สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

การประเมินผลโครงการการจัดการสุขภาวะท่ามกลางวิกฤตความรุนแรง

รายละเอียดโครงการ
เลขที่ข้อตกลง 61-ข-063
ชื่อโครงการ การประเมินผลโครงการการจัดการสุขภาวะท่ามกลางวิกฤตความรุนแรง
ชุดโครงการ แผนงานโซนใต้ล่าง
ผู้รับผิดชอบโครงการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณชพงศ จันจุฬา
คณะทำงาน ? 1) อาจารย์ ดร.ณรงค์ศักดิ์ รอบคอบ 2) อาจารย์ ดร.จิรัชยา เจียวก๊ก 3) นางสาวแสงอรุณ นกแอนหมาน
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 มิถุนายน 2561 - 31 ธันวาคม 2561
งบประมาณโครงการ 150,000.00 บาท
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย (คน) 4
รายละเอียดกลุ่มเป้าหมาย

ภาคีผู้จัด ประกอบด้วย 1. สจรส. 2.สปสช. เขต12 12 3.กอรมน. ภาคสี่ส่วนหน้า 4.ศอ.บต. 5.อบต. ญาลันนัน มีสมาชิก 56 คน จิตอาสา จำนวน 280 คน กองทุนสุขภาพตำบล

พื้นที่ดำเนินการ สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
จังหวัด
ละติจูด-ลองจิจูด place

หลักการและเหตุผล

สถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศมายาวนานตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 รัฐบาลพยายามแก้ไขปัญหาดังกล่าวมาโดยตลอดโดยมีการใช้งบประมาณในการแก้ไขปัญในแต่ละปีไม่ต่ำกว่าหมื่นล้าน โดยในปี พ.ศ. 2559 มีการใช้งบประมาณเพื่อแก้ไขปัญหาความไม่สงบสูงถึง 30,176.93 ล้านบาท (สำนักงบประมาณ, 2559) แต่การทุ่มเทงบประมาณไม่ได้ส่งผลให้เหตุการณ์ความรุนแรงลดลง โดยจากการสำรวจของ ศรีสมภพจิตร์ภิรมย์ศรี (2560) พบว่า ในปี พ.ศ. 2559 มีเหตุการณ์ความไม่สงบรวม 815 ครั้ง โดยเกิดที่จังหวัดปัตตานี 310 ครั้ง รองลงมาคือจังหวัดนราธิวาส 276 ครั้ง จังหวัดยะลา 176 ครั้ง และจังหวัดสงขลา 53 ครั้ง โดยมีผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตจากเหตุการณ์รวม 928 คน นอกจากนี้ อัฟฟาน ลาเต๊ะ (2559) ศึกษาความคาดหวังของประชาชนในการแก้ไขปัญหาในพื้นที่ พบว่า ประชาชนต้องการให้รัฐบาลแก้ไขปัญหาเรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจและการยกระดับความเป็นอยู่มากที่สุด รองลงมาคือ การแก้ไขปัญหายาเสพติด และการพัฒนาการศึกษา ตามลำดับ ซึ่งที่ผ่านมารัฐบาลได้ให้ความสำคัญกับการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง หนึ่งในยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาความไม่สงบที่สำคัญของ กองอำนวยการรักษาความมั่นคง ภาค 4 ส่วนหน้า (กอ.รมน.ภาค 4 สน.) คือ โครงการจิตอาสา ญาลันนันบารู ซึ่งเป็นการแก้ไขปัญหาในชุมชนโดยคนในชุมชนที่เป็นจิตอาสาทำงานร่วมกับ กอ.รมน.ภาค 4 สน. ในการร่วมกันคัดกรอง สร้างจิตสำนึก และปรับพฤติกรรม แก่ผู้ที่ข้องเกี่ยวกับยาเสพติด และมีส่วนร่วมในขบวนการก่อความไม่สงบ โครงการการจัดการสุขภาวะท่ามกลางวิกฤติความรุนแรง เป็นแผนงานที่ดำเนินการในพื้นที่พื้นที่ 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบด้วยทุกอำเภอในจังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส และ 4 อำเภอในจังหวัดสงขลา ได้แก่ จะนะ เทพา นาทวี และสะบ้าย้อย ซึ่งเป็นพื้นที่ชายแดนที่กำลังประสบปัญหาสถานการณ์ความไม่สงบ ปัญหายาเสพติด และเศรษฐกิจตกต่ำ ซึ่งที่ผ่านมารัฐบาลมีนโยบายในการแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่องโดยใช้งบประมาณมหาศาล แต่ยังไม่สามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้ ศูนย์วิชาการสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ (ศวสต.) ซึ่งเป็นความร่วมมือของ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) กับสถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สจรส.ม.อ.) จึงได้ดำเนินโครงการการจัดการสุขภาวะท่ามกลางวิกฤตความรุนแรง โดยการพัฒนาศักยภาพหน่วยญาลันนันบารู จิตอาสาญาลันนันบารู แกนนำชุมชน ผู้นำศาสนา และตัวแทนชุมชนให้มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องชุมชนสุขภาวะ ชุมชนเข้มเข็ง แก่ที่เข้าร่วมโครงการ โดยการสร้างกระบวนการเรียนรู้การจัดการฐานข้อมูล กระบวนการทำแผนชุมชน และการเขียนโครงการแก้ปัญหาชุมชนเพื่อลดปัญหาปัจจัยเสี่ยง เหล้า บุหรี่และยาเสพติดในพื้นที่ และขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนสุขภาพตำบล
ซึ่งการดำเนินโครงการ ฯ ดังกล่าว ทำให้เกิดทีมพี่เลี้ยงโครงการซึ่งเป็นคนในพื้นที่ มีมุมมองในเรื่องการจัดการสุขภาวะ และมีศักยภาพในการหนุนเสริมคนในชุมชนในการพัฒนาเป็นโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนได้เกิดโครงการที่ผ่านการอนุมัติและได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนสุขภาพตำบลเพื่อดำเนินกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชน ดังนั้นเพื่อศึกษาความสำเร็จของผลการดำเนินโครงการการจัดการสุขภาวะท่ามกลางวิกฤตความรุนแรง ในครั้งนี้คณะผู้ประเมินจึงจำเป็นต้องกำหนดกรอบการประเมินโครงการ โดยประยุกต์แนวคิดของ CIPP Model เพื่อศึกษาผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินโครงการในมิติบริบทสภาพแวดล้อม (context) ปัจจัยนำเข้า (input) กระบวนการทำงาน (process) ผลผลิต (product)ผลลัพธ์ (outcome) และผลกระทบ (impact)

กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

ในการประเมินโครงการการจัดการสุขภาวะท่ามกลางวิกฤตความรุนแรง ครั้งนี้ คณะผู้ประเมินได้ประยุกต์ กรอบแนวคิดการประเมินของ “CIPP Model” ของ สตัฟเฟิลบีม ( Stufflebeam )

วัตถุประสงค์ของโครงการ / ตัวชี้วัด / การดำเนินกิจกรรม

วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / เป้าหมายตัวชี้วัดความสำเร็จ

วัตถุประสงค์โดยตรง

การประเมินบริบทสภาพแวดล้อม (context) ของโครงการการจัดการสุขภาวะท่ามกลางวิกฤตความรุนแรง

ความต้องการของชุมชน นโยบาย

.การประเมินปัจจัยนำเข้า (input) ของโครงการการจัดการสุขภาวะท่ามกลางวิกฤตความรุนแรง

