สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โซนภาคใต้ตอนบน

รายละเอียดโครงการ
เลขที่ข้อตกลง 61-ข-049
ชื่อโครงการ การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โซนภาคใต้ตอนบน
ชุดโครงการ ระบบสนับสนุนกระบวนการ HIA
ผู้รับผิดชอบโครงการ ดร.คชาพล นิ่มเดช
คณะทำงาน ? 1. ผศ.ดร.สมทิพย์ ด่านธีรวนิชย์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 2. ดร.พิเชตวุฒิ นิลลออคณะศิลปะศาสตร์ และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 3. ดร.สายสุนีย์ จำรัสคณะวิทยาศาสตร์และเทค
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2561 - 30 เมษายน 2562
งบประมาณโครงการ 100,000.00 บาท
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย (คน) 5
รายละเอียดกลุ่มเป้าหมาย
  1. โครงการศูนย์วิชาการสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ตอนบน (ศวสต.) จังหวัดกระบี่
  2. โครงการศูนย์วิชาการสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ตอนบน (ศวสต.) จังหวัดสุราษฎร์ธานี
  3. โครงการศูนย์วิชาการสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ตอนบน (ศวสต.) จังหวัดระนอง
  4. โครงการศูนย์วิชาการสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ตอนบน (ศวสต.) จังหวัดชุมพร
  5. โครงการศูนย์วิชาการสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ตอนบน (ศวสต.) จังหวัดนครศรีธรรมราช
พื้นที่ดำเนินการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต สุราษฎร์ธานี ต.ขุนทะเล อ.เมือง จ.สุราษฎร์ธานี
จังหวัด สุราษฎร์ธานี
ละติจูด-ลองจิจูด 9.094193722321,99.356623291969place

หลักการและเหตุผล

 

กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

วัตถุประสงค์ของโครงการ / ตัวชี้วัด / การดำเนินกิจกรรม

วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / เป้าหมายตัวชี้วัดความสำเร็จ

วัตถุประสงค์โดยตรง

เพื่อประเมินผลกระทบทางด้านสุขภาพของโครงการ 5 จังหวัดในภาคใต้ตอนบน

รายงานผลการศึกษาถึงผลกระทบต่อสุขภาพโดยสาธารณะ ของโครงการ 5 จังหวัด

กิจกรรมหลัก

วันที่ทำกิจกรรมชื่อกิจกรรมหลักงบประมาณ
(บาท)
กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
กิจกรรม
(ครั้ง)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
(ครั้ง)
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
1 1. การกลั่นกรองนโยบาย แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมโดยสาธารณะ (Public screening) 50,000.00 0 5 51,000.00 5 50,800.00 more_vert
27-28 พ.ค. 61 ประชุมเพื่อวางแผนการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ ระหว่าง ทีมประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ และเจ้าของทุนวิจัย 10 - -
1-20 มิ.ย. 61 ทบทวนการประยุกต์ใช้การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ 6 - -
22 มิ.ย. 61 ประชุมทบทวนวิธีการและการประยุกต์ใช้การประเมินผลกระทบสุขภาพ (HIA) 10 - -
29 มิ.ย. 61 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ ระหว่าง ทีมดำเนินโครงการ ทีมประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ และเจ้าของทุนวิจัย 20 - -
10 ต.ค. 61 กำหนดวิธีการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพใน 5 จังหวัด 10 - -
2 การกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ (Public scoping) 20,000.00 0 3 20,000.00 3 19,760.00 more_vert
12 พ.ย. 61 ประชุมเพื่อพิจารณาและทบทวนรายละเอียดกิจกรรมสำคัญของโครงการใน 5 จังหวัด ถึงประเด็น ความครอบคลุมของการดำเนินโครงการ ตัวชี้วัด ข้อจำกัด การดำเนินโครงการ 20 - -
21 ม.ค. 62-28 ก.พ. 62 กำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ (Public scoping) จังหวัดระนอง 50 - -
25-27 พ.ค. 62 สรุปและนำเสนอผลความก้าวหน้าการประยุกต์ใช้กระบวนการ HIA ในการประเมินโครงการภาคใต้ตอนบน 30 - -
3 ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Assessing) 20,000.00 10 4 23,500.00 4 24,601.00 more_vert
19-21 ม.ค. 62 ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Assessing) อำเภอบ้านนาสาร 25 - -
9-11 ก.พ. 62 ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Assessing) อำเภอคีรีรัฐนิคม 0 - -
17 ก.ค. 62 ทบทวนผลการประยุกต์ใช้ HIA ในการประเมินโครงการ ครั้งที่ 1 6 - -
27 ก.ค. 62 ทบทวนผลการประยุกต์ใช้ HIA ในการประเมินโครงการ ครั้งที่ 2 6 - -
4 ทบทวนร่างรายงานผลการศึกษาโดยสาธารณะ (Public review) 10,000.00 40 2 10,000.00 2 10,660.00 more_vert
1-18 ส.ค. 62 ทบทวนร่างรายงานผลการศึกษาโดยสาธารณะ (Public review) 40 - -
20-22 ส.ค. 62 รายงานสรุป 10 - -
รวม 100,000.00 50 14 104,500.00 14 105,821.00

คำเตือน : งบประมาณของกิจกรรมหลัก (100,000.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณของกิจกรรมย่อย (104,500.00 บาท)

โครงการเข้าสู่ระบบโดย เมื่อวันที่ 20 เม.ย. 2567 น.

วันที่ - เวลากิจกรรม - รายละเอียด
20 สิงหาคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนายคชาพล นิ่มเดชนายคชาพล นิ่มเดชเมื่อ 13 สิงหาคม 2562 14:06:59
Project owner
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 20 สิงหาคม 2562 13:59:10 น.

ชื่อกิจกรรม : รายงานสรุป

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

นำเสนอผลการดำเนินโครงการแก่เจ้าของทุน

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

เจ้าของทุน สจรส 4 คน

ผู้รับผิดชอบโครงการ HIA  6 ท่าน 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

สรุปรายละเอียด การดำเนินโครงการ และรายงานผลในรูป file และรูปเล่ม

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 10 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

เจ้าของทุน สจรส 4 คน

ผู้รับผิดชอบโครงการ HIA  6 ท่าน 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

สรุปรายละเอียด การดำเนินโครงการ และรายงานผลในรูป file และรูปเล่ม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

รายงานการศึกษาถึงผลกระทบต่อสุขภาพโดยสาธารณะ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

เริ่มดำเนินโครงการตามกำหนดแผนที่ได้ทำไว้ และแก้ไขปัญหาอย่างรวดเร็ว

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ผู้ประเมินควรเข้ารับการ training ในหลักสูจรการประเมินขั้นสูง

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ผู้ประเมินควรเข้ารับการ training ในหลักสูจรการประเมินขั้นสูง

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
1 สิงหาคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนายคชาพล นิ่มเดชนายคชาพล นิ่มเดชเมื่อ 13 สิงหาคม 2562 14:00:29
Project owner
แก้ไขโดย นายคชาพล นิ่มเดช เมื่อ 19 สิงหาคม 2562 15:54:41 น.

