 มีนาคม 2562
งบประมาณโครงการ 150,000.00 บาท
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย (คน) 446
รายละเอียดกลุ่มเป้าหมาย

 

พื้นที่ดำเนินการ ภาคใต้ฝั่งอันดามัน (จังหวัดระนอง, จังหวัดพังงา, จังหวัดภูเก็ต, จังหวัดกระบี่, จังหวัดตรัง และจังหวัดสตูล)
จังหวัด
ละติจูด-ลองจิจูด 7.683347,99.271876place

หลักการและเหตุผล

 

กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

วัตถุประสงค์ของโครงการ / ตัวชี้วัด / การดำเนินกิจกรรม

วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / เป้าหมายตัวชี้วัดความสำเร็จ

วัตถุประสงค์โดยตรง

ศึกษาศักยภาพและความพร้อมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน

เชิงปริมาณ
ชุมชนการท่องเที่ยวในภูมิภาค ทั้งรูปแบบของการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่เน้นอัติลักษณ์เชิงนิเวศ เชิงวัฒนธรรม และเชิงอาหาร ชุมชนการท่องเที่ยวฝั่งอันดามัน เชิงคุณภาพ เกิดข้อเสนอแนะความต้องการของการจำทำหลักสูตรและสถาบันการเรียนรู้การท่องเที่ยวชุมชนกับสุขภาวะ และสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาการท่องเที่ยวของชุมชน และเกิดประสิทธิภาพที่เอื้อต่อการดำเนินกิจกรรมหลักสูตรและสถาบันการเรียนรู้การท่องเที่ยวชุมชนกับสุขภาวะได้อย่างมีประสิทธิผลจริง

ศึกษาความต้องการศึกษาในหลักสูตรการท่องเที่ยวชุมชนและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน

เชิงปริมาณ
ชุมชนการท่องเที่ยวในภูมิภาค ทั้งรูปแบบของการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่เน้นอัติลักษณ์เชิงนิเวศ เชิงวัฒนธรรม และเชิงอาหาร ชุมชนการท่องเที่ยวฝั่งอันดามัน เชิงคุณภาพ เกิดข้อเสนอแนะความต้องการของการจำทำหลักสูตรและสถาบันการเรียนรู้การท่องเที่ยวชุมชนกับสุขภาวะ และสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาการท่องเที่ยวของชุมชน และเกิดประสิทธิภาพที่เอื้อต่อการดำเนินกิจกรรมหลักสูตรและสถาบันการเรียนรู้การท่องเที่ยวชุมชนกับสุขภาวะได้อย่างมีประสิทธิผลจริง

ศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของหลักสูตรที่มีความสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนชุมชน สังคมและภูมิภาค

เชิงปริมาณ
ชุมชนการท่องเที่ยวในภูมิภาค ทั้งรูปแบบของการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่เน้นอัติลักษณ์เชิงนิเวศ เชิงวัฒนธรรม และเชิงอาหาร ชุมชนการท่องเที่ยวฝั่งอันดามัน เชิงคุณภาพ เกิดข้อเสนอแนะความต้องการของการจำทำหลักสูตรและสถาบันการเรียนรู้การท่องเที่ยวชุมชนกับสุขภาวะ และสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาการท่องเที่ยวของชุมชน และเกิดประสิทธิภาพที่เอื้อต่อการดำเนินกิจกรรมหลักสูตรและสถาบันการเรียนรู้การท่องเที่ยวชุมชนกับสุขภาวะได้อย่างมีประสิทธิผลจริง

กิจกรรมหลัก

วันที่ทำกิจกรรมชื่อกิจกรรมหลักงบประมาณ
(บาท)
กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
กิจกรรม
(ครั้ง)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
(ครั้ง)
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
1 กิจกรรมหลักที่ 1 50,000.00 0 - - - - more_vert
2 กิจกรรมหลักที่ 2 100,000.00 446 - - - - more_vert

กิจกรรมย่อยที่ยังไม่กำหนดกิจกรรมหลัก

18 ม.ค. 2562 ทบทวนเอกสาร รูปแบบหลักสูตร CBT 5 25000.00
26 ก.พ. 2562 ทบทวนหลักสูตร CBT 5 30000.00
23 มี.ค. 2562 ทบทวนหลักสูตร CBT 5 13450.00
2 เม.ย. 2562 กิจกรรม Mapping 5 8450.00
29 พ.ค. 2562 ทบทวนหลักสูตร (Mapping) 5 80000.00
3 ก.ค. 2562 กิจกรรม focus group 5 0.00
19 ก.ค. 2562 สังเคราะห์ข้อมูล ประชุมสรุปหลักการ 3 21570.00
รวม 150,000.00 446 7 178,470.00 7 151,588.00

คำเตือน : งบประมาณของกิจกรรมหลัก (150,000.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณของกิจกรรมย่อย (178,470.00 บาท)

โครงการเข้าสู่ระบบโดย เมื่อวันที่ 19 เม.ย. 2567 น.