เพียงพอและเหมาะสมของปัจจัยในการดำเนินการ

การประเมินกระบวนการทำงาน (process) ของโครงการการจัดการสุขภาวะท่ามกลางวิกฤตความรุนแรง
  • ความพึงพอใจในการดำเนินโครงการต่างๆ
  • การประสานงาน
  • การดำเนินโครงการ
การประเมินผลผลิต (product)ผลลัพธ์ (outcome) และผลกระทบ (impact) ของโครงการการจัดการสุขภาวะท่ามกลางวิกฤตความรุนแรง
  • สิ่งที่เกิดขึ้นตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
  • ความต้องการของชุมชน เกณฑ์พิจารณาโครงการ คุณภาพโครงการ
  • ชุมชนเข้มแข็ง

กิจกรรมหลัก

วันที่ทำกิจกรรมชื่อกิจกรรมหลักงบประมาณ
(บาท)
กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
กิจกรรม
(ครั้ง)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
(ครั้ง)
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
1 ศึกษาข้อมูลเอกสารรายละเอียดโครงการ 15,000.00 10 3 9,500.00 3 10,695.00 more_vert
11 ก.ค. 61 จัดประชุมคณะกรรมการเพื่อศึกษารายละเอียดของโครงการและวางกรอบงานอย่างคร่าวๆ 6 - -
23 ก.ค. 61 ประชุมคณะทำงานทบทวนโครงการและกำหนดกรอบแผนงานอย่างชัดเจน 6 - -
24 ก.ค. 61 ประชุมเพื่อศึกษารายละเอียดกลุ่มเป้าหมายจากผู้เกี่ยวข้อง 9 - -
2 ออกแบบเครื่องมือ/ข้อคำถาม 15,000.00 0 2 9,000.00 2 8,317.00 more_vert
14 ส.ค. 61 ออกแบบเครื่องมือ/ข้อคำถาม 6 - -
18 ส.ค. 61 ติดต่อประสานงานกับผู้เกี่ยวข้องเพื่อเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย 7 - -
3 เก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์/โฟกัสกรุ๊ป 20,000.00 0 9 54,500.00 9 56,543.00 more_vert
28 ส.ค. 61 ประชุมงานเพื่อออกแบบการจัดประชุม 6 - -
29 ส.ค. 61 ประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงานจัดประชุมและตรวจสอบเครื่องมือเก็บข้อมูล 5 - -
30 ส.ค. 61 จัดประชุมเพื่อเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์/โฟกัสกรุ๊ป 40 - -
1 ก.ย. 61 ประชุมเพื่อวิเคราะห์ผลการเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์/โฟกัสกรุ๊ป 4 - -
3 ก.ย. 61 ประชุมเพื่อรายงานผลการกรอกข้อมูลและสรุปข้อมูลการประชุมภาพรวม 4 - -
5 ก.ย. 61 ประชุมชี้แจงการลงพื้นที่เก็บข้อมูลร่วมกับอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 5 - -
10 ก.ย. 61 กิจกรมลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูลกับผู้จัดโครงการ 3 - -
17 ก.ย. 61 ลงพื้นที่เก็บข้อมูลกับกลุ่มจิตอาสา 40 - -
22 ก.ย. 61 เก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์/โฟกัสกรุ๊ป 5 - -
4 สรุปผลข้อมูลเบื้องต้น 10,000.00 0 3 13,500.00 3 12,800.00 more_vert
26 ก.ย. 61 กิจกรรมประชุมเพื่อสรุปข้อมูลจากผู้จัดกิจกรรม (สจรส.) 4 - -
4 ต.ค. 61 ประชุมเตรียมลงพื้นที่คืนข้อมูล 4 - -
19 ธ.ค. 61 ประชุมวางแผนเตรียมข้อมูลสรุปเวทีคืนข้อมูล 4 - -
5 นำเสนอผลการศึกษาเบื้องต้น และทวนสอบคำตอบจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง 30,000.00 0 4 32,500.00 4 25,609.00 more_vert
2 ต.ค. 61 ประชุมออกแบบกิจกรรมเวทีคืนข้อมูลชุมชน 8 - -
16 ต.ค. 61 ติดต่อประสานงานการคืนข้อมูล 20 - -
22 ต.ค. 61 ติดต่อประสานสจรส.เพื่อแจ้งการลงพื้นที่ 6 - -
31 ต.ค. 61 จัดเวทีคืนข้อมูล 60 - -
6 จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์ 50,000.00 0 8 38,000.00 8 35,362.00 more_vert
14 ต.ค. 61 ประชุมวางแผนงานจัดทำรูปเล่มรายงาน 6 - -
15 ต.ค. 61 ประชุมออกแบบรูปเล่มรายงาน 4 - -
16 ต.ค. 61 เขียนรูปเล่มรายงาน 4 - -
20 ต.ค. 61 เขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ 4 - -
21 ต.ค. 61 เขียนรูปเล่มรายงาน 5 - -
27 ต.ค. 61 เขียนรูปเล่มรายงาน 5 - -
28 ต.ค. 61 จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์ 5 - -
23 ธ.ค. 61 จัดทำรูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์ 4 - -
7 ตรวจสอบเอกสารการเงิน 5,000.00 0 2 7,000.00 2 4,780.00 more_vert
1 ก.พ. 62 ตรวจสอบเอกสารการเงิน 4 - -
8-15 มี.ค. 62 ติดตามเอกสารเอกสารการเงิน 10 - -
รวม 145,000.00 10 31 164,000.00 31 154,106.00

คำเตือน : งบประมาณของกิจกรรมหลัก (145,000.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณของกิจกรรมย่อย (164,000.00 บาท)

คำเตือน : งบประมาณของโครงการ (150,000.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณของกิจกรรมหลัก (145,000.00 บาท)

โครงการเข้าสู่ระบบโดย เมื่อวันที่ 20 เม.ย. 2567 น.

วันที่ - เวลากิจกรรม - รายละเอียด
8 มีนาคม 2562 เวลา 10:00 น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
แก้ไขโดย สุทธิพงษ์ อุสาหะพงษ์สิน เมื่อ 19 มีนาคม 2562 13:44:17 น.

ชื่อกิจกรรม : ติดตามเอกสารเอกสารการเงิน

  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : ได้น้อยกว่าเป้าหมายมาก (1)
วัตถุประสงค์

เพื่อติดตามเอกสารการเงินโครงการที่ต้องได้รับการแก้ไขให้ถูกต้อง

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมประชุมเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2561

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ติดตามเอกสารการเงินจากผู้เข้าร่วมโครงการ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 10 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

กลุ่มจิตอาสาญาลันนันที่เป็นตัวแทนเข้าร่วมการประชุมเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2561

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1.ประสานงาน นัดหมาย กลุ่มจิตอาสา เพื่อปรับแก้เอกสาร 2.เดินทางลงพื้นที่เพื่อพบกับจิตอาสาจาก ม.อ.ปัตานี - พื้นที่ทำงานของจิตอาสา 3.ชี้แจงรายละเอียดการแก้ไขเอกสาร 4.เดินทางกลับจาก พื้นที่ทำงานของจิตอาสา - ม.อ.ปัตตานี

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จิตอาสาแจ้งวันเวลาที่สะดวกในการแก้ไขเอกสาร โดยผู้ช่วยงานโครงการได้ลงพื้นที่ไปตามจังหวัดต่างๆ เพื่อพบกับจิตอาสา ได้แก่ ค่ายสิรินธร จ.ยะลา ต.สุคิริน อ.สุคิริน จ.นาธิวาส และ อ.สุไหงโกลก จ.นราธิวาส 

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
1 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
แก้ไขโดย ศูนย์วิชาการเพื่อการพัฒนาสุขภาวะชุมชนภาคใต้ตอนล่าง เมื่อ 17 มีนาคม 2562 15:26:00 น.

ชื่อกิจกรรม : ตรวจสอบเอกสารการเงิน

  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อตรวจสอบเอกสารการเงินโครงการ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ผู้ช่วยงานโครงการชั่วคราว 1 คน เจ้าหน้าที่การเงิน สจรส. 2 คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณกับผู้สนับสนุนงบประมาณโครงการ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 3 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ผู้ช่วยงานโครงการ 1 คน เจ้าหน้าที่สจรส. 2 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1.เดินทางจาก ม.อ.ปัตตานี - สจรส. 2.นัดหมายจนท.สจรส. 3.ตรวจสอบเอกสาร 4.เดินทางกลับจาก สจรส. - ม.อ.ปัตตานี

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการตรวจสอบเอกสารการเงินกับจนท.สจรส. พบว่า ในโครงการมีเอกสารการเงินหลายฉบับต้องมีการแก้ไขให้ถูกต้องตามระเบียบการเงินของผู้ให้ทุน ซึ่ง ทางจนท.สจรส. ให้ ผู้ช่วยงานโครงการนำเอกสารการเงินทั้งหมดมาแก้ไขและติดตามเอกสารการใช้จ่ายให้ครบถ้วน โดยจะนัดหมายการตรวจสอบเอกสารการเงินอีกครั้งในวันที่ 19 มีนาคม 2562

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ผู้ช่วยโครงการจะต้องติดต่อประสานงานผู้เกี่ยวข้องเพื่อปรับปรุงเอกสารให้ถูกต้อง ซึ่งใช้ระยะเวลาที่นาน เนื่องจากจะต้องเดินทางลงพื้นที่เพื่อติดตามเอกสารจากผู้เข้า่วมโครงการ

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
23 ธันวาคม 2561 เวลา 16:00 น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
แก้ไขโดย ศูนย์วิชาการเพื่อการพัฒนาสุขภาวะชุมชนภาคใต้ตอนล่าง เมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2562 11:44:36 น.

ชื่อกิจกรรม : จัดทำรูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์

  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อพิมพ์เนื้อหาผลการประเมินลงในรูปเล่มรายงาน

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะทำงานและผู้ช่วยงาน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ดำเนินการตรวจสอบ ข้อมูล เนื้อหา ความถูกต้องสมบูรณ์ในรูปเล่มรายงาน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 4 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงาน 1) ผศ.ณชพงศ จันจุฬา 2) ดร.ณรงค์ศักดิ์ รอบคอบ 3) ดร.จิรัชยา เจียวก๊ก 4) ดร.ชัยวัฒน์ โยธี ผู้ช่วยงาน
1) นางสาวแสงอรุณ นกแอนหมาน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1) ตรวจสอบ ข้อมูล เนื้อหา ความถูกต้องสมบูรณ์ในรูปเล่มรายงาน 2) นำรายงานไปจัดทำรูปเล่ม ฉบับสมบูรณ์

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

..... หลังจากข้อมูลที่ความเรียบร้อย สมบูรณ์ คณะผู้ประเมินได้ทำการตวจสอบ ความสมบูรณ์ของเนื้อหา และได้มอบหมายให้ผู้ช่วยงานนำรายงานไปจัดทำรูปเล่ม จำนวน 3 เล่ม เพื่อเสนอต่อผู้ให้ทุน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
23 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
แก้ไขโดย ศูนย์วิชาการเพื่อการพัฒนาสุขภาวะชุมชนภาคใต้ตอนล่าง เมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2562 11:35:07 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมวางแผนเตรียมข้อมูลสรุปเวทีคืนข้อมูล

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อเพิ่มเนื้อหาผลการประเมินลงในรูปเล่มรายงาน

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะทำงาน ผู้ช่วยงาน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ประชุมพูดคุย เพื่อสอดแทรกเนื้อหาเพิ่มเติมที่ได้จากการลงพื้นที่คืนข้อมูล

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 4 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงาน 1) ผศ.ณชพงศ จันจุฬา 2) ดร.ณรงค์ศักดิ์ รอบคอบ 3) ดร.จิรัชยา เจียวก๊ก 4) ดร.ชัยวัฒน์ โยธี ผู้ช่วยงาน
1) นางสาวแสงอรุณ นกแอนหมาน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1) คณะทำงานและผู้ช่วยงาน ทำการทบทวนข้อมูล และตรวจสอบเนื้อหาที่ได้ดำเนินการไว้ในครั้งก่อน 2) คณะทำงานได้ร่วมกันเขียนข้อมูล เรียบเรียงเนื้อหา ในแต่ละส่วนของเล่มรายงาน 3) รวบรวมเนื้อหาจากแต่ละส่วนเข้าด้วยกัน และถกประเด็นข้อมูลที่พบจากการเขียนเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลกันภายในที่ประชุม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการประชุมสรุปผลข้อมูลที่ได้จากการจัดเวทีคืนข้อมูล ซึ่งเป็นข้อมูลสะท้อนหลังจากที่กิจกรรมการประเมินเสร็จสิ้น คณะทำงานมองว่า ข้อมูลดังกล่าวยังมีความสำคัญที่จะนำมาเติมเต็มข้อมูลในบางส่วนได้อีก จึงได้มีการรวบรวมข้อมูลจากเวทีคืนข้อมูล ซึ่งเป็นข้อมูลที่ได้จากการบันทึกการสนทนาโดยผู้ช่วยงาน และเครื่องบันทึกเสียง บางช่วงบางตอนของข้อมูลได้ถูกนำมาวิเคราะห์โดยผู้ประเมิน และเรียบเรียงใส่ลงในรูปเล่มรายงาน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
31 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
แก้ไขโดย สุทธิพงษ์ อุสาหะพงษ์สิน เมื่อ 19 มีนาคม 2562 13:42:05 น.

ชื่อกิจกรรม : จัดเวทีคืนข้อมูล

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

เพื่อนำเสนอผลการประเมินแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องให้ได้รับทราบ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะทำงาน 1) ผศ.ณชพงศ จันจุฬา 2) ดร.ณรงค์ศักดิ์ รอบคอบ 3) ดร.จิรัชยา เจียวก๊ก 4) ดร.ชัยวัฒน์ โยธี ผู้ช่วยงาน
1) นางสาวแสงอรุณ นกแอนหมาน 2) นางสาวรัฐติการ มะปะสิทธิ์ 3) นางสาวเยาวเรศ วงษ์กล้า ผู้เข้าร่วมงาน - สจรส. - กอรมน. - กลุ่มจิตอาสา - ประชาชนทั่วไป - สื่อมวลชน - สปสช.

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

นำข้อมูลผลการประเมินจากคณะผู้ประเมินไปเผยแพร่แก่กลุ่มเกี่ยวข้อง ดังนี้ 1) กลุ่มผู้จัดโครงการ (ทีมงานสจรส.) 2) กลุ่มจิตอาสาญาลันนันบารู 3) เครือข่ายการดำเนินการและสนับสนุน ได้แก่ 3.1) กอรมน. 3.2) สปสช. เขต 12 3.3) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3.4) ประชาชนทั่วไป

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 60 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

1) กลุ่มผู้จัดโครงการ (ทีมงานสจรส.) 2) กลุ่มจิตอาสาญาลันนันบารู 3) เครือข่ายการดำเนินการและสนับสนุน ได้แก่ 3.1) กอรมน. 3.2) สปสช. เขต 12 3.3) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3.4) ประชาชนทั่วไป 4) คณะผู้ประเมิน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

กำหนดการ เวทีคืนข้อมูลการประเมินผลโครงการการจัดการสุขภาวะท่ามกลางวิกฤตความรุนแรง วันที่ 31 ตุลาคม 2561 ณ ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพผลผลิตทางการเกษตร ตำบลเนินงาม อำเภอรามัน จังหวัดยะลา เวลา รายละเอียดกิจกรรม 09.00 – 10.00 น. ลงทะเบียนเข้าร่วมงาน 10.05 – 10.10 น. กล่าวต้อนรับโดย นายกองค์การบริหารส่วนตำบลเนินงาม นายสาการียา เด็งตา
10.10 – 10.20 น. กล่าวเปิดงานโดย พันเอกสุวรรณ เชิดฉาย หัวหน้าศูนย์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด 10.20 – 11.30 น. คณะผู้ประเมินนำเสนอผลประเมินผลการจัดโครงการการจัดการสุขภาวะท่ามกลางวิกฤตความรุนแรง 11.30 – 11.50 น. เปิดประเด็นแลกเปลี่ยนจากข้อมูลผลการประเมิน และข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 11.50 – 11.55 น. กล่าวสรุปภาพรวมและปิดโครงการโดยตัวแทนจากสถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 11.55 – 12.30 น. ร่วมรับประทานอาหารกลางวัน 12.30 น. ออกเดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1) คณะผู้ประเมินได้ทำการนำเสนอผลการประเมินแก่ผู้เข้าร่วมเวที 2) ตัวแทนผู้ประเมิน ดร.จิรัชยา เจียวก๊ก ได้เป็นผู้ดำเนินรายการและเปิดเวทีให้ประชาชนและผู้เข้าร่วมงานได้เสนอความคิดเห็นและสะท้อนผลข้อมูลที่ได้จากการประเมิน 3) ผู้เข้าร่วมได้มีการเสนอความเห็นและบอกเล่าปะสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลเพิ่มเติม 4) คณประเมินได้ร่วมรับประทานอาหารกับผู้เข้าร่วมเวทีคืนข้อมูล 5) ผู้ประเมินได้ให้สัมภาษณ์กับทีมสื่อมวลชนเพื่อบันทึกรายการนำเสนอแก่ผู้ให้ทุน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
28 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
แก้ไขโดย สุทธิพงษ์ อุสาหะพงษ์สิน เมื่อ 19 มีนาคม 2562 13:40:08 น.

ชื่อกิจกรรม : จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์

  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อพิมพ์เนื้อหาผลการประเมินลงในรูปเล่มรายงาน

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะประเมินและผู้ช่วยงาน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

เขียนรูปเล่มรายงานให้มีความก้าวหน้าเพิ่มขึ้น

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 4 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงาน 1) ผศ.ณชพงศ จันจุฬา 2) ดร.ณรงค์ศักดิ์ รอบคอบ 3) ดร.จิรัชยา เจียวก๊ก 4) ดร.ชัยวัฒน์ โยธี ผู้ช่วยงาน 1) นางสาวแสงอรุณ นกแอนหมาน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1) คณะทำงานและผู้ช่วยงาน ทำการทบทวนข้อมูล และตรวจสอบเนื้อหาที่ได้ดำเนินการไว้ในครั้งก่อน 2) คณะทำงานได้ร่วมกันเขียนข้อมูล เรียบเรียงเนื้อหา ในแต่ละส่วนของเล่มรายงาน 3) รวบรวมเนื้อหาจากแต่ละส่วนเข้าด้วยกัน และถกประเด็นข้อมูลที่พบจากการเขียนเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลกันภายในที่ประชุม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1) คณะทำงานและผู้ช่วยงาน ทำการทบทวนข้อมูล และตรวจสอบเนื้อหาที่ได้ดำเนินการไว้ในครั้งก่อน ......... การจัดทำรูปเล่มในครั้งก่อนนั้น คณะทำงานได้ดำเนินการเขียนข้อมูลเนื้อหาของกลุ่มจิตอาสา หลังจากการลงภาคสนามติดตามกาดำเนินงานหลังที่กลุ่มจิตอาสาได้รับอนุมัติงบประมาณ โดยครั้งนี้ทางคณะทำงานและผู้ช่วยงาน จะทำการร่วมกันตรวจสอบเนื้อหา และจัดทำส่วนประกอบอย่างค่าวๆ ลงในรูปเล่มรายงานเพื่อนำเสนอในเวทีคืนข้อมูล 2) คณะทำงานได้ร่วมกันเขียนข้อมูล เรียบเรียงเนื้อหา ในแต่ละส่วนของเล่มรายงาน ........... คณะทำงานได้แบ่งส่วนงานที่เป็นส่วนประกอบของเล่มรายงาน และร่วมกันจัดทำส่วนประกอบ ได้ แก่ ออกแบบปกรายงาน สารบัญเนื้อหา ตาราง และรูปภาพ ภาคผนวกส่วนเครื่องมือ และส่วนรูปภาพขณะดำเนินการ และบรรณานุกรม แหล่งอ้างอิงต่างๆ 3) รวบรวมเนื้อหาจากแต่ละส่วนเข้าด้วยกัน และถกประเด็นข้อมูลที่พบจากการเขียนเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลกันภายในที่ประชุม

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
27 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
แก้ไขโดย สุทธิพงษ์ อุสาหะพงษ์สิน เมื่อ 19 มีนาคม 2562 13:38:39 น.

ชื่อกิจกรรม : เขียนรูปเล่มรายงาน

  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อเพิ่มเติมเนื้อหารายงานฉบับสมบูรณ์

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะทำงาน และผู้ช่วยงาน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ตรวจสอบและเพิ่มเติมข้อมูลก่อนนำเสนอข้อมูลในเวทีคืนข้อมูล

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 5 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงาน 1) ผศ.ณชพงศ จันจุฬา 2) ดร.ณรงค์ศักดิ์ รอบคอบ 3) ดร.จิรัชยา เจียวก๊ก 4) ดร.ชัยวัฒน์ โยธี ผู้ช่วยงาน 1) นางสาวแสงอรุณ นกแอนหมาน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1) คณะทำงานและผู้ช่วยงาน ทำการทบทวนข้อมูล และตรวจสอบเนื้อหาที่ได้ดำเนินการไว้ในครั้งก่อน 2) คณะทำงานได้ร่วมกันเขียนข้อมูล เรียบเรียงเนื้อหา ในแต่ละส่วนของเล่มรายงาน 3) รวบรวมเนื้อหาจากแต่ละส่วนเข้าด้วยกัน และถกประเด็นข้อมูลที่พบจากการเขียนเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลกันภายในที่ประชุม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1) คณะทำงานและผู้ช่วยงาน ทำการทบทวนข้อมูล และตรวจสอบเนื้อหาที่ได้ดำเนินการไว้ในครั้งก่อน ............. เนื้อหาในครั้งก่อนนั้นคณะทำงานได้ร่วมกันเขียนเนื้อหาในส่วนคุณภาพซึ่งเป็นส่วนที่ได้มาจากกลุ่มผู้จัดโครงการว่ามีการดำเนินการอย่างไรบ้าง 2) คณะทำงานได้ร่วมกันเขียนข้อมูล เรียบเรียงเนื้อหา ในแต่ละส่วนของเล่มรายงาน ............. สำหรับการประชุมเพื่อเขียนรูปเล่มในครั้งนี้ คณะทำงานจะทำการเขียนข้อมุลเนื้อหาในส่วนที่ได้จากกาลงพื้นที่ภาคสนามจากกลุ่มจิตอาสาว่ามีกาดำเนินโครงการภายหลังจากได้รับอนุมัติงบประมาณอย่างไร มีผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับครอบครัว ชุมชน และสังคมอย่างไรบ้าง 3) รวบรวมเนื้อหาจากแต่ละส่วนเข้าด้วยกัน และถกประเด็นข้อมูลที่พบจากการเขียนเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลกันภายในที่ประชุม ............ หลังจากที่คณะทำงานได้นำเนื้อหาในแต่ละส่วนมารวมกัน คณะทำงานแต่ละคนก็จะสรุปสิ่งที่ตนเองได้เขียนเนื้อหาลงในรูปเล่มว่าเป็นอย่างไรบ้าง มีสิ่งไหนที่ต้องปรับแก้เพิ่มเติมจากคณะทำงานอื่นๆ 

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
22 ตุลาคม 2561 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
แก้ไขโดย สุทธิพงษ์ อุสาหะพงษ์สิน เมื่อ 19 มีนาคม 2562 13:36:46 น.