ชื่อกิจกรรม : ทบทวนร่างรายงานผลการศึกษาโดยสาธารณะ (Public review)

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

ทบทวนร่างรายงานผลการศึกษาโดยสาธารณะ (Public review)

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ผู้รับผิดชอบโครงการศวสต. 5 จังหวัด

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

  1. สรุปและอภิปรายต่อร่างรายงาน
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 6 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ผู้รับผิดชอบโครงการประเมินจำนวน 6 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

นำเสนอผลการดำเนินโครงการการประยุกต์ใช้ HIA ในการประมินผลการดำเนินงานโครงการ 5 จังหวัด

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้บทสรุปผลการดำเนินดำเนินโครงการการประยุกต์ใช้ HIA ในการประมินผลการดำเนินงานโครงการ 5 จังหวัด  ข้อดี และข้อจำกัดของ HIA

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

เพิ่มะเวลาดำเนินการ

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

มีการประเมิน proposal ก่อน ให้การสนับสนุนทุน

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

เร่งพัฒนา proposal ของศวสต.โดยนักวิชาการเป็นพี่เลี้ยง

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
27 กรกฎาคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนายคชาพล นิ่มเดชนายคชาพล นิ่มเดชเมื่อ 19 สิงหาคม 2562 15:37:41
Project owner
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 20 สิงหาคม 2562 13:56:43 น.

ชื่อกิจกรรม : ทบทวนผลการประยุกต์ใช้ HIA ในการประเมินโครงการ ครั้งที่ 2

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อทบทวนผลการประยุกต์ใช้ HIA ในการประเมินโครงการ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

สรุปประเด็นการประยุกต์ใช้ HIA ในการประเมินโครงการ ภาคใต้ตอนบน เพื่อนำเสนอ ในที่ประชุมวิชาการ “สร้างสุขคนใต้ ครั้งที่ 11 ” 5-7 สิงหาคม 62  ห้อง HIA Forum โรงแรมนิภาการ์เด้น จังหวัดสุราษฎร์ธานี จัดโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับสถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์(สจรส.ม.อ.) เป็นหน่วยงานหลักในการประสานงานความร่วมมือกับองค์กร ภาคี เครือข่าย ต่าง ๆ เช่น สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานสุขภาพแห่งชาติ (สช.)กระทรวงสาธารณสุข และเครือข่ายภาคประชาสังคม เครือข่ายสื่อสารมวลชน และภาคประชาชน นิเทศติดตามทีมประเมินโครงการผลกระทบต่อสุขภาพ

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

สรุปประเด็นการประยุกต์ใช้ HIA ในการประเมินโครงการ ภาคใต้ตอนบน เพื่อนำเสนอ ในที่ประชุมวิชาการ “สร้างสุขคนใต้ ครั้งที่ 11 ” 5-7 สิงหาคม 62  ห้อง HIA Forum โรงแรมนิภาการ์เด้น จังหวัดสุราษฎร์ธานี จัดโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับสถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์(สจรส.ม.อ.) เป็นหน่วยงานหลักในการประสานงานความร่วมมือกับองค์กร ภาคี เครือข่าย ต่าง ๆ เช่น สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานสุขภาพแห่งชาติ (สช.)กระทรวงสาธารณสุข และเครือข่ายภาคประชาสังคม เครือข่ายสื่อสารมวลชน และภาคประชาชน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 6 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ผู้แทนทีมประเมิน HIA  จังหวัด ระนอง ชุมพร นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี และผู้รับผิดชอบโครงการ HIA ภาคใต้ตอนบน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

สรุปประเด็นการประยุกต์ใช้ HIA ในการประเมินโครงการ ภาคใต้ตอนบน เพื่อนำเสนอ ในที่ประชุมวิชาการ “สร้างสุขคนใต้ ครั้งที่ 11 ” 5-7 สิงหาคม 62  ห้อง HIA Forum โรงแรมนิภาการ์เด้น จังหวัดสุราษฎร์ธานี จัดโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับสถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์(สจรส.ม.อ.) เป็นหน่วยงานหลักในการประสานงานความร่วมมือกับองค์กร ภาคี เครือข่าย ต่าง ๆ เช่น สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานสุขภาพแห่งชาติ (สช.)กระทรวงสาธารณสุข และเครือข่ายภาคประชาสังคม เครือข่ายสื่อสารมวลชน และภาคประชาชน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ลักษณะการนำเสนอผลของการประยุกต์ใช้ HIA  เข้าร่วมในการประเมินโครงการ  ตั้งแต่กระบวนการ Public screening Public Scoping และ Assessing  ได้แก่ การร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมกำหนดขอบเขต  ร่วมประเมินทั้งทีมประเมิน HIA  ผู้รับปิดชอบโครงการ และผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ  นำไปสู่การปรับปรุงโครงการเสริมพลังให้การดำเนินโครงการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และมีการยกตัวอย่างประกอบจากประสบการณ์การลงพื้นที่เพื่อให้ผู้เข้าร่วมการประชุมเข้าใจชัดเจน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
17 กรกฎาคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนายคชาพล นิ่มเดชนายคชาพล นิ่มเดชเมื่อ 17 กรกฎาคม 2562 19:20:59
Project owner
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 20 สิงหาคม 2562 13:55:05 น.