วันที่ - เวลากิจกรรม - รายละเอียด
19 กรกฎาคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 20 สิงหาคม 2562 10:34:13
Project trainer
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 27 สิงหาคม 2562 11:33:20 น.

ชื่อกิจกรรม : สังเคราะห์ข้อมูล ประชุมสรุปหลักการ

คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์
  1. ศึกษาศักยภาพและความพร้อมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุม
  2. ศึกษาความต้องการศึกษาในหลักสูตรการท่องเที่ยวชุมชนและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน
  3. ศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของหลักสูตรที่มีความสอดคล้องกับค
กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ทีมนักวิชาการ

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

สังเคราะห์ข้อมูล ประชุมสรุปหลักการ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 3 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ทีมนักวิชาการ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ทบทวนเอกสาร รูปแบบหลักสูตร CBT ที่มีอยู่ในปัจจุบัน ทั้งในแบบ degree และ non degree ทุกระดับ ทั้งต่ำกว่า ป.ตรี ป.ตรี โท เอก รวมทั้งรูปแบบการอบรมระยะสั้น

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลที่เกิดขึ้นจริง: ทราบถึงรูปแบบของการจัดการของหลักสูตร ที่เกี่ยวข้องด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชน ในปจจุบัน ที่เกิดขึ้นในภาคใต้ฝั่งอันดามัน ผลผลิต (Output): เป็นการประสานการทำงานกับกลุ่มผู้บริหารของหน่วยงานทั้งรัฐ ท้องถิ่น เอกชน องค์กรสาธารณะประโยชน์ สื่อ เป็นหลัก และเป็นกลุ่มเป้าหมายที่มีกลไกการทำงานของตนเองอยู่
ผลลัพธ์ (Outcome) : กลุ่มชุมชนการท่องเที่ยว รวมทั้งผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียทั้งกลุ่ม ภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษาเกิดการประสานงานที่เป็นระบบกลไกผ่านการรับผิดชอบหลักของโครงการ ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม: 1. ทราบการประสานงานด้วยระบบกลไกการเชื่อมโยงข้อมูลโครงการในการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชน                   2. เกิดความเข้าใจที่มีความคลาดเคลื่อนในวัตถุประสงค์ของโครงการต่อกลุ่มชุมชนการท่องเที่ยว ต่อแนวโน้มการพัฒนาเป็นการจัดทำหลักสูตรและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชนภาคใต้ฝั่งอันดามัน                   3. ได้แนวทางในการศึกษาโอกาส และความเป็นไปได้ของการจัดทำหลักสูตรและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชนภาคใต้ฝั่งอันดามัน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

1.องค์ความรู้ที่เกิดขึ้นมีความหลากหลาย จนเกิดความต่อเนื่องในการพัฒนาของกลุ่มการท่องเที่ยวเที่ยวโดยชุมชน หากจะมีการจัดตั้งจัดทำหลักสูตรและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชนภาคใต้ฝั่งอันดามัน 2.องค์ความรู้จากการพัฒนาขาดการจัดเก็บข้อมูลที่ถูกต้อง (Knowledge Management) ของการท่องเที่ยวชุมชนภาคใต้ฝั่งอันดามัน

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-ควรเข้ามาให้ความรู้แก่ชุมชนในด้านกระบวนการจัดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งร่สมพัฒนาให้ชุมชนมีกระบวนการ และกลไกในการจัดการผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมจากการพัฒนาการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน ซึ่งเป็นพื้นที่ฐานข้อมูลที่สำคัญต่อการจัดทำหลักสูตร หรือแนวโน้มในการพัฒนาให้เกิดสถาบันการเรียนรู้การท่องเที่ยวชุมชน ในพื้นที่ภาคใต้ฝั้งอันดามัน

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
3 กรกฎาคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 20 สิงหาคม 2562 10:19:23
Project trainer
แก้ไขโดย Syuwari เมื่อ 27 พฤศจิกายน 2562 13:48:05 น.

ชื่อกิจกรรม : กิจกรรม focus group

คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์
  1. ศึกษาศักยภาพและความพร้อมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุม2. ศึกษาความต้องการศึกษาในหลักสูตรการท่องเที่ยวชุมชนและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน3. ศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของหลักสูตรที่มีความสอดคล้องกับค
กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ทีมนักวิชาการ

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

กิจกรรม focus group

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 5 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ทีมนักวิชาการ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

สำรวจศักยภาพ ความพร้อม และความต้องการหลักสูตร ใช้วิธี rapid survey ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายทุกกลุ่ม ดังนี้ 1. สำรวจศักยภาพ ความพร้อม ของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียสำคัญในการจัดหลักสูตร CBT เช่น สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัย อปท. อบจ.ภาคเอกชนที่สนใจ ฯลฯ ด้วยกระบวนการสัมภาษณ์ และการสนทนากลุ่ม 2. สำรวจความต้องการบุคลกรด้าน CBT (สอบถามผู้ใช้บริการนักศึกษาหรือบัณฑิต เช่น สมาคมท่องเที่ยว ผู้ประกอบการ เจ้าของธุกิจ ภาครัฐ เอกชน สมาคมท่องเที่ยวชุมชน ฯลฯ) ด้วยกระบวนการณ์สัมภาษณ์ และการสนทนากลุ่ม 3. สำรวจความต้องการเรียนด้าน CBT (สอบถามผู้ที่ต้องการเรียนลักสูตร ) การตอบแบบสอบถาม และการสนทนากลุ่ม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ทราบข้อมูลที่สำคัฐต่อการพัฒนาการจัดทำหลักสูตรและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้การท่องเที่ยวชุมชน
    ผลผลิต (Output) : ศักยภาพและความพร้อมของผู้มีส่วนสำคัญในการจัดหลักสูตร CBT cและความต้องการของบุคลากรด้าน CBT ที่ได้รับการพัฒนาหลักสูตรหรืออบรม รวมถึงความต้องการเรียน อบรมและพัฒนาด้าน CBT ของกลุ่มการท่องเที่ยวโดยชุมชน ผลลัพธ์ (Outcome) : 1.มีการจัดสรรงบประมาณในการสนับสนุน การจัดทำหลักสูตร CBT               2. เกิดการสนับสนุนทรัพยากรบุคคลในการเข้ามาพัฒนาและจัดทำหลักสูตร               3.เกิดการสนับสนุนการจ้างงาน มีการยอมรับในกระบวนการ และทักษะการทำงานของบุคลากรด้าน CBT               4. มีการสร้างรายได้ และกระจายรายได้สู่ชุมชน               5 .ความต้องการและสนใจในการเรียนนั้น เป็นรูปแบบของการพัฒนาแบบการอบรมแบบหลักสูตรระยะสั้น
                  6. หลักสูตรที่เกิดขึ้นเน้นการพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถเฉพาะด้านการบริการ การตลาด และการจัดการเชิงธุรกิจ ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม : จากการจัดทำเวทีการสนทนากลุ่ม (Focus Group) ทราบประเด็นข้อมูลที่สำคัญๆ เกี่ยวกับ ข้อมูลส่วนความต้องการในการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชนเช่น ประเด็นด้านศักยภาพของชุมชนต่อการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชนในแต่ละด้าน ประเด็นด้านความต้องการของชุมชนต่อการจัดทำหลักสูตรและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้การท่องเที่ยวชุมชน ด้านการถ่ายทอดองค์ความรู้ของชุมชนเมื่อมีการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน และด้านการสร้างความร่วมมือหรือแนวทางให้แก่ชุมชน
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

จากเวทีการสนทนากลุ่ม (Focus Group) นั้นทราบปัญหา และแนวทางการแก้ไขหลาย ประเด็นดังนี้ 1.ข้อจำกัดด้านงบประมาณที่ไม่เพียงพอและทั่วถึง 2.โครงการที่เกิดขึ้นในการพัฒนาหรือจัดทำหลักสูตรไม่ค่อยต่อเนื่อง และไม่สอดคล้องตามความต้องการของชุมชน 3. เกิดการยอมรับในบุคลากรด้าน CBT บางกลุ่ม และเกิดการเปรียบเทียบทักษะและกระบวนการทำงานหรือการให้บริการกับกลุ่มบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวเฉพาะด้าน 4. ข้อจำกัดของหลักสูตรระยะสั้นในการพัฒนาด้านระยะเวลา ส่งผลต่อการเรียนรู้ที่ไม่อาจจ่อเนื่อง 5. ผู้เข้าร่วมการอรมหลักสูตรระยะสั้นมีการเปลี่ยนแปลงบ่อย 6. หลักสูตรที่เกิดขึ้นควรมาจากความต้องการของกลุ่มท่องเที่ยวโดยชุมชนเป็นหลัก และมีกรอบระยะเวลาของหลักสูตร และการปรเมินผลอย่างมีกลไกและมีเกิดประสิทธิผล

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.
  • แนวทางในการจัดทำหลักสูตรและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน นั้นชุมชนหลายชุมชนให้ความเห็นว่ามีความพร้อมและมีศักยภาพในการดำเนินการท่องเที่ยวชุมชน และสิ่งที่ต้องการคือการได้รับการสนับสนุนที่เปิดโอกาสให้ชุมชนได้รับอิสระในการแสดงความคิดเห็น และดำเนินกิจกรรมได้ตรงตามความต้องการของชุมชนเป็นหลัก หากมีการจัดอบรมหรือมีหลักสูตรการเรียนใดๆ ชุมชนพร้อมที่จะเข้าร่วม ซึ่งหลักสูตรต่างๆจะต้องมาจาก การได้รับการสำรวจความต้องการและรับฟังความเห็นของชุมชนด้วยส่วนหนึ่ง เพื่อให้ชุมชนได้รับความรู้ อย่างแท้จริงและนำไปพัฒนาต่อยอดให้เกิดประโยชน์สูงสุด เช่น การใช้งานสื่อออนไลน์เพื่อเพิ่มยอดขาย ให้แก่ผลิตภัณฑ์ การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ได้รับความสนใจจากลูกค้าและนักท่องเที่ยว การพัฒนารูปลักษณ์ของสินค้าให้โดดเด่นมีเอกลักษณ์ การใช้สื่อประชาสัมพันธ์สถานที่ท่องเที่ยว  ทาง สสส.สามารถเข้ามาเป็นตัวแทนสื่อกลางในการประสานกิจกรรมการพัฒนาหลักสูตรระยะสั้นที่ตรง และสนองตอบต่อความต้องการของชุนชนการท่องเที่ยวแตละภูมินิเวศ กับองค์กรอื่นๆ ซึ่งเป้นผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคสถาบันการศึกษา
ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
29 พฤษภาคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 19 สิงหาคม 2562 16:02:07
Project trainer
แก้ไขโดย makharerk เมื่อ 26 สิงหาคม 2562 15:13:37 น.

ชื่อกิจกรรม : ทบทวนหลักสูตร (Mapping)

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์

ทบทวนหลักสูตร (Mapping)

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

นักวิชาการ

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ทบทวนหลักสูตร (Mapping)

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 5 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

นักวิชาการ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

-

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เกิดการสังเคราะห์ข้อมูลเชิงประจักษ์ด้านการจัดทำหลักสูตรและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน ได้ดังนี้ ผลผลิต (Output) : คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของหลักสูตรที่มีความสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนชุมชน สังคมและภูมิภาค
    ผลลัพธ์ (Outcome) : หลักสูตรที่พึงประสงค์ และมีความสอดคล้องกับการท่องเที่ยวโดยชุมชนในปัจจุบัน ควรเป็นหลักสูตรระยะสั้น ด้วยองค์ประกอบและขีดจำกัดของการพัฒนาชุมชนหลายๆ ด้าน เช่น ด้านระยะเวลา ด้านต้นทุนค่าใช้จ่าย และด้านการจัดการความรู้ในระยะยาว ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม: ความต้องการศึกษาในหลักสูตรการท่องเที่ยวชุมชนและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน เป็นหลักสูตรรูปแบบระยะสั้น ซึ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในชุมชน ด้านต่างๆ เช่น ทักษะด้านภาษา ทักษะด้านการบริการ ด้านการตลาด และด้านเทคโรชนโลนี ซึ่งมาจากหน่วยงานที่ศักยภาพและความพร้อมที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษา ต่างๆ เช่น สำนักงานท่องเที่ยวและกีฬาจัดหวัด การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยสำนักงานจังหวัด สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด และมหาวิทยาลัยในเขตภูมภาคภาคใต้ฝั่งอันดามัน อีก 6 แห่ง เป็นต้น ซึ่งได้จัดทำโครงการพัฒนา เป็นหลักสูตรระยะสั้น หลากหลายโครงการ ตามรอบระยะเวลาของปีงบประมาณ ที่ได้รับการจัดสรร
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-หลักสูตรระยะสั้นที่เกิด จากการสะท้อนภาพ จากกกิจกรรมการ mapping ทำให้ทราบข้อมูล ด้วยความหลากหลายของความรู้บนวิถีชีวิตท้องถิ่นต่างๆ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่บุคลากรในชุมชน ชาวบ้าน หรือกลุ่มผู้นำตามหลักการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ความสำคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาชุมชน ซึ่งหลักสูตรระยะสั้นการท่องเที่ยวชุมชน ในปัจจุบันมีกรอบของลักษณะหลักสูตรที่มีวัตถุประสงค์ในการอบรม ดังรายละเอียดหลักสูตรระยะสั้นต่อไปนี้ หลักสูตรระยะสั้นของ CBT 1. หลักสูตรแนวคิด-หลักการ “การท่องเที่ยวโดยชุมชน”
2. หลักสูตรบันได 10 ขั้นในการเตรียมความพร้อมชุมชน
3. หลักสูตรการตลาดสำหรับการท่องเที่ยวโดยชุมชน
4. หลักสูตรทักษะการสร้างการเรียนรู้ให้กับชุมชน CBT 5. หลักสูตรประเมินศักยภาพของชุมชนด้านการท่องเที่ยว 6. หลักสูตรการพัฒนาการให้บริการยกระดับการท่องเที่ยวโดยชุมชน
หลักสูตรตัวอย่างข้างต้นนี้ ควรมาจากการสำรวจจากคความต้องการของชุมชน ร่วมกับหน่วยงานหรือองค์กรที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับการท่องเที่ยวชุมชน จัดทำขึ้น อย่างต่อเนื่อง มีกรอบระยะเวลา ที่ชัดเจน และจัดหลักสูตร เป็นรุ่น พัฒนาให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชุมชนที่สามารถเป็นต้นแบบด้านการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนแต่ละด้าน เป็นต้น

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-หน่วยงาน สสส. ควรมีการสนับสนุน หลักสูตรระยะสั้น ร่วมกันกับหน่วยงานหรือองค์กรผู้มีาส่วนได้ส่วนเสียกับการจัดการการท่องเที่ยวชุมชน

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
2 เมษายน 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 20 สิงหาคม 2562 09:36:51
Project trainer
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 28 สิงหาคม 2562 13:44:41 น.

ชื่อกิจกรรม : กิจกรรม Mapping

คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์

-

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ทีมนักวิชาการ

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

กิจกรรม Mapping

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 5 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ทีมนักวิชาการ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

กิจกรรม Mapping

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

กิจกรรม Mapping

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
23 มีนาคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 20 สิงหาคม 2562 09:27:04
Project trainer
แก้ไขโดย makharerk เมื่อ 26 สิงหาคม 2562 15:24:13 น.

ชื่อกิจกรรม : ทบทวนหลักสูตร CBT

  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์
  1. ศึกษาศักยภาพและความพร้อมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุม
  2. ศึกษาความต้องการศึกษาในหลักสูตรการท่องเที่ยวชุมชนและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน
  3. ศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของหลักสูตรที่มีความสอดคล้องกับค
กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ทีมนักวิชาการ

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ทบทวนหลักสูตร CBT

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 5 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ทีมนักวิชาการ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

-

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-ทบทวนข้อมูลจากข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิ เพิ่มเติมเกี่ยวกับ ข้อมูลของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมทั้ง แนวทางของหลักสูตรที่เป็นไปได้

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
26 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 19 สิงหาคม 2562 15:49:53
Project trainer
แก้ไขโดย makharerk เมื่อ 26 สิงหาคม 2562 15:28:32 น.