ชื่อกิจกรรม : ติดต่อประสานสจรส.เพื่อแจ้งการลงพื้นที่

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อประสานงานและเตรียมการร่วมกันระหว่างผู้ประเมินและสจรส.

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะผู้ประเมิน 2 ท่าน ทีมงานสจรส. 2 ท่าน ทีมสื่อ 2 ท่าน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ประสานงานกับผู้จัดโครงการเพื่ออกแบบกิจกรมการจัดเวทีคืนข้อมูล

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 6 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะผู้ประเมิน 2 ท่าน ทีมงานสจรส. 2 ท่าน ทีมสื่อ 2 ท่าน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ประสานงาน วางแผน เพื่อเตรียมการจัดเวทีคืนข้อมูล

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกิดแนวทางการจัดเวทีคืนข้อมูล ทั้งคณะทำงานและสจรส. มีบทบาทในการดำเนินงานในเวทีคืนข้อมูล ฝ่ายสื่อ ได้รับทราบพล็อตเรื่องการถ่ายทำรายการเกี่ยวกับการเก็บข้อมูลของคณะประเมิน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
21 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00 น. - 18.00 น. น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
แก้ไขโดย สุทธิพงษ์ อุสาหะพงษ์สิน เมื่อ 19 มีนาคม 2562 13:33:20 น.

ชื่อกิจกรรม : เขียนรูปเล่มรายงาน

  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

จัดทำรูปเล่มรายงาน

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะทำงานและผู้ช่วย

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

เขียนเนื้อหาและผลการประเมินในรูปเล่มรายงาน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 4 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงานและผู้ช่วยงาน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

นัดหมายคณะทำงานเพื่อเขียนรูปเล่มายงานให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

......คณะทำงานได้มีการเขียนเนื้อหารายงานลงในรูปเล่มต่อจากวันที่ 20 ตุลาคม 2561 โดยมีการทบทวนเนื้อหาที่ผ่านมา ตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหาที่เขียนไปแล้วก่อนหน้านี้ .....มีการกระจายและมอบหมายงาน โดยคณะทำงานได้แบ่งส่วนงานเป็น 3 ส่วน คือ ผู้ตรวจสอบตารางข้อมูล ผู้ตรวจสอบเนื้อหาตามข้อมูล และผู้ตรวจสอบภาพและการอ้างอิง โดยมีผู้ช่วยงานเป็นผู้เขียนเนื้อหาเพิ่มเติม โดยผลที่ได้จากการเขียนรายงานวันนี้คือ เล่มายงานมีความก้าวหน้าในส่วนของบทนำจนถึงบทที่ 4 มีูปภาพ ตัวแบบ แหล่งอ้างอิงจากการเก็บข้อมูล สามารถที่จะใช้เป็นแบบร่างการคืนข้อมูลในวันที่ 30 ตุลาคม 2561 ได้

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
20 ตุลาคม 2561 เวลา 20:00 น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
แก้ไขโดย ศูนย์วิชาการเพื่อการพัฒนาสุขภาวะชุมชนภาคใต้ตอนล่าง เมื่อ 19 มีนาคม 2562 10:44:28 น.

ชื่อกิจกรรม : เขียนรายงานฉบับสมบูรณ์

  • photo
คุณภาพกิจกรรม : ()
วัตถุประสงค์

เพื่อเพิ่มเนื้อหาลงในรูปเล่มรางานให้มีความสมบูรณ์

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะทำงานและผู้ช่วย

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

เขียนเนื้อหาในรูปเล่มรายงานรายงาน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 6 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงานจำนวน 4 คน ผู้ช่วยงานจำนวน 2 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1) นัดหมายคณะทำงานเพื่อร่วมกันเขียนรูปเล่มรายงาน 2) เขียนรูปเล่มรายงาน 3) ตรวจสอบ ประเมินเนื้อหารายงาน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เนื้อหาภายในรูปเล่มรายงานมีความสมบูรณ์เพิ่มขึ้นด้วยข้อมูลที่ถูกเพิ่มจากการเขียนงานของคณะทำงานในส่วนที่ 3 - 4 ทำให้คณะทำงานได้แนวทางการสรุปผลการประเมินได้ง่ายขึ้น

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
16 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00 - 12.30 น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
แก้ไขโดย สุทธิพงษ์ อุสาหะพงษ์สิน เมื่อ 19 มีนาคม 2562 13:31:21 น.

ชื่อกิจกรรม : ติดต่อประสานงานการคืนข้อมูล

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

เพื่อประสานงานกับทางเจ้าของพื้นที่ในการจัดกิจกรรมเวทีคืนข้อมูล

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

  1. เจ้าหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลเนินงาม
  2. แกนนำกลุ่มญาลันนันในพื้นที่เนินงาม
  3. ผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

เดินทางลงพื้นที่เพื่อประสานงานกับท้องถิ่นเพื่อจัดเวทีคืนข้อมูลชุมชน         

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 16 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

  1. เจ้าหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลเนินงาม
  2. แกนนำกลุ่มญาลันนันในพื้นที่เนินงาม
  3. ผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

เวลา                                           รายละเอียดกิจกรรม 08.00 น.                 คณะทำงานพร้อมกัน ณ จุดนัดหมาย (หน้าศูนย์วิชาการเพื่อการพัฒนาสุขภาวะชุมชน ภาคใต้ตอนล่าง ม.อ.ปัตตานี) 08.10 – 09.00 น. ออกเดินทางไปยังตัวเมืองจังหวัดยะลา 09.00 – 09.30 น. รับประทานอาหารเช้า 09.30 – 10.00 น. นัดหมายกับผู้ประสานงานกลาง และเดินทางไปยังองค์การบริหารส่วนตำบลเนินงาม อำเภอรามัน จังหวัดยะลา 10.00 – 10.30 น. ถึงที่หมาย ณ องค์การบริหารส่วนตำบลเนินงาม อำเภอรามัน จังหวัดยะลา 10.00 – 11.30 น. ประสานงานกับเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบลเนินงาม อำเภอรามัน จังหวัดยะลา                                 ในประเด็นดังนี้                                     1.การขอใช้และจัดเตรียมสถานที่คืนข้อมูล ในวันที่ 31 ตุลาคม 2561                                     2.การจัดเตรียมอาหารว่างและอาหารเที่ยงกับผู้เข้าร่วมประชุม ประสานงานกับผู้ประสานงานกลาง ในประเด็น ดังนี้                                   1.การเชิญภาคีเครือข่าย                                   2.จำนวนตัวแทนจิตอาสาและผู้เข้าร่วม จำนวน 50 ท่านจากทุกพื้นที่ 11.30 – 12.00 น. เดินทางกลับสู่ตัวเมืองจังหวัดยะลา 12.30 – 13.00 น. รับประทานอาหารเที่ยง 13.00 – 14.00 น. ออกเดินทางกลับสู่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์โดยสวัสดิภาพ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1) ประสานงานกับเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบลเนินงาม อำเภอรามัน จังหวัดยะลาในประเด็นดังนี้   1.1) การขอใช้และจัดเตรียมสถานที่คืนข้อมูล ในวันที่ 31 ตุลาคม 2561 ....... ทางอบต.เนินงาม ได้เสนอสถานที่จัดงานเป็น ศูนย์เรียนรู้เพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพผลผลิตทางการเกษตรในพื้นที่ โดยสถานที่ดังกล่าวไม่มีค่าใช้จ่ายและมีความพร้อมในการจัดงานมากที่สุด โดยทางอบต.จะสนับสนุนคนช่วยงานและประสานชุมชนเพิ่มเติมคือ นักพัฒนาชุมชนประจำตำบล เป็นผู้ดูแลสถานที่จัดงานหลัก   1.2) การจัดเตรียมอาหารว่างและอาหารเที่ยงกับผู้เข้าร่วมประชุม ...... ในด้านอาหารและเครื่องดื่มนั้น ทางกลุ่มจิตอาสาญาลันนันในพื้นที่ นำโดย กะอะห์ จะเป็นผู้ดูแลทั้งหมด ทั้งอาหารว่างและอาหารกลางวัน 2) ประสานงานกับผู้ประสานงานกลาง ในประเด็น ดังนี้ 2.1) การเชิญภาคีเครือข่าย ........ ภาคีเครือข่ายที่ผู้ประสานงานกลางจะประสานเพื่อเข้าร่วมกิจกรรม ได้แก่ 1) พักเอกสุวรรณ เชิดฉาย กอรมน.ภส. 2) สปสช. เขต 12 3) สจรส. 2.2) จำนวนตัวแทนจิตอาสาและผู้เข้าร่วม จำนวน 50 ท่านจากทุกพื้นที่ ......ผู้ประสานงานกลางจะทำการประสานกับกลุ่มจิตอาสาทุกพื้นที่ให้มาเข้าร่วมในกิจกรรมเวทีคืนข้อมูล โดยคัดตัวแทนชุมชน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
16 ตุลาคม 2561 เวลา 13:00 น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
แก้ไขโดย สุทธิพงษ์ อุสาหะพงษ์สิน เมื่อ 19 มีนาคม 2562 13:30:10 น.