ชื่อกิจกรรม : ทบทวนผลการประยุกต์ใช้ HIA ในการประเมินโครงการ ครั้งที่ 1

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อทบทวนผลการประยุกต์ใช้ HIA ในการประเมินโครงการ และเพื่อนำเสนอสรุปประเด็นการประยุกต์ใช้ HIA ในการประเมินโครงการ ภาคใต้ตอนบน เพื่อนำเสนอ ในที่ประชุมวิชาการ “สร้างสุขคนใต้ ครั้งที่ 11 ” 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

สรุปประเด็นการประยุกต์ใช้ HIA ในการประเมินโครงการ ภาคใต้ตอนบน เพื่อนำเสนอ ในที่ประชุมวิชาการ “สร้างสุขคนใต้ ครั้งที่ 11 ” 5-7 สิงหาคม 62  ห้อง HIA Forum โรงแรมนิภาการ์เด้น จังหวัดสุราษฎร์ธานี จัดโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับสถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์(สจรส.ม.อ.) เป็นหน่วยงานหลักในการประสานงานความร่วมมือกับองค์กร ภาคี เครือข่าย ต่าง ๆ เช่น สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานสุขภาพแห่งชาติ (สช.)กระทรวงสาธารณสุข และเครือข่ายภาคประชาสังคม เครือข่ายสื่อสารมวลชน และภาคประชาชน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

สรุปประเด็นการประยุกต์ใช้ HIA ในการประเมินโครงการ ภาคใต้ตอนบน เพื่อนำเสนอ ในที่ประชุมวิชาการ “สร้างสุขคนใต้ ครั้งที่ 11 ” 5-7 สิงหาคม 62  ห้อง HIA Forum โรงแรมนิภาการ์เด้น จังหวัดสุราษฎร์ธานี จัดโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับสถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์(สจรส.ม.อ.) เป็นหน่วยงานหลักในการประสานงานความร่วมมือกับองค์กร ภาคี เครือข่าย ต่าง ๆ เช่น สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานสุขภาพแห่งชาติ (สช.)กระทรวงสาธารณสุข และเครือข่ายภาคประชาสังคม เครือข่ายสื่อสารมวลชน และภาคประชาชน นิเทศติดตามทีมประเมินโครงการผลกระทบต่อสุขภาพ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 5 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ผู้แทนทีมประเมิน HIA  จังหวัด ระนอง ชุมพร นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี และผู้รับผิดชอบโครงการ HIA ภาคใต้ตอนบน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

สรุปประเด็นการประยุกต์ใช้ HIA ในการประเมินโครงการ ภาคใต้ตอนบน เพื่อนำเสนอ ในที่ประชุมวิชาการ “สร้างสุขคนใต้ ครั้งที่ 11 ” 5-7 สิงหาคม 62  ห้อง HIA Forum โรงแรมนิภาการ์เด้น จังหวัดสุราษฎร์ธานี จัดโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับสถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์(สจรส.ม.อ.) เป็นหน่วยงานหลักในการประสานงานความร่วมมือกับองค์กร ภาคี เครือข่าย ต่าง ๆ เช่น สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานสุขภาพแห่งชาติ (สช.)กระทรวงสาธารณสุข และเครือข่ายภาคประชาสังคม เครือข่ายสื่อสารมวลชน และภาคประชาชน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ลักษณะการนำเสนอผลของการประยุกต์ใช้ HIA  เข้าร่วมในการประเมินโครงการ  ตั้งแต่กระบวนการ Public screening Public Scoping และ Assessing  ได้แก่ การร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมกำหนดขอบเขต  ร่วมประเมินทั้งทีมประเมิน HIA  ผู้รับปิดชอบโครงการ และผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ  นำไปสู่การปรับปรุงโครงการเสริมพลังให้การดำเนินโครงการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
และมีการยกตัวอย่างประกอบจากประสบการณ์การลงพื้นที่เพื่อให้ผู้เข้าร่วมการประชุมเข้าใจชัดเจน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
25 พฤษภาคม 2562 เวลา 9.00-19.00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนายคชาพล นิ่มเดชนายคชาพล นิ่มเดชเมื่อ 18 กรกฎาคม 2562 11:32:56
Project owner
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 20 สิงหาคม 2562 13:52:41 น.

ชื่อกิจกรรม : สรุปและนำเสนอผลความก้าวหน้าการประยุกต์ใช้กระบวนการ HIA ในการประเมินโครงการภาคใต้ตอนบน

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

เพื่อนำเสนอผลการประยุกต์ใช้กระบวนการ HIA  ในการประเมินโครงการภาคใต้ตอนบน

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ผู้แทนจากสำนักกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ผู้แทนจากสำนักจัดการะบบสุขภาพ ผู้แทนโครงการระบบอาหารปลอดภัย ผู้แทนโครงการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ผู้แทนโครงการความมั่นคงของมนุษย์ ผู้แทนโครงการการแพทย์พหุวัฒนธรรม

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

  1. ทบทวน (Review) การประยุกต์ใช้ HIA  ในระบบบริการสุขภาพ
  2. วิเคราะห์ข้อดีและข้อจำกัดของกระบวนการ HIA
    3.ถอดบทเรียนการประยุกต์ใช้ HIA ในการประเมินโครงการภาคใต้ตอนบน 4.สรุปผลการประยุกต์ใช้กระบวนการ HIA  ในการประเมินโครงการภาคใต้ตอนบน 5.นำเสนอผลสรุป
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 30 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ผู้แทนจากสำนักกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ผู้แทนจากสำนักจัดการะบบสุขภาพ ผู้แทนโครงการระบบอาหารปลอดภัย ผู้แทนโครงการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ผู้แทนโครงการความมั่นคงของมนุษย์ ผู้แทนโครงการการแพทย์พหุวัฒนธรรม

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. ทบทวน (Review) การประยุกต์ใช้ HIA  ในระบบบริการสุขภาพ
  2. วิเคราะห์ข้อดีและข้อจำกัดของกระบวนการ HIA
    3.ถอดบทเรียนการประยุกต์ใช้ HIA ในการประเมินโครงการภาคใต้ตอนบน 4.สรุปผลการประยุกต์ใช้กระบวนการ HIA  ในการประเมินโครงการภาคใต้ตอนบน 5.นำเสนอผลสรุป
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการทบทวนการประยุกต์ใช้ HIA  ในระบบบริการสุขภาพ พบว่า  การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ หรือ Health Impact Assessment (HIA) ในประเทศไทย นับเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นพร้อมๆ กับ พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550  ซึ่งกฎหมายได้ให้การรับรองสิทธิประชาชนที่จะดำรงอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ และสามารถร้องขอและมีส่วนร่วมในการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพจากนโยบายสาธารณะได้คาดการณ์ผลกระทบที่เกิดจากนโยบายสาธารณะ เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของสังคม  และการสร้างนโยบายสาธารณะที่ดี  โดยมุ่งเน้นศึกษาผลกระทบในด้านของสุขภาพ และผลเชื่อมโยงปัจจัยกำหนดสุขภาพ ได้แก่ ปัจเจกบุคคล สิ่งแวดล้อม และระบบบริการสุขภาพ

ข้อที่พบจาการประยุกต์ใช้ HIA มาประเมินผลโครงการภาคใต้ตอนบน มีส่วนทำให้โครงการได้รับการปรับปรุงให้เกิดประสิทธิผลเพิ่มขึ้นเกิดจากร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมวางแผน และร่วมประเมิน โดยสาธารณะ อันประกอบด้วย ผู้รับผิดชอบโครงการ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงการ ผู้ได้กับผลกระทบจากโครงการ และทีมประเมิน HIA    ตามกระบวนการของ HIA อันประอบด้วย  Public screening Public scoping Assessing และ Public review