ชื่อกิจกรรม : ทบทวนหลักสูตร CBT

  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์

เพื่อทบทวนเอกสาร หลักสูตร CBT

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

นักวิชาการ

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

1 สำรวจศักยภาพ ความพร้อม ของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียสำคัญในการจัดหลักสูตร CBT เช่น สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัย อปท. อบจ.ภาคเอกชนที่สนใจ ฯลฯ
2 สำรวจความต้องการบุคลกรด้าน CBT (สอบถามผู้ใช้บริการนักศึกษาหรือบัณฑิต เช่น สมาคมท่องเที่ยว ผู้ประกอบการ เจ้าของธุกิจ ภาครัฐ เอกชน สมาคมท่องเที่ยวชุมชน ฯลฯ) 3 สำรวจความต้องการเรียนด้าน CBT (สอบถามผู้ที่ต้องการเรียนลักสูตร )

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 5 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

นักวิชาการ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ทบทวนหลักสูตร CBT

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้แนวทางในการศึกษาข้อมูล ของการจัดทำหลักสูตร รวมทั้งกรอบข้อเสนอแนะจากผู้ทรงคุณวุฒิ ภายในหน่วยงาน สจรส มอ. เกี่ยวกับข้อมูล ในการทบทวน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข
  • กรอบแนวคิดในการทบทวนข้อมูล มีข้อจำกัด พร้อมทั้งข้อมูลสนับสนุน อื่นๆ ส่วนใหญ่ เป็น แบบข้อมูลของหลักสูตรการท่องเที่ยว หรือการลักสูตรการจัดการท่องเที่ยวในสถาบันการศึกษา
ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-ได้รับการสนับข้อเสนอที่ดีต่อกิจกรรมการทบกวนหลักสูตร CBT จากผู้ทรงคุณวุฒิ

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
15 มกราคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์ฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์เมื่อ 5 เมษายน 2562 14:45:41
Project creater , Project owner
แก้ไขโดย Syuwari เมื่อ 27 พฤศจิกายน 2562 11:57:31 น.

ชื่อกิจกรรม : ทบทวนเอกสาร รูปแบบหลักสูตร CBT

  • photo ข้อมูลตัวอย่าง หน่วยงานที่จัดการเรียนการสอนในหลักสูตร CBTข้อมูลตัวอย่าง หน่วยงานที่จัดการเรียนการสอนในหลักสูตร CBT
  • photo ตัวอย่าง: ข้อมูลโครงสร้างหลักสูตร CBTตัวอย่าง: ข้อมูลโครงสร้างหลักสูตร CBT
  • photo ตัวอย่าง : คำอธิบายรายวิชาหลักสูตร CBTตัวอย่าง : คำอธิบายรายวิชาหลักสูตร CBT
  • photo ตัวอย่าง: รายวิชาทั้งหมดของหลักสูตร CBTตัวอย่าง: รายวิชาทั้งหมดของหลักสูตร CBT

ไฟล์ประกอบกิจกรรม

คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์
  1. ศึกษาศักยภาพและความพร้อมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุม2. ศึกษาความต้องการศึกษาในหลักสูตรการท่องเที่ยวชุมชนและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน3. ศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของหลักสูตรที่มีความสอดคล้องกับค
กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

-

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

  1. ทบทวนเอกสาร รูปแบบหลักสูตร CBT ที่มีอยู่ในปัจจุบัน ทั้งในแบบ degree และ non degree ทุกระดับ ทั้งต่ำกว่า ป.ตรี  ป.ตรี  โท  เอก รวมทั้งรูปแบบการอบรมระยะสั้น
  2. จัดทำ mapping และสังเคราะห์รูปแบบหลักสูตรที่พึงประสงค์จากการทบทวนเอกสารในข้อที่ 1
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

-

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

-

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ศึกษาข้อมูล การจัดทำหลักสูตร ทั้ง หมดที่มีความเกี่ยวข้องกับ รูปแบบหลักสูตร CBT ในปัจจุบัน
    ผลผลิต : ได้ข้อมูลจากการศึกษา การจัดกทำหลักสูตร ในแบบ degree และ non degree ทั้ง 4 รุปแบบ คือ ตำกว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี และหลักสูตรระยะสั้น ผลลัพธ์ : ข้อมูลของการจัดทำหลักสูตร ในปัจจุบัน ที่เกี่ยวข้องและสอดคล้องกับหลักสูตร CBT มี รุปแบบหลักสูตรระยะสั้น ภายใต้ความรับผิดชอบและดำเนินการโดยหน่วยงานหรือองค์กรภาครัฐ และสถาบันการศึกษา
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-ข้อจำจัดด้านหลักสูตรในปัจจุบันมีค่อนข้างน้อย และเป็นรูปแบบของโครงการ

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-