ชื่อกิจกรรม : เขียนรูปเล่มรายงาน

  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพิ่มเติมเนื้อหาลงในรูปเล่มรายงาน

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะทำงานและผู้ช่วยงาน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

วางโครงร่างเนื้อหาในรูปเล่มรายงาน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 3 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ผู้ช่วยงานคณะทำงาน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

นัดหมายทีมงาน ออกแบบ วิเคราะห์ข้อมูล และเขียนเนื้อหารายงาน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกิดกรอบแนวคิดการเขียนงานที่ผ่านการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลที่ผ่านการจัดหมวดหมู่ข้อมูล และสามารถที่จะจัดการข้อมูลลงในเนื้อหาเล่มรายงานได้

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
15 ตุลาคม 2561 เวลา 13.30-20.30 น. น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
แก้ไขโดย สุทธิพงษ์ อุสาหะพงษ์สิน เมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2562 17:38:24 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมออกแบบรูปเล่มรายงาน

  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อพิมพ์เนื้อหาผลการประเมินลงในรูปเล่มรายงาน

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะทำงาน ผู้ช่วยงาน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

นัดหมายคณะทำงานและผู้ช่วยงาน เพื่อร่วมกันเขียนเนื้อหาเล่มรายงาน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 4 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงาน 3 คน ผู้ช่วยงาน 1 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ประสานงานนัดหมายคณะทำงานเพื่อร่วมกันเขียนเนื้อหารายงาน ทบทวนเนื้อหารายงาน เริ่มการเขียนเนื้อหารายงาน พักรับประทานอาหาร

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประสานงานนัดหมายคณะทำงานเพื่อร่วมกันเขียนเนื้อหารายงาน ......คณะทำงานได้มายังสถานที่นัดหมายเขียนงานในเวลา 16.30 น. ทบทวนเนื้อหารายงาน ...... คณะทำงานได้มีกาอ่าน ทบทวน เนื้อหาายงานที่เขียนไว้ในครั้งที่แล้ว และได้นำผลการประเมินมาวิเคราะห์ จัดหมวดหมู่คำตอบ และแลกเปลี่ยนความเห็นต่อกัน เริ่มการเขียนเนื้อหารายงาน ..... คณะทำงานได้เริ่มทำการเขียนเนื้อหาายงานต่อจากคั้งที่แล้วซึ่งใช้เวลาปประมาณ 2 ชั่วโมง ซึ่งทำให้การเขียนงานในครั้งนี้ได้บทที่ 1 และบทที่ 2 เกิดขึ้น พักรับประทานอาหาร

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
14 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00 น. - 18.00 น. น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
แก้ไขโดย สุทธิพงษ์ อุสาหะพงษ์สิน เมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2562 17:49:59 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมวางแผนงานจัดทำรูปเล่มรายงาน

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อให้เกิดโครงเรื่องในบทรายงานแต่ละบท

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะทำงาน ผู้ช่วยงาน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ประชุม และเขียนร่างรายงาน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 4 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงาน ผศ.ณชพงศ จันจุฬา ดร.ณรงค์ศักดิ์ รอบคอบ ดร.จิรัชยา เจียวก๊ก ผู้ช่วยงาน น.ส.แสงอรุณ นกแอนหมาน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. นัดหมายเพื่อรับทราบการประชุม
  2. ชี้แจงการประชุม
  3. ทำการประชุม
  4. ออกแบบร่างรายงาน 5.สรุปงาน
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. นัดหมายเพื่อรับทราบการประชุม ...... คณะทำงานพ้อมเพรียงกัน ณ ที่ประชุม
  2. ชี้แจงการประชุม .... การประชุมครั้งนี้เพื่อให้เกิดโครงเรื่องในบทรายงานแต่ละบท
  3. ทำการประชุม ..... ร่างเล่มรายงานนี้ จะมีด้วยกัน 4 บท และภาคผนวก โดยใช้แบบรายงานคล้ายกับรายงานวิจัย
  4. ออกแบบร่างรายงาน ..... การใช้คำ ระยะขอบ การจัดหน้า ายละเอียดและส่วนประกอบอื่นๆ 5.สรุปงาน
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
4 ตุลาคม 2561 เวลา 12:30 น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
แก้ไขโดย สุทธิพงษ์ อุสาหะพงษ์สิน เมื่อ 19 มีนาคม 2562 13:25:19 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมเตรียมลงพื้นที่คืนข้อมูล

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนลงพื้นที่จัดเวทีคืนข้อมูล

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะผู้ประเมิน ผู้ช่วยงาน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ประชุม รับฟังข้อเสนอ และตรวจสอบความก้าวหน้างาน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 4 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะผู้ประเมิน ผู้ช่วยงาน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. คณะประเมินพร้อมเพรียงกัน ณ ที่ประชุมตามเวลานัดหมาย
  2. ประชุม เสนอข้อคิดเห็น
  3. สรุปการประชุม
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. คณะประเมินพร้อมเพรียงกัน ณ ที่ประชุมตามเวลานัดหมาย
  2. ประชุม เสนอข้อคิดเห็น .... ในการประชุมครั้งนี้ ผู้ประเมินได้มอบหมายหน้าที่เพื่อดำเนินงาน คือ 1) ดร.ณรงค์ศักดิ์ รับผิดชอบในส่วนการแสดงผลข้อมูลในการนำเสนองาน 2) ดร.จิรัชยา เป็นผู้ออกแบบข้อคำถามและกระบวนการในเวทีคืนข้อมูล 3) ผศ.ณชพงศ และนส.แสงอรุณ เป็นผู้ประสานพื้นที่ .....สำหรับพื้นที่ใช้ดำเนินการจัดเวทีคืนข้อมูลคือ ต.เนินงาม อ.รามัน จ.ยะลา เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่โครงการดำเนินการได้สำเร็จและเห็นผลเร็ว มีเครือข่ายที่ดี พร้อมในการจัดกิจกรรม กำหนดการในการติดต่อประสานงานคือ วันที่ 16 ตุลาคม 2561 โดยจะให้ผู้ประสานงานกลางเป็นผู้ติดต่อประสานงาน 3.สรุปการประชุม
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
2 ตุลาคม 2561 เวลา 11:30 น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
แก้ไขโดย สุทธิพงษ์ อุสาหะพงษ์สิน เมื่อ 19 มีนาคม 2562 13:23:15 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมออกแบบกิจกรรมเวทีคืนข้อมูลชุมชน

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อให้เกิดแนวทางการดำเนินงานในชช่วงการตรวจสอบงานและข้อมูลโดยกลุ่มเป้าหมาย

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะทำงาน ผู้ช่วยงาน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

จัดประชุมเพื่อให้คณะทำงานได้ออกแบบกิจกรรมเวทีคืนข้อมูล

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 4 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงาน ผู้ช่วยงาน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1.คณะทำงานพร้อมกัน ณ ที่ประชุม 2.หัวหน้าโครงการได้ทำการชี้แจงมติที่ประชุม 3.ทำการประชุม 4.สรุปผลการประชุม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.คณะทำงานพร้อมกัน ณ ที่ประชุม ......คณะทำงานพร้อมกัน ณที่ประชุมครบทุกท่าน 2.หัวหน้าโครงการได้ทำการชี้แจงมติที่ประชุม ..... มติในที่ประชุมวันนี้ คือ 1) การออกแบบการจัดเวทีคืนข้อมูลในพื้นที่ชุมชนของกลุ่มจิตอาสา
2) การคัดเลือกกลุ่มเข้าร่วมกิจกรรม 3) การแบ่งภาระงานเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมการดำเนินงานกับเครือข่าย 3.ทำการประชุม ..... รายละเอียดแต่ละประเด็นในที่ประชุมวันนี้ คือ 1) การออกแบบการจัดเวทีคืนข้อมูลในพื้นที่ชุมชนของกลุ่มจิตอาสา ...... ในการจัดเวทีคืนข้อมูลครั้งนี้ จัดขึ้นเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ตรวจสอบและยืนยันผลที่ได้จากการประเมิน และให้คณะประเมินได้เก็บข้อมูลเพิ่มเติมจากกลุ่มจิตอาสาในประเด็นที่ขาดหายไป ก่อนที่จะนำมาเขียนใส่ในรูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์ 2) การคัดเลือกกลุ่มเข้าร่วมกิจกรรม ...... การจัดประชุมครั้งนี้ ควรมีผู้เกี่ยวข้องในการให้ข้อมูลเข้าร่วมเพื่อยืนยันข้อมูลทุกส่วน ประกอบด้วย กลุ่มจิตอาสา กลุ่มสจรส. กลุ่มผู้ก่อตั้งกลุ่มญาลันนัน หน่วยงานรัฐเช่น องค์การบริหารส่วนตำบลต่างๆ และ กองทุนตำบล สปสช. เขต 12 3) การแบ่งภาระงานเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมการดำเนินงานกับเครือข่าย ...... การจัดเวทีคืนข้อมูลนี้ คณะประเมินจะดำเนินการประสานงานกับสจรส. เพื่อร่วมดำเนินการจัดเวที โดยให้สจรส. ช่วยประสานกลุ่มภาคีเครือข่ายต่างๆ เช่น สปสช. เขต 12 กอร.มน.ภส. ในขณะที่ทางคณะประเมินจะทำการรับผิดชอบในส่วนของพื้นที่และสถานที่จัดงาน รวมถึงรายละเอียดยิบย่อยต่างๆ ภายในงาน 4.สรุปผลการประชุม

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
26 กันยายน 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
แก้ไขโดย ศูนย์วิชาการเพื่อการพัฒนาสุขภาวะชุมชนภาคใต้ตอนล่าง เมื่อ 19 มีนาคม 2562 09:24:05 น.

ชื่อกิจกรรม : กิจกรรมประชุมเพื่อสรุปข้อมูลจากผู้จัดกิจกรรม (สจรส.)

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อนำข้อมูลที่ได้จากการเก็บข้อมูลมาจัดหมวดหมู่เข้าประเภทงาน

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะทำงาน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

วิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูลร่วมกัน เพื่อให้เกิดผลการประเมินงาน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 4 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงานและประเมิน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. หัวหน้าโครงการได้ทำการเปิดประชุม
  2. คณะทำงานนำผลการประมินมาทำการอธิบายและบอกเล่างานของแต่ละบุคคล เพื่อทราบความก้าวหน้าของงาน
  3. สรุปการประชุม
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. หัวหน้าโครงการได้ทำการเปิดประชุม ..... หัวหน้าโครงการได้ชี้แจงกรอบการประชุมในวันนี้ คือการนำข้อมูลที่ได้จากกลุ่มเป้าหมายทั้ง 2 กลุ่ม มาร่วมวิเคราะห์ข้อมูล และเรียงโครงร่างเล่มงาน
  2. คณะทำงานนำผลการประมินมาทำการอธิบายและบอกเล่างานของแต่ละบุคคล เพื่อทราบความก้าวหน้าของงาน
  3. สรุปการประชุม .... การประชุมวันนี้ทำให้ผู้ประเมินได้รับทราบข้อมูลที่ได้จากการเก็บในช่วงภาคสนาม และข้อมูลอื่นๆ ร่วมกัน รวมถึงทุกคนได้ทราบความก้าวหน้างานของแต่ละบุคคล
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
22 กันยายน 2561 เวลา 19:00 น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
แก้ไขโดย สุทธิพงษ์ อุสาหะพงษ์สิน เมื่อ 19 มีนาคม 2562 12:53:55 น.

ชื่อกิจกรรม : เก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์/โฟกัสกรุ๊ป

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

นำผลข้อมูลมาวิเคราะห์ และจัดหมวดหมู่

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะผู้ประเมิน ผู้ช่วยงาน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

นัดหมายผู้ประเมินและผู้ช่วยเพื่อเก็บข้อมูลและออกแบบการสัมภาษณ์ผู้จัดกิจกรรม

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 6 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะผู้ประเมิน ผศ.ณชพงศ จันจุฬา ดร.ณรงค์ศักดิ์ รอบคอบ ดร.จิรัชยา เจียวก๊ก

ผู้ช่วยงาน นางสาวแสงอรุณ นกแอนหมาน นางสาวรัฐติกาล มะประสิทธิ์ นายธีรวัฒน์ เกตวิสิทธิ์

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. คณะผู้ประเมินและผู้ช่วย พร้อมกันตามเวลานัดหมาย ..... คณะผู้ประเมินได้เดินทางมายังสถานที่นัดหมายเพื่อการประชุม โดยมีผู้สังเกตการณ์มาเพิ่ม 1 คน
  2. เริ่มทำการประชุมงาน ..... คณะทำงานได้เริ่มการประชุม โดยนำข้อมูลของทีมผู้จัดมาบอกเล่าในที่ประชุม เกี่ยวกับกระบวนการดำเนินงานของกลุ่มเป้าหมาย (สจรส.) ในการจัดโครงการ ภายหลังจากนั้นจึงได้ให้ผู้ช่วยงานนำข้อมูลของกลุ่มจิตอาสาฯ ที่ผ่านการวิเคราะห์ สังเคราะห์แล้ว มาบอกเล่า เพื่อหาความสอดคล้องและลำดับเหตุการณ์ และประมวลผลร่วมกัน ........ซึ่งผลการประชุมในครั้งนี้ ช่วยให้ผู้ประเมินสามารถนำข้อมูลจากทั้ง2 กลุ่มเป้าหมาย มาร้อยเรียงและหาความสัมพันธ์ของเวลาและกระบวนการดำเนินงานของโครงการ 3.รับประทานอาหารร่วมกัน
  3. เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. คณะผู้ประเมินและผู้ช่วย พร้อมกันตามเวลานัดหมาย
  2. เริ่มทำการประชุมงาน ...... คณะปะเมินได้ร่วมกันกำหนด วันและเวลาในการเข้าสัมภาษณ์
  3. รับประทานอาหารร่วมกัน
  4. เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
17 กันยายน 2561 เวลา 07.30 น. - 17.30 น. น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
แก้ไขโดย สุทธิพงษ์ อุสาหะพงษ์สิน เมื่อ 19 มีนาคม 2562 12:51:44 น.

ชื่อกิจกรรม : ลงพื้นที่เก็บข้อมูลกับกลุ่มจิตอาสา

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อลงพื้นที่เก็บข้อมูลแบบสังเกตการดำเนินงานของกลุ่มจิตอาสาภายหลังการได้รับอนุมัติงบประมาณ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

  1. กลุ่มจิตอาสาญาลันนันบารู
  2. พี่เลี้ยงกลุ่ม
  3. หน่วยงานในพื้นที่ เช่น องค์การบริหารส่วนตำบล

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

  1. นัดหมายประสานงานตัวแทนกลุ่มจิตอาสา
  2. ขอลงพื้นที่ดูงาน โดยมีผู้ประสานงานกลาง (กะยะห์) และผู้ช่วยคอยเป็นผู้แนะนำให้ข้อมูลเสริมระหว่างลงพื้นที่
  3. สัมภาษณ์และสังเกตการณ์กลุ่มผู้ให้ข้อมูล
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 39 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

  1. กลุ่มจิตอาสาญาลันนันบารู อบต.เนินงาม อบต.ตาชี อบต.ควนโนรี
  2. พี่เลี้ยงกลุ่ม
  3. หน่วยงานในพื้นที่ เช่น องค์การบริหารส่วนตำบล

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

เวลา                                                                 กิจกรรม 07.30 น.                 นัดหมายเตรียมพร้อมเพื่อออกเดินทางจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 08.30 น.                 เดินทางถึง ต.ควนโนรี อ.โคกโพธิ์ จ.หวัดปัตตานี 08.30 น. – 10.00 น. พบปะผู้นำและจิตอาสาญาลันนันบารู เพื่อศึกษาดูงานในพื้นที่ต.ควนโนรี อ.โคกโพธิ์ จ.หวัดปัตตานี
10.00 น. -11.00 น. ออกเดินทางจาก ต.ควนโนรี อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี สู่ อบต.เนินงาม อ.รามัน จ.ยะลา 11.30 น. – 12.30 น. คณะทำงาน พักรับประทานอาหารกลางวัน ณ ตัวเมืองจังหวัดยะลา 13.00 น. – 14.30 น. พบปะผู้นำและจิตอาสาญาลันนันบารู เพื่อศึกษาดูงานในพื้นที่อบต.เนินงาม อ.รามัน จ.ยะลา 14.35 น. -15.30 น. ออกเดินทางจากอบต.เนินงาม อ.รามัน จ.ยะลา สู่ อบต.ตาชี อ.ยะหา จ.ยะลา 15.35 น. – 16.30 น. พบปะผู้นำและจิตอาสาญาลันนันบารู เพื่อศึกษาดูงานในพื้นที่อบต.ตาชี อ.ยะหา จ.ยะลา 16.35 น. – 18.30 น. คณะทำงานเดินทางกลับยังมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี โดยสวัสดิภาพ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. นัดหมายเตรียมพร้อมเพื่อออกเดินทางจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ...... คณะผู้ประเมินได้พ้อมกันยังที่นัดหมายเพื่อเดินทางลงพื้นที่
  2. เดินทางถึง ต.ควนโนรี อ.โคกโพธิ์ จ.หวัดปัตตานี ...... คณะทำงานได้เข้าพบผู้นำชุมชน และหน่วยปกครอง เพื่อชี้แจงและแนะนำตัวแก่ชุมชนเพื่อขอเก็บข้อมูลการดำเนินงานของกลุ่มจิตอาสา และสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้องเป็นระยะเวลา 1 ชั่วโมง
  3. พบปะผู้นำและจิตอาสาญาลันนันบารู เพื่อศึกษาดูงานในพื้นที่ต.ควนโนรี อ.โคกโพธิ์ จ.หวัดปัตตานี
  4. ออกเดินทางจาก ต.ควนโนรี อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี สู่ อบต.เนินงาม อ.รามัน จ.ยะลา
  5. คณะทำงาน พักรับประทานอาหารกลางวัน ณ ตัวเมืองจังหวัดยะลา
  6. พบปะผู้นำและจิตอาสาญาลันนันบารู เพื่อศึกษาดูงานในพื้นที่อบต.เนินงาม อ.รามัน จ.ยะลา ...... คณะทำงานได้เข้าพบผู้นำชุมชน และหน่วยปกครอง เพื่อชี้แจงและแนะนำตัวแก่ชุมชนเพื่อขอเก็บข้อมูลการดำเนินงานของกลุ่มจิตอาสา และสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้องเป็นระยะเวลา 1 ชั่วโมง
  7. ออกเดินทางจากอบต.เนินงาม อ.รามัน จ.ยะลา สู่ อบต.ตาชี อ.ยะหา จ.ยะลา
  8. พบปะผู้นำและจิตอาสาญาลันนันบารู เพื่อศึกษาดูงานในพื้นที่อบต.ตาชี อ.ยะหา จ.ยะลา ...... คณะทำงานได้เข้าพบผู้นำชุมชน และหน่วยปกครอง เพื่อชี้แจงและแนะนำตัวแก่ชุมชนเพื่อขอเก็บข้อมูลการดำเนินงานของกลุ่มจิตอาสา และสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้องเป็นระยะเวลา 1 ชั่วโมง
  9. คณะทำงานเดินทางกลับยังมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี โดยสวัสดิภาพ
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
10 กันยายน 2561 เวลา 13.30-15.30 น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
แก้ไขโดย สุทธิพงษ์ อุสาหะพงษ์สิน เมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2562 17:22:56 น.

ชื่อกิจกรรม : กิจกรมลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูลกับผู้จัดโครงการ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อเก็บข้อมูลจากผู้จัดโครงการการจัดการสุขภาวะชุมชนท่ามกลางวิกฤตความรุนแรง

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ทีมงานผู้จัดโครงการการจัดการสุขภาวะท่ามกลางวิกฤตความรุนแรง

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ลงพื้นที่เก็บข้อมูลจากผู้จัดโครงการการจัดการสุขภาวะชุมชนท่ามกลางวิกฤตความรุนแรง

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 1 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ตัวแทนผู้จัดโครงการ 1 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. เดินทางออกจากมหาวิทยาลัยสงขลานคินทร์ วิทยาเขตปัตตานี สู่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
  2. เข้าพบตัวแทนผู้จัดโครงการฯ
  3. เก็บข้อมูลโครงการ
  4. พักรับประทานอาหารร่วมกัน
  5. เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. เดินทางออกจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี สู่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ....... คณะผู้ประเมินและผู้ช่วยได้เดินทางไปยังสจรส. จำนวน 4 คน
  2. เข้าพบตัวแทนผู้จัดโครงการฯ ...... ผศ.ณชพงศ ได้ทำการชี้แจงการเดินทางเพื่อลงพื้นที่เก็บข้อมูลสัมภาษณ์ผู้จัดโครงการ เพื่อรับทราบการดำเนินงานและขอความร่วมมือในการให้การสัมภาษณ์
  3. เก็บข้อมูลโครงการ ....... ดร.จิรัชยา และดร.ณรงค์ศักดิ์ ได้เริ่มทำการเก็บข้อมูลสัมภาษณ์ผู้จัดโครงการ เป็นระยะเวลา 2 ชั่วโมง ซึ่งผศ.ณชพงศ เป็นผู้สังเกตการณ์ และสัมภาษณ์ข้อคำถามเพิ่มเติม
  4. พักรับประทานอาหารร่วมกัน ...... คณะผู้ประเมิน และผู้จัดโครงการได้ร่วมกันรับประทานอาหารภายหลังจากเก็บข้อมูลเรียบร้อยแล้ว
  5. เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ ....... คณะผู้ประเมินเดินทางกลับ วิทยาเขตปัตตานีโดยสวัสดิภาพ
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-