โครงการ ศวสต. ภาคใต้ตอนบนใน 5 จังหวัดใน 6 พื้นที่ ประกอบด้วย ระนอง ชุมพร สุราษฎร์ธานี กระบี่ นครศรีธรรมราช  เป็นโครงการที่ทำให้เกิดผลกระทบเชิงบวกต่อสุขภาพ  และมุ่ งเน้นการเชื่อมโยงการทำงานของโครงการต่อคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต ระดับตำบล อำเภอ จังหวัด และเขตสุขภาพ  ซึ่งเป็นการประเมินที่ควรวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research)  สร้างแบบจำลอง  อธิบายกลไก และข้อคิดเห็นแต่การเชื่อมโยงการทำงานของคณะกรรมการแต่ละระดับออกมาได้
จังหวัดการนครศรีฯ: โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ (เหล้า บุหรี่) - จังหวัดระนอง: โครงการเข้าถึงระบบบริการสาธารณสุขแรงงานต่างด้าว - จังหวัดชุมพร: โครงการการลดอุบัติเหตุ - จังหวัดกระบี่: โครงการลดการสูบบุหรี่


HIA จึงมีส่วนสำคัญและควรประยุกต์ใช้ในการทำงานและควรเริ่มพร้อมกับโครงการในพื้นที่พัฒนาโครงร่างโครงการ 


การประชุมครั้งนี้ได้นำเสนอผลต่อผู้บริหาร และผู้แทนจากโครงการอื่นๆ เกิดการเรียนรู้แลกเปลี่ยนวิธีการการทำงาน และประยุกต์ใช้ HIA


ปัญหา/แนวทางแก้ไข

การดำเนินโครงการมีระยะเวลาจำกัด ในการเห็นถึงการเปลี่ยนแปลง และการเชื่อมโยงการทำงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตในแต่ละระดับ

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

โครงการในพื้นที่ควรจะมีนักวิชาการในการเป็นที่ปรึกษาโครงการ

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

การใช้ HIA  จะเกิดประโยชน์สูงสุด หากมีการตัดเลือกผู้มีส่วนเกี่ยวข้องที่ถูกต้อง และครอบคลุม
นอกจากนี้การดำเนินการรวมทั้งการประเมิน ควรมีความชัดเจนและเกิดปฏิบัติตามแผนที่ได้กำหนดไว้

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
21 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนายคชาพล นิ่มเดชนายคชาพล นิ่มเดชเมื่อ 19 สิงหาคม 2562 11:55:21
Project owner
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 20 สิงหาคม 2562 13:50:37 น.

ชื่อกิจกรรม : กำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ (Public scoping) จังหวัดระนอง

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ (Pblic scoping) จังหวัดระนอง

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

1) คณะทำงาน 15 คน โดยประกอบไปด้วยผู้แทนจาก 6 ภาคส่วน คือ (1) ภาคราชการ (2) ภาควิชาการ (3) ภาคประชาสังคม (4) ภาคเอกชน (5) ภาคสื่อมวลชน (6) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2) คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอเมืองระนอง 21 คน 3) ผู้แทนกองทุนฯ 7 กองทุนๆละ 2 คน รวม 14 คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

จัดทำร่างตัวชี้วัด และเครื่องมือในการประเมินผลกระทบทางสุขภาพของโครงการ เพื่อให้ข้อเสนอแนะและรับฟังความเห็นจากร่างตัวชี้วัดที่กำหนด หลังจากนั้นทีมประเมินปรับปรุงร่างตัวชี้วัด เครื่องมือในการประเมินและนำมารับฟังความเห็นในกลุ่มใหญ่ ซึ่งประกอบด้วยทีมประเมิน ทีมรับผิดชอบโครงการ และกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 20 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

1) คณะทำงาน 15 คน โดยประกอบไปด้วยผู้แทนจาก 6 ภาคส่วน คือ (1) ภาคราชการ (2) ภาควิชาการ (3) ภาคประชาสังคม (4) ภาคเอกชน (5) ภาคสื่อมวลชน (6) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2) คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอเมืองระนอง 21 คน 3) ผู้แทนกองทุนฯ 7 กองทุนๆละ 2 คน รวม 14 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1) ประสานงานกับผู้รับผิดชอบโครงการในพื้นที่และผู้เกี่ยวข้องเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนจัดกิจกรรม 2) จัดเตรียมพื้นที่และประสานกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ 3) ดำเนินการจัดกิจกรรมเวทีรับฟังความคิดเห็น เพื่อนำเสนอร่างตัวชี้วัดที่จัดทำขึ้น 4) สรุปกิจกรรม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ภาคีเครื่อข่ายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแรงงานนอกระบบตรงกัน มีการกำหนดแผนงานกิจกรรมร่วมกัน เกิดแนวทางในการขับเคลื่อนแรงงานนอกระบบในพื้นที่เป้าหมาย

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ขาดข้อมูลสถานการณ์ปัญหาแรงงานนอกระบบในพื้นที่เป้าหมาย/ทบทวนสถานการ์แรงงานนอกระบบจากหน่วยงานราชการ และประสานข้อมูลกับผู้รับผิดชอบโครงการ

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
9 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนายคชาพล นิ่มเดชนายคชาพล นิ่มเดชเมื่อ 13 สิงหาคม 2562 13:34:42
Project owner
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 20 สิงหาคม 2562 14:05:32 น.

ชื่อกิจกรรม : ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Assessing) อำเภอคีรีรัฐนิคม

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ อำเภอีรีรัฐนิคม

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ผู้ดำเนินโครงการศวสต. อำเภอคีรีรัฐ

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

นิเทศติดตามทีมประเมินโครงการผลกระทบต่อสุขภาพ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 10 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ผู้ดำเนินโครงการศวสต. อำเภอคีรีรัฐ 3 คน
ผู้รับผิดชอบงานผู้สูงอายุสาธารณสุข  2 คน
ผู้แทนโรงพยาบาลคีรีรัฐนิคม 1 คน ผู้แทนโรงเรียนผู้สูงอายุ  2 คน
อบต. 2 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ประเมินรายละเอียดกิจกรรมการประเมิน และผลของกิจกรรมตามที่ได้กำหนดไว้ในขั้นตอน public scoping  การบวนการประเมินประกิบด้วยการ สัมภาษณ์เชิงลึก  focused group และการสังเหตุแบบมีส่วนร่วม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

โครงการเกิดการทำงานอย่างเป็นรูปธรรม ระหว่างดำเนินโครงการ  กองทุนตำบล  คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ  คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับจังหวัด

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ยังขาดการเชื่อมโยงผลการดำเนินงานในระดับเขตสุขภาพ  ซึ่งการดำเนินโรงการยังขาดการประสานและอาจต้องใช้ระยะเวลาดำเนินการมากกว่านี้

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ควรมีโครงการขับเคลื่อนในภาพร่วม  ทำให้เกิดภาพการขับเคลื่อนจากระดับบนสู่ระดับล่าง

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ผลักดันผ่านกรรมการจังหวัด ต่อยอดไปสู่คณะกรรมการระดับเขต

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
19 มกราคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนายคชาพล นิ่มเดชนายคชาพล นิ่มเดชเมื่อ 13 สิงหาคม 2562 13:47:47
Project owner
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 20 สิงหาคม 2562 13:46:44 น.

ชื่อกิจกรรม : ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Assessing) อำเภอบ้านนาสาร

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Assessing) อำเภอบ้านนาสาร

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ผู้ดำเนินโครงการศวสต. อำเภอบ้านนาสาร 10 คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

นิเทศติดตามทีมประเมินโครงการผลกระทบต่อสุขภาพ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 12 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ผู้ดำเนินโครงการศวสต. อำเภอนาสาร 3 คน
ผู้รับผิดชอบงานผู้สูงอายุสาธารณสุข  2 คน
ผู้แทนโรงพยาบาลนาสาร 1 คน ผู้แทนโรงเรียนผู้สูงอายุ  2 คน
อบต.นาสาร 2 คน

ผู้นำท้องถิ่น 2 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ประเมินรายละเอียดกิจกรรมการประเมิน และผลของกิจกรรมตามที่ได้กำหนดไว้ในขั้นตอน public scoping  การบวนการประเมินประกอบด้วยการ สัมภาษณ์เชิงลึก  focused group และการสังเกตแบบมีส่วนร่วม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

โครงการเกิดการทำงานอย่างเป็นรูปธรรม ระหว่างดำเนินโครงการ  กองทุนตำบล  คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ  คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับจังหวัด

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ยังขาดการเชื่อมโยงผลการดำเนินงานในระดับเขตสุขภาพ  ซึ่งการดำเนินโรงการยังขาดการประสานและอาจต้องใช้ระยะเวลาดำเนินการมากกว่านี้

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ควรมีโครงการขับเคลื่อนในภาพร่วม  ทำให้เกิดภาพการขับเคลื่อนจากระดับบนสู่ระดับล่าง

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ผลักดันโครงการผ่านกรรมการจังหวัด ต่อยอดไปสู่คณะกรรมการระดับเขต

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
12 พฤศจิกายน 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนายคชาพล นิ่มเดชนายคชาพล นิ่มเดชเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2561 10:27:06
Project owner
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 20 สิงหาคม 2562 13:47:52 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมเพื่อพิจารณาและทบทวนรายละเอียดกิจกรรมสำคัญของโครงการใน 5 จังหวัด ถึงประเด็น ความครอบคลุมของการดำเนินโครงการ ตัวชี้วัด ข้อจำกัด การดำเนินโครงการ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์
  1. ทีมวิจัยพิจารณาและทบทวนรายละเอียดกิจกรรมสำคัญของโครงการใน 5 จังหวัด ถึงประเด็น ความครอบคลุมของการดำเนินโครงการ ตัวชี้วัด ข้อจำกัด การดำเนินโครงการ
กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะกรรมการประเมิน HIA และเจ้าของทุนวิจัย

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

จัดการประชุมเพื่อให้ 1. ทีมวิจัยพิจารณาและทบทวนรายละเอียดกิจกรรมสำคัญของโครงการใน 5 จังหวัด ถึงประเด็น ความครอบคลุมของการดำเนินโครงการ ตัวชี้วัด ข้อจำกัด การดำเนินโครงการ 2.จัดการประชุมเพื่อ ทีมวิจัยพิจารณาและทบทวนรายละเอียดกิจกรรมสำคัญของโครงการใน 5 จังหวัด ถึงประเด็น ความครอบคลุมของการดำเนินโครงการ  ตัวชี้วัด ข้อจำกัด การดำเนินโครงการ
3.ผู้ทรงคุณวุฒิวิพากษ์แผนโครงร่างในการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพโครงการ 5 จังหวัด ร่วมกับผู้ได้รับผลกระทบจากโครงการ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะกรรมการประเมิน HIA และเจ้าของทุนวิจัย

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

เวลา 9.00 – 9.30 น.  เปิดประชุมการวางแผนเพื่อกำหนดทิศทางการประเมินผลของโครงการการประเมิน กระทบทางสุขภาพกรณีศึกษาโซนภาคใต้ตอนบน และเป้าหมายของการกำหนด ทิศทางประเมิน โดย ผศ.ดร. เพ็ญ สุขมาก สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ
เวลา 9.30 – 10.00 น. ชี้แจงแผน และรายละเอียดในการกลั่นกรองนโยบาย แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม         โดยสาธารณะ โดย ดร.คชาพล นิ่มเดช และคุณซูวารี มอซู ผู้รับผิดชอบโครงการ เวลา 10.00 – 10.30 น. นำเสนอวิธีการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตผู้สูงอายุ อำเภอคีรีรัฐนิคม และอำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี
โดย ดร.ดุริยางค์ วาสนา และ ดร.ปวิตร ชัยวิสิทธิ์ เวลา 10.30 - 10.45 น. วิพากษ์โครงการการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการพัฒนา คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ อำเภอคีรีรัฐนิคม และอำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี เวลา 10.45-11.00 น. นำเสนอวิธีการประเมินผล กระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการขับเคลื่อนแรงงาน นอกระบบ แรงงานต่างด้าวโดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดระนอง โดย ดร.พิเชตวุฒิ นิลละออ เวลา 11.00 – 11.15 น. วิพากษ์วิธีการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการขับเคลื่อนแรงงาน นอกระบบ แรงงานต่างด้าวโดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดระนอง เวลา 11.15 – 11.30 น. นำเสนอวิธีการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการจัดการอุบัติเหตุ ทางถนนโดยชุมชน อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร โดย ดร.โปรดปราน คำอ่อน เวลา 11.30 - 12.00 น. วิพากษ์วิธีการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการจัดการอุบัติเหตุทางถนนโดยชุมชน อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร เวลา 12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน เวลา 13.00 – 13.15 น. นำเสนอวิธีการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช โดย ดร.สายสุนีย์ จำรัส เวลา 13.15 – 13.45 น. วิพากษ์วิธีการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช เวลา 13.45 – 14.00 น. นำเสนอวิธีการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ โครงการศูนย์วิชาการสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ตอนบน (ศวสต.) จังหวัดกระบี่
เวลา 14.00 – 14.30 น. วิพากษ์วิธีการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ โครงการศูนย์วิชาการสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ตอนบน (ศวสต.) จังหวัดกระบี่ เวลา 14.30 – 15.30 น. สรุปผลการวิพากษ์โครงการศูนย์วิชาการสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ตอนบน (ศวสต.)  5 จังหวัด โดย ผศ.ดร.สมทิพย์ ด่านธีรวนิชย์ เวลา 15.30 – 16.30 น. วางแผนการประชุมเพื่อกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ (Public scoping)

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ทีมวิจัยเกิดกำหนดทิศทางการประเมินผลของโครงการการประเมินกระทบทางสุขภาพกรณีศึกษาโซนภาคใต้ตอนบน และเป้าหมายของการกำหนด โดยเข้าใจตรงกันถึงรายละเอียดเชิงลึกในการประยุุกต์ใช้ HIA เข้ามาประเมินโครงการ 5 จังหวัด เน้นที่กลไกการทำงานเชื่อโยงโครงการระดับหมู่บ้าน กองทุนตำบล พชอ. จังหวัด และระดับเขต และได้มีการชี้แจง Conceptual framework

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

เนื่องจากเป็นการพัฒนาเครื่องมือ HIA ในการประเมินโครงการในลักษณะนี้ครั้งแรก เพื่อให้การประเมินป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ทีมวิจัยได้วางแผนที่จะเรียนรู้การทำงานร่วมกันในพื้นที่นาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี  และมีการร่วมประเมินในจังหวัดๆ

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

กำหนดรายละเอียดโครงการในแต่ละพื้นที่ให้ชัดเจน และมีการประสานข้อมูลหาดมีการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
10 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00-16.30 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนายคชาพล นิ่มเดชนายคชาพล นิ่มเดชเมื่อ 11 ตุลาคม 2561 08:44:40
Project owner
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 20 สิงหาคม 2562 14:00:43 น.

ชื่อกิจกรรม : กำหนดวิธีการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพใน 5 จังหวัด

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อนำเสนอโครงร่างในการใช้ HIA  ในการประเมินผลกระทบของโครงการจำนวน 6 โครงการในพื้นที่ 5 จังหวัด

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะกรรมการประเมิน HIA และเจ้าของทุนวิจัย

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

การประชุมวางแผนเพื่อกำหนดทิศทางการประเมินผลของโครงการการประเมินกระทบทางสุขภาพกรณีศึกษาโซนภาคใต้ตอนบน (กิจกรรมที่ 3 ของการกลั่นกรองนโยบาย แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมโดยสาธารณะ  (Public screening)) ณ ห้องประชุม SD 102  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี วันที่ 10 ตุลาคม 2562 เวลา 9.00-16.00 น.

  1. หัวหน้าทีมประเมินโครงการผลกระทบด้านสุขภาพ จำนวน 5 โครงการ ได้นำเสนอโครงร่างที่จะใช้โครงการ
    2.ผู้ทรงคุณวุฒิให้ข้อคิดเห็นต่อโครงร่างการประเมิน 3.ผู้แทนจาก สจรส. เพิ่มเติมรายละเอียดในการประเมิน
    4.วางแผนการเตรียมความพร้อมขั้นตอน Public Scoping


กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 10 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ผู้แทนจาก สจรส  3  ท่าน ผู้ทรงคุณวุฒิ  1    ท่าน ผู้รับผิดชอบโครงการประเมิน 5 โครงการและผู้รับผิดชอบโครงการหลัก  รวม  6 ท่าน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

-เปิดประชุมการวางแผนเพื่อกำหนดทิศทางการประเมินผลของโครงการการประเมินกระทบทางสุขภาพกรณีศึกษาโซนภาคใต้ตอนบน และเป้าหมายของการกำหนดทิศทางประเมิน โดย ผศ.ดร. เพ็ญ สุขมาก สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ
-ชี้แจงแผน และรายละเอียดในการกลั่นกรองนโยบาย แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม โดยสาธารณะ โดย ดร.คชาพล นิ่มเดช และคุณซูวารี มอซู ผู้รับผิดชอบโครงการ -นำเสนอวิธีการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตผู้สูงอายุ อำเภอคีรีรัฐนิคม และอำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดย ดร.ดุริยางค์ วาสนา และ ดร.ปวิตร ชัยวิสิทธิ์ -วิพากษ์โครงการการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการพัฒนา คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ อำเภอคีรีรัฐนิคม และอำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี -นำเสนอวิธีการประเมินผล กระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการขับเคลื่อนแรงงานนอกระบบ แรงงานต่างด้าวโดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดระนอง -วิพากษ์วิธีการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการขับเคลื่อนแรงงานนอกระบบ แรงงานต่างด้าวโดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดระนอง -นำเสนอวิธีการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการจัดการอุบัติเหตุทางถนนโดยชุมชน อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร โดย ดร.โปรดปราน คำอ่อน -วิพากษ์วิธีการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการจัดการอุบัติเหตุทางถนนโดยชุมชน อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร -นำเสนอวิธีการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช โดย ดร.สายสุนีย์ จำรัส -วิพากษ์วิธีการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช -สรุปผลการวิพากษ์โครงการศูนย์วิชาการสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ตอนบน (ศวสต.) 5 จังหวัด โดย ผศ.ดร.สมทิพย์ ด่านธีรวนิชย์ -วางแผนการประชุมเพื่อกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ (Public scoping)

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ผู้รับผิดชอบโครงการประเมินได้นำเสนอโครงร่างการประเมินผลกระทบในพื้นที่
  2. ผู้วิพากษ์ได้ให้ความเห็นต่อแผนโครงการร่างการประเมิน และผู้แทน สจรส ได้ให้ความคิดเห็นและจุดประสงค์เพิ่มเติม
  3. กำหนดการประชุมเพื่อวางแผนเตรียมความพร้อมก่อนจัดเวทีกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ (Public scoping)
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

1.ยังมีความเข้าใจคลาดเคลื่อนถึงจุดประสงค์ของโครงการประเมินผลกระทบ และจุดประสงค์การดำเนินงาน   การแก้ไข: เปิดโอกาสให้ผู้ร่วมการประชุมได้อภิปรายถึงจุดประสงค์ ขอบเขต ขึ้นตอนการดำเนินงาน และบทบาทหน้าที่ของทีมประเมิน  นอกจากนี้ผู้แทน สจรส. ทำหน้่าที่เขียน conceptual framework เพื่่อให้เป็น core ในการพัฒนาร่างโครงการต่อไป 2. ผู้รับผิดชอบโครงการประเมินประเมินผลกระทบจังหวัดกระบี่ติดภาระกิจไม่สามสรถเข้าร่วมได้ การแก้ไข: ผู้ประสานงานได้ส่งข้อข้อมูลไปยังผู้รับผิดชอบจังหวัดกระบี่
3. ปฏิทินการดำเนินงานของโครงการในพื้นที่โครงการ 6 จังหวัด ซึ่งเป็นแหล่งข้อมูลให้ผู้ประเมินผลกระทบติดตาม  ไม่เป็นปัจจุบัน หรือไม่ได้แสดงรายละเอียดเหตุผลที่ดำเนินงานโครงการล่าช้า   การแก้ไข: เสนอทีม สจรส ในการดูแลระบบในการประสานงาน ติดตาม และเพิ่มรายละเอียดในปฏิทินกิจกรรม

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
29 มิถุนายน 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนายคชาพล นิ่มเดชนายคชาพล นิ่มเดชเมื่อ 17 กรกฎาคม 2561 09:27:05
Project owner
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 20 สิงหาคม 2562 13:39:05 น.

ชื่อกิจกรรม : จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ ระหว่าง ทีมดำเนินโครงการ ทีมประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ และเจ้าของทุนวิจัย

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อชี้แจงการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพระหว่างทีมดำเนินโครงการ  ทีมประเมินผลกระทบ  และเจ้าของทุนวิจัย 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะกรรมการประเมิน HIA 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

  1. เจ่้าของทุนวิจัยแนะนำทีมผู้ดำเนินโครงการจาก 5 จังหวัด และทีมประเมินผลกระทบทางสุขภาพ
  2. เจ้าของทุนวิจัยชี้แจงจุดประสงค์ให้มีการดำเนินโครงการในพื้นที่ 5 จังหวัด
  3. ตัวแทนผู้ดำเนินโครงการใน 5 จังหวัด ได้บรรยายรายละเอียดการดำเนินโครงการ
  4. ทีมผู้ประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ (HIA) ได้ชีแจงและอธิบายรายละเอียดถึงจุดประสงค์ของการดำเนินโครงการ HIA
  5. ทีมประเมิน HIA  กำหนดผู้รับผิดชอบในการทำการประเมินในแต่ละโครงการ และได้แจ้งให้ทีมดำเนินโครงการทราบ 


กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ทีมเจ้าของทุนวิจัยจาก สจรส. จำนวน 5 คน ทีมผู้ดำเนิโครงการจาก 5 จังหวัด จำนวน 5 คน
ทีมผู้ประเมินโครงการ HIA จำนวน 7 คน 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. เจ่้าของทุนวิจัยแนะนำทีมผู้ดำเนินโครงการจาก 5 จังหวัด และทีมประเมินผลกระทบทางสุขภาพ
  2. เจ้าของทุนวิจัยชี้แจงจุดประสงค์ให้มีการดำเนินโครงการในพื้นที่ 5 จังหวัด  ซึ่งมุ่งเน้นการตัวชี้วัดหลักของโครงการแต่ละโครงการ และปัจจัยกำหนดสุขภาพ วิธีการขับเคลื่อนการผ่านกองทุนตำบล คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและระบบสุขภาพอำเภอ(DHB) คณะกรรมการระดับจังหวัด (PHB) และคณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน (กขป)
  3. ตัวแทนผู้ดำเนินโครงการใน 5 จังหวัด ได้บรรยายรายละเอียดการดำเนินโครงการ ประกอบด้วย ชื่อโครงการ จุดประสงค์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ กลวิธี/แผนในการดำเนินโครงการ และความคืบหน้าของการดำเนินโครงการ  และตอบคำถามผู้เข้าร่วมการประชุมในประเด็นที่มีข้อสงสัย
  4. ทีมผู้ประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ (HIA) ได้ชีแจงและอธิบายรายละเอียดถึงจุดประสงค์ของการดำเนินโครงการ HIA  ซึ่งจะดำเนินควบคู่ไปกับการดำเนินการของโครงการในแต่ละจังหวัด เพื่อศึกษาถึงผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้น และผลกระทบทางสุขภาพที่ไม่ได้คาดว่าจะเกิดขึ้นมาก่อน  อีกทั้งทีม HIA ยังจะมีส่วนให้ข้อแนะนำการดำเนินโครงการให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งผู้ดำเนินโครงการในแต่ละโครงการสามารถนำข้อเสนอแนะไปปรับใช้ได้ตามสมควร
  5. ทีมประเมิน HIA  กำหนดผู้รับผิดชอบในการทำการประเมินในแต่ละโครงการ และได้แจ้งให้ทีมดำเนินโครงการทราบ
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เจ้าของทุนได้อธิบายถึงจุดประสงค์และขอบเขตการดำเนินโครงการ ผู้เกี่ยวข้องในการดำเนินโครงการเกิดความเข้าใจที่ตรงกันถึงจุดประสงค์ของโครงการประเมิน HIA
ผู้ดำเนินโครงการรับทราบถึงความจำเป็นต่อการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ และเกิดทัศนคติที่ดีของทีมดำเนินโครงการในพื้นที่กับทีมประเมิน HIA





ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ทีมดำเนินการในพื้นที่ 5 จังหวัด ยังไม่สามารถเขียนโครงการได้อย่างถูกต้องและสมบูรณ์
การแก้ไข: จำเป็นต้องหานักวิชาการในพื้นที่ช่วยในการเขียนโครงการ

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.
  1. การเขียนโครงการใน 5 จังหวัดต้องมีความชัดเจน เพื่อทีมการประเมิน HIA สามารถวางแผนในการดำเนินโครงการครอบคลุมและเหมาะสม
คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
22 มิถุนายน 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนายคชาพล นิ่มเดชนายคชาพล นิ่มเดชเมื่อ 18 กรกฎาคม 2562 14:09:02
Project owner
แก้ไขโดย นายคชาพล นิ่มเดช เมื่อ 19 สิงหาคม 2562 13:31:02 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมทบทวนวิธีการและการประยุกต์ใช้การประเมินผลกระทบสุขภาพ (HIA)

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

เพื่อทบทวนวิธีการและการประยุกต์ใช้การประเมินผลกระทบสุขภาพ (HIA)

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ทีมประเมิน HIA

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ทวนทวนวิธีการและการประยุกต์ใช้การประเมินผลกระทบสุขภาพ (HIA) จากแหล่งฐานข้อมูลวิชาการ เช่น PubMed Medline Science direct

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 10 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ทีมประเมิน HIA 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ทบทวนวิธีการและการประยุกต์ใช้การประเมินผลกระทบสุขภาพ (HIA) จากแหล่งฐานข้อมูล MEDLINE, EMBASE, Science Direct 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

HiA เป็นวิธีการศึกษาเพื่อประเมินผลกระทบที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในต่างประเทศ เริ่มต้นเป็นการประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากโครงการที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อมในชุมชน  ต่อมาได้มีการใช้ในหลายสาขา เช่น การศึกษา  โปรกรมสุขภาพเป็นต้น  ในประเทศไทย HIA มีบทบาทตั้งปี 2550 เนื่องจากมี พรบ. สุขภาพแห่งชาติ ทำให้จำเป็นต้องมีการประเมินผลกระทบที่เกิดจากโครงการต่างๆ และมีการทำประชาพิจารณ์โดยสาธารณะ
ข้อดีของ HIA คือ กระบวนการแสดงให้เห็นถึงการมีส่วนร่วมของผู้ประเมิน ผู้เกี่ยวข้อง และสาธารณะ  ตกลงร่วมกัน / เสริมพลัง  ในการประเมินผลกระทบที่เกิดขึ้น ตั้งแต่กระบวนการ Public Screening  Public Scoping  Assessing Public review 

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ยังไม่มีการประยุกต์ใช้ HiA ในการประเมินความสัมพันธ์ของกลไกและความเชื่อมโยงการทำงานในหลายระดับ

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ควรมีการประยุกต์ใช้ HIA ในการประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ควรมีการประยุกต์ใช้ HIA ในการประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
1 มิถุนายน 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนายคชาพล นิ่มเดชนายคชาพล นิ่มเดชเมื่อ 13 สิงหาคม 2562 09:21:30
Project owner
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 23 สิงหาคม 2562 09:57:39 น.

ชื่อกิจกรรม : ทบทวนการประยุกต์ใช้การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

1.เพื่อทบทวนการวิธีการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ 2.เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้ HIA ในการประเมินโครงการต่างๆ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ผู้รับผิดชอบโครงการหลักและโครงการย่อยในการประเมินโครงการ ศวสต.

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ทบทวนการใช้การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ จากฐานข้อมูลวิชาการต่างๆ ได้แก่ MEDLINE, EMBASE, Center of Research Dissemination (CRD)

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 6 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี
ดร.พิเชตวุฒิ นิลลออ
ดร.สายสุนีย์ จำรัส
    ดร.โปรดปราน คำอ่อน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุราษฎร์ธานี ดร.คชาพล นิ่มเดช
ดร. ดุริยางค์ วาสนา
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช   ดร. ปวิตร ชัยวิสิทธิ์

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ทบทวนการใช้การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ จากฐานข้อมูลวิชาการต่างๆ ได้แก่ MEDLINE, EMBASE, Center of Research Dissemination (CRD)

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การทบทบทวนการใช้การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ จากฐานข้อมูลวิชาการต่างๆ ได้แก่ MEDLINE, EMBASE, Center of Research Dissemination (CRD) ทำให้เข้าใจถึงประโยชน์จากการใช้ HIA  กระบวนการวิธีการ HIA ประโยชน์ รวมไปถึงการประยกต์ใช้ HIA ในสาขาต่างๆ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ยังไม่มีการศึกษาการประเมินผลกระทบโครงการเชิงบวกในประเทศไทย

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

1.การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพในโครงการส่งเสริม และป้องกันภัยด้านสุขภาพ ในโครงการที่เกิดผลกระทบเชิงบวก เป็นมิติใหม่ที่ควรมีการศึกษาผลในประเทศไทย

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

1.ผู้ประเมินควรเข้ารับการอบรมด้าน HIA เพิ่มเติม

2.เชิญผู้ทรงคุณวุฒิมาให้ข้อเสนอแนะการประยุกต์ใช้ HIA

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
27 พฤษภาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนายคชาพล นิ่มเดชนายคชาพล นิ่มเดชเมื่อ 22 มิถุนายน 2561 11:28:30
Project owner
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 23 สิงหาคม 2562 09:43:54 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมเพื่อวางแผนการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ ระหว่าง ทีมประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ และเจ้าของทุนวิจัย

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

เพื่อวางแผนการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพกับทีมประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ และเจ้าของทุนวิจัย  และ เพื่อเรียนรู้วิธีการบันทึกข้อมูลผ่านเว็บไซต์ศูนย์วิชาการส่งเสริมสุขภาพภาคใต้ (ศวสต.)

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ทีมประเมิน HIA และเจ้าหน้าที่จากสจรส. 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ชี้แจงรายละเอียดคณะกรรมการประเมิน HIA ในทีม 5 จังหวัด และการลงบันทึกข้อมูลกิจกรรมผ่านเว็บไซต์ โดยมีรายละเอียดได้แก่ แผนงาน ปฏิทินกิจกรรม วัตถุประสงค์ รูปแบบการรายงาน การติดตาม  ซึ่งมีผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วยทีมงานประเมิน 6 ท่านและเจ้าหน้าที่จากสจรส. จำนวน 4 ท่าน ณ ห้องประชุม SD102 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 10 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ทีมงานประเมิน 6 ท่านและเจ้าหน้าที่จากสจรส. จำนวน 4 ท่าน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. ชี้แจงรายละเอียดคณะกรรมการประเมิน HIA ในทีม 5 จังหวัด
  2. ชี้แจงการลงบันทึกข้อมูลกิจกรรมผ่านเว็บไซต์ โดยมีรายละเอียดได้แก่ แผนงาน ปฏิทินกิจกรรม วัตถุประสงค์ รูปแบบการรายงาน การติดตาม
  3. บันทึกข้อมูลหลักการและเหตุผล แผนการดำเนินงาน
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. คณะกรรมการประเมิน HIA ทราบแนวทางการดำเนินงานโครงการ
  2. คณะกรรมการทราบแนวทางการบันทึกข้อมูลผ่านเว็บไซต์
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ผู้รับผิดชอบทีมประเมิน HIA 2 พื้นที่ไม่ได้เข้าร่วมการประชุมเนื่องจากติดภารกิจ/ แนวทางการแก้ไข โดย ทีมประเมินที่เข้าร่วมประชุมในวันนี้จะสอนการลงข้อมูลผ่านเว็บไซต์ภายหลัง

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ได้รับการสนับสนุนจากผู้แทนสจรส.ในการจัดกิจกรรมครั้งนี้เป็นอย่างดี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-