สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช

รายละเอียดโครงการ
เลขที่ข้อตกลง 60-ข-085
ชื่อโครงการ โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช
ชุดโครงการ แผนงานโซนใต้บน
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายเจกะพันธ์พรหมมงคล
คณะทำงาน ? นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล , น.ส.พวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2560 - 31 มีนาคม 2562
งบประมาณโครงการ 200,000.00 บาท
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย (คน) 50
รายละเอียดกลุ่มเป้าหมาย
  1. ภาคราชการ
  2. ภาควิชาการ
  3. ภาคประชาสังคม
  4. ภาคเอกชน
  5. ภาคสื่อมวลชน
  6. อบท.
พื้นที่ดำเนินการ
จังหวัด นครศรีธรรมราช
ละติจูด-ลองจิจูด 8.4106407642458,99.943691165588place

หลักการและเหตุผล

สถานการณ์ด้านการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ในจังหวัดนครศรีธรรมราช เปรียบเทียบความชุกของนักดื่มอายุ 15 - 19 ปี พ.ศ.2554 ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประชากรอายุ 15 – 19ปีขึ้นไป พ.ศ.2550 และ พ.ศ.2554 พบว่า จังหวัดนครศรีธรรมราช มีความชุกเพิ่มขึ้น จากความชุกร้อยละ 10.1เป็นร้อยละ 10.2
- สัดส่วนของนักดื่มแล้วขับขี่ยานพาหนะ พบว่าจังหวัดนครศรีธรรมราช มีความชุกร้อยละ 30.9 - เด็กและเยาวชนอายุระหว่าง ๑๒-๑๖ ปี ในจังหวัดนครศรีธรรมราช มีพฤติกรรมการดื่มร้อยละ 22.1
- เด็กและเยาวชนอายุระหว่าง ๑๒-๑๖ ปี ร้อยละ 63.8 รู้จักเพื่อนที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ร้อยละ 34.7 ส่วนใหญ่ดื่มนานๆ ครั้งร้อยละ 72.5 และดื่ม 1-2 ครั้ง/สัปดาห์ ร้อยละ 14.3
- เด็กและเยาวชนในจังหวัดนครศรีธรรมราชมีการดื่มแอลกอฮอล์ครั้งแรกตอนอายุ 9 ปี อายุเฉลี่ยของการดื่มแอลกอฮอล์ครั้งแรก 12.93
- เด็กและเยาวชนในจังหวัดนครศรีธรรมราชดื่มแอลกอฮอล์ส่วนใหญ่เป็นบ้านเพื่อนร้อยละ 30.9 รองลงมาเป็นบ้านตนเองร้อยละ 28.9 แหล่งท่องเที่ยวร้อยละ 11.4 คอนเสิร์ต
- เด็กและเยาวชนในจังหวัดนครศรีธรรมราช ดื่มแอลกอฮอล์กับ เพื่อน/ญาติร้อยละ 68.5 รองลงมาเป็นคนอื่นๆ ร้อยละ 14.8 และคนในครอบครัวร้อยละ 8.1

สถานการณ์ด้านการบริโภคยาสูบ ในจังหวัดนครศรีธรรมราช ข้อมูลจากโครงการสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่และดื่มสุราของประชากรไทยปี ๒๕๕๔ โดยสำนักสถิติแห่งชาติพบว่า อัตราการสูบบุหรี่ปัจจุบันของประชากรอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป พ.ศ.๒๕๕๔พบมากที่สุด คือ จังหวัดระนอง ร้อยละ ๒๗.๖๔ จังหวัดนครศรีธรรมราช ร้อยละ ๒๗.๓๘ (เป็นอันดับที่ 2 ) แผนภูมิที่ 1 เปรียบเทียบอัตราการสูบบุหรี่ปัจจุบันของประชากรไทยอายุ 15 ปี ขึ้นไปพ.ศ.2554

ด้านอุบัติเหตุ ในจังหวัดนครศรีธรรมราช จากงานวิจัยพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพของวัยรุ่นในจังหวัดนครศรีธรรมราช ซึ่งศึกษาในกลุ่มตัวอย่าง ชาย หญิง อายุระหว่าง 13-18 ปีจำนวน 500 คน พบว่า ไม่นิยมสวมหมวกกันน็อค ร้อยละ 51.2 ไม่นิยมคาดเข็มขัดนิรภัย ร้อยละ 26.4 ด้านการใช้สารเสพติด ในจังหวัดนครศรีธรรมราช สถานการณ์แพร่ระบาด น้ำต้มพืชกระท่อมยังคงเป็นตัวยาหลักที่แพร่ระบาดในทุกพื้นที่ทั้งในกลุ่มเด็กและเยาวชนผู้ใช้แรงงานทั้งคนไทยและพม่าโดยเฉพาะในช่วงนี้ซึ่งเป็นช่วงปิดภาคเรียนแม้ว่าทางอำเภอต่างๆ จะมีการตัดต้นพืชกระท่อมในพื้นที่ไปเป็นจำนวนมากแล้วก็ตาม แต่ราคายาเสพติดก็ยังคงไม่เปลี่ยนแปลงและมีแนวโน้มที่จะลดลง ยาแก้ไอทั้งจากร้านขายยาที่มีเภสัชกรและร้านขายของชำลังละ4,500 บาท ขวดละ80บาทขายปลีก ราคาขวดละ150 – 200บาท ยาบ้า ก็ยังคงเป็นตัวยาหลักที่มีการแพร่ระบาดในทุกอำเภอขายส่งเม็ดละ150 -200 บาทขายปลีกราคาเม็ดละ250 – 350บาท ยาไอซ์ปลีก ถุงละ 500 – 1,000 บาท กรัมละ 3,500 – 4,000 บาท กระท่อม กิโลกรัมละ 1,000 – 1,500 บาท ขายปลีก ใบละ 1 – 5 บาท ยาเสพติดที่มีการแพร่ระบาดมากในพื้นที่เรียงตามลำดับ คือ พืชกระท่อม รองลงมาเป็นยาบ้ากัญชาแห้ง และไอซ์ ตามลำดับ

ด้านความรุนแรง ในจังหวัดนครศรีธรรมราช กลุ่มเป้าหมายที่ถูกกระทำความรุนแรงฯ

  1. เด็กและเยาวชน
  2. สตรี
  3. คนพิการ
  4. ผู้สูงอายุ

ประเด็นปัญหา

  1. การถูกล่วงละเมิดทางเพศ(ในรอบปีที่ผ่านมาเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ ๔๗.๗๕)
  2. การถูกทำร้ายร่างกาย (ในรอบปีที่ผ่านมาเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ ๕๒.๑๗)
  3. การถูกลักทรัพย์/ชิงทรัพย์/ถูกทำลายทรัพย์ (ในรอบปีที่ผ่านมาเพิ่มขึ้น ร้อยละ ๓๘.๘๗)

ด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) ในจังหวัดนครศรีธรรมราช จากข้อมูล HDC พบว่าในปี 2559 ในจังหวัดนครศรีธรรมราช มีผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวาน จำนวน 62,584 คน คิดเป็นร้อยละ 4.02 ของจำนวนประชากร โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 146,807 คิดเป็นร้อยละ 9.44 เมื่อเทียบกับจำนวนประชากร ในปี 2559 มีประชากรจำนวน 1,554,432

กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

ลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ โดยระบบสุขภาพชุมชน

วัตถุประสงค์ของโครงการ / ตัวชี้วัด / การดำเนินกิจกรรม

วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / เป้าหมายตัวชี้วัดความสำเร็จ

วัตถุประสงค์โดยตรง

เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่ดำเนินงานด้านปัจจัยเสี่ยง
  1. เกิดภาคีความร่วมมือ จาก 6 ภาคส่วน
  2. ภาคีมีความเข้าใจในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการ
  3. คณะทำงานฯเกิดเป้าหมายร่วม มีทักษะการคิดเชิงระบบ สามารถมองปัญหาได้แบบองค์รวม
  4. คณะทำงานฯมียุทธศาสตร์ร่วมที่ชัดเจน เกิดการแก้ไขปัญหาที่ตรงจุด และมีแคมเปญในการรณรงค์
  5. เกิดพื้นที่กลางในการพูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรู้
เพื่อพัฒนาศักยภาพระบบสุขภาพในพื้นที่ให้มีการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ
  1. เกิดข้อมูลอย่างน้อย 5 ด้าน คือ
    • สถานการณ์ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพในอำเภอเมืองนครศรีฯ
    • ผลกระทบที่เกิดจากปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ
    • แนวโน้มความรุนแรง -กลไกหรือโครงสร้างที่เกี่ยวข้อง
    • แนวทางแก้ไขและแผนปฏิบัติการโครงการ ของหน่วยงานและแผนปฏิบัติการร่วม
  2. เรื่องปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพถูกบรรจุในวาระของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอเมืองนครศรีฯ
  3. เกิดอนุกรรมการด้านการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพอำเภอเมืองนครศรี
    • ร้อยละ 80 ของจำนวนกองทุนฯมีความตระหนักในเรื่องปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ
    • ร้อยละ 20 ของจำนวนกองทุนฯ มีการขับเคลื่อนเรื่องการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ
เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านงานวิชาการที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพในพื้นที่
  1. เกิดข้อมูลด้านพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ คือ
    • จำนวนประชากรที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
    • ผลกระทบจากการมีพฤติกรรมเสี่ยง
    • ทัศนคติ ความรู้ ของประชากรที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
    • ชนิด ประเภท ความถี่ ของพฤติกรรมการทำให้เกิดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ
    • สาเหตุ ปัจจัย ที่ทำให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ
  2. เกิดงานวิชาการ 1 เล่ม
  3. เกิดการนำเสนอต่อฝ่ายนโยบายของจังหวัดนครศรีฯ
เพื่อหนุนเสริมกระบวนการทำงานให้ดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ
  1. รายงานความก้าวหน้าโครงการ ทุก 6 เดือน
  2. รับทราบความก้าวหน้าทุกระยะ

กิจกรรมหลัก

วันที่ทำกิจกรรมชื่อกิจกรรมหลักงบประมาณ
(บาท)
กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
กิจกรรม
(ครั้ง)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
(ครั้ง)
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
1 พัฒนาศักยภาพบุคลากรที่ดำเนินงานด้านปัจจัยเสี่ยง 45,000.00 20 4 25,000.00 4 27,204.00 more_vert
20 ก.พ. 61 พบปะสร้างความเข้าใจผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ ครั้งที่ 1/10 6 - -
1 มี.ค. 61 พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านสุขภาพในพื้นที่ครั้งที่ 1 100 - -
10 พ.ค. 61 ประชุมแกนประสานระบบสุขภาพจังหวัดนครศรีธรรมราช ครั้งที่ 2 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพครั้งที่ 2/10 1 - -
18 มิ.ย. 61 พบปะสร้างความเข้าใจ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพครั้งที่ 3/10 1 - -
2 พัฒนาศักยภาพระบบสุขภาพในพื้นที่ให้มีการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ 65,000.00 40 4 100,000.00 4 72,389.00 more_vert
22 ส.ค. 61 ประชุมคณะทำงาน 7 - -
22 ก.พ. 62 ประชุมคณะทำงานโครงการ 7 - -
27 มี.ค. 62 ประชุมกำหนดแนวทางการลดปัจจัยเสี่ยงเพื่อป้องกันนักดื่มนักสูบหน้าใหม่ 20 - -
5 เม.ย. 62 ประชุมกองทุนท้องถิ่นสู่การลดปัจจัยเสี่ยงในกลุ่มมัธยมต้น 65 - -
3 พัฒนาศักยภาพด้านงานวิชาการที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพในพื้นที่ 35,000.00 900 1 20.00 1 33,200.00 more_vert
22-23 พ.ค. 62 ประชุมสรุปการดำเนินงานการพัฒนากองทุนท้องถิ่นสู่การลดปัจจัยเสี่ยงในกลุ่มมัธยมต้น 50 - -
4 หนุนเสริมกระบวนการทำงานให้ดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ 55,000.00 10 12 34,152.00 12 24,067.00 more_vert
1 ธ.ค. 60-30 มิ.ย. 61 ค่าจ้างประสานงาน ค่าวัสดุอุปกรณ์ และจัดทำข้อมูล รายงาน งวดที่ 1 2 - -
6 ก.พ. 61 ประชุมแกนประสานงานครั้งที่ 1 6 - -
15 มิ.ย. 61 ประชุมแกนประสานระบบสุขภาพจังหวัดนครศรีธรรมราช 7 - -
1 พ.ย. 61 ค่าประสานงานประจำเดือนพฤศจิกายน 2561 1 - -
7 พ.ย. 61 ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าเรือ 1 - -
20 พ.ย. 61 ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเคียน 1 - -
1 ธ.ค. 61 ค่าประสานงานประจำเดือนธันวาคม 2561 1 - -
20 ธ.ค. 61 ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลปากพูน 1 - -
1 ก.พ. 62 ค่าประสานงานประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562 1 - -
12 ก.พ. 62 ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลท่าแพ 1 - -
1 มี.ค. 62 ค่าประสานงานประจำเดือนมีนาคม 2562 1 - -
8 มี.ค. 62 ประชุมรายงานผลการดำเนินโครงการ ร่วมกับ สจรส.มอ. 1 - -

กิจกรรมย่อยที่ยังไม่กำหนดกิจกรรมหลัก

18 ส.ค. 2561 สำรวจข้อมูลสถานการณ์ด้านปัจจัยเสี่ยงในระดับกองทุนตำบล 1 30000.00
1 ก.ย. 2561 ค่าประสานงานประจำเดือนกันยายน2561 1 1000.00
1 ต.ค. 2561 พบปะประชุมสรุปงานวิจัยเด็กมัธยมต้น ในเขตอำเภอเมืองนครศรีฯ 7 5000.00
7 ธ.ค. 2561 ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากนคร 1 500.00
1 ม.ค. 2562 ค่าประสานงานประจำเดือนมกราคม2562 1 1000.00
รวม 200,000.00 970 26 196,672.00 26 200,916.00

คำเตือน : งบประมาณของกิจกรรมหลัก (200,000.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณของกิจกรรมย่อย (196,672.00 บาท)

โครงการเข้าสู่ระบบโดย เมื่อวันที่ 24 เม.ย. 2567 น.

วันที่ - เวลากิจกรรม - รายละเอียด
22 พฤษภาคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนายเจกะพันธ์ พรหมมงคลนายเจกะพันธ์ พรหมมงคลเมื่อ 9 สิงหาคม 2562 16:30:42
Project owner
แก้ไขโดย นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล เมื่อ 29 สิงหาคม 2562 07:31:32 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมสรุปการดำเนินงานการพัฒนากองทุนท้องถิ่นสู่การลดปัจจัยเสี่ยงในกลุ่มมัธยมต้น

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อสรุปผลการดำเนินงานโครงการและกำหนดแนวทางการดำเนินต่อไป
กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

• ผู้แทนหรือผู้รับผิดชอบงานกองทุนท้องถิ่น 7 ท้องถิ่น • ผู้แทนคณะกรรมการกองทุนท้องถิ่น 7 ชุด • กลุ่ม/ชมรม/องค์กร ในชุมชนจาก 7 กองทุน • คณะทำงานโครงการ • คณะทำงานจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมือง

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

• ประสานงานกับท้องถิ่นเพื่อเชิญผู้เกี่ยวข้อง • ประสานคณะทำงานสนับสนุนกองทุนหลักประกันสุขภาพ
• เตรียมเอกสารข้อมูลด้านการรายงานผลดำเนินการ • ดำเนินการกิจกรรม • สรุปผลการประชุม

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 34 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

• ผู้แทนหรือผู้รับผิดชอบงานกองทุนท้องถิ่น 7 ท้องถิ่น • ผู้แทนคณะกรรมการกองทุนท้องถิ่น 7 ชุด • กลุ่ม/ชมรม/องค์กร ในชุมชนจาก 7 กองทุน • คณะทำงานโครงการ • คณะทำงานจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมือง

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

• ประสานงานกับท้องถิ่นเพื่อเชิญผู้เกี่ยวข้อง • ประสานคณะทำงานสนับสนุนกองทุนหลักประกันสุขภาพ
• เตรียมเอกสารข้อมูลด้านการรายงานผลดำเนินการ • ดำเนินการกิจกรรม • สรุปผลการประชุม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

• ผู้เกี่ยวข้องมีความเข้าใจในการดำเนินงานมาทั้งหมดของโครงการและกำหนดแนวทางการขับเคลื่อนในช่วงต่อไป • เกิดการสรุปบทเรียน ปัญหาอุปสรรค์ และข้อค้นพบ • เกิดการสรุปในเชิงยุทธศาสตร์ของโครงการ และแนวปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

• กรณีความกังวลของเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบกองทุนท้องถิ่นเรื่องการตรวจสอบการใช้งบประมาณโดย สตง. ต้องมีการประสานงานให้ สปสช.เขต 11 ได้ลงมาสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง • กรณีการติดขัดเชิงนโยบายจากผู้บริหารท้องถิ่น ทางโครงการและผู้เกี่ยวข้องควรมีการสร้างความเข้าใจกับผู้บริหารท้องถิ่นนั้นๆก่อนที่จะทำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่ • การเสนอเพื่อเป็นนโยบายระดับ พชอ. ต้องพัฒนาให้เป็นเชิงบูรณาการกับประเด็นอื่นๆ เพื่อสร้างน้ำหนักให้ประเด็นปัจจัยเสี่ยง เช่น ประเด็นอุบัติเหตุ NCD เป็นต้น

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
5 เมษายน 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนายเจกะพันธ์ พรหมมงคลนายเจกะพันธ์ พรหมมงคลเมื่อ 9 สิงหาคม 2562 16:22:49
Project owner
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 12 สิงหาคม 2562 11:18:14 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมกองทุนท้องถิ่นสู่การลดปัจจัยเสี่ยงในกลุ่มมัธยมต้น

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ที่เกี่ยวข้องกับกองทุนหลักประกับสุขภาพระดับตำบล 2. เพื่อพัฒนาโครงการตัวอย่างในการขอรับงบประมาณจากกองทุนท้องถิ่น 3. เพื่อสนับสนุนให้กองทุนท้องถิ่นสามารถดำเนินโครงการด้านการลดปัจจัยเสี่ยงในกลุ่มมัธยมต้นได้
กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

• ผู้แทนหรือผู้รับผิดชอบงานกองทุนท้องถิ่น 7 ท้องถิ่น • ผู้แทนคณะกรรมการกองทุนท้องถิ่น 7 ชุด • กลุ่ม/ชมรม/องค์กร ในชุมชนจาก 7 กองทุน • คณะทำงานสนับสนุนกองทุนหลักประกันสุขภาพ • คณะทำงานจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมือง
• คณะทำงานภาคประชาสังคม

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

• ประสานงานกับท้องถิ่นเพื่อเชิญผู้เกี่ยวข้อง • ประสานคณะทำงานสนับสนุนกองทุนหลักประกันสุขภาพ
• เตรียมเอกสารข้อมูลด้านวิชาการ ตัวอย่างโครงการ แบบฟอร์มโครงการ • ดำเนินการกิจกรรม • สนับสนุนงบประมาณตั้งต้น • สรุปผลการประชุม

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 48 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

  1. นางสาวปัญชนางค์ รัตนสุวรรณ ศูนย์ควบคุมปัจจัยเสี่ยง จ.นครศรีฯ
  2. นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา กองเลขาฯ
  3. นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล ผู้ประสานงานโครงการฯ
  4. นายสุรศักดิ์ วงษ์อำไพวรรณ ปลัดเทศบาลตำบลนาเหรง(พี่เลี้ยงกองทุน)
  5. นายอนันต์ พรมนิน คณะทำงานสาธารณสุขอำเภอเมืองนครศรีฯ
  6. ผู้รับผิดชอบกองทุน/คณะกรรมการกองทุน/องค์กรชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบลปากนคร
  7. ผู้รับผิดชอบกองทุน/คณะกรรมการกองทุน/องค์กรชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพงเซา
  8. ผู้รับผิดชอบกองทุน/คณะกรรมการกองทุน/องค์กรชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ
  9. ผู้รับผิดชอบกองทุน/คณะกรรมการกองทุน/องค์กรชุมชน เทศบาลตำบลท่าแพ
  10. ผู้รับผิดชอบกองทุน/คณะกรรมการกองทุน/องค์กรชุมชน เทศบาลเมืองปากพูน
  11. ผู้รับผิดชอบกองทุน/คณะกรรมการกองทุน/องค์กรชุมชน เทศบาลเมืองเมืองนครศรีฯ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. ประสานงานกับท้องถิ่นเพื่อเชิญผู้เกี่ยวข้อง
  2. ประสานคณะทำงานสนับสนุนกองทุนหลักประกันสุขภาพ
  3. เตรียมเอกสารข้อมูลด้านวิชาการ ตัวอย่างโครงการ แบบฟอร์มโครงการ
  4. ดำเนินการกิจกรรม
  5. สนับสนุนงบประมาณตั้งต้น
  6. สรุปผลการประชุม
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

• ผู้รับผิดชอบกองทุน/คณะกรรมการกองทุน/องค์กรชุมชน จากกองทุนท้องถิ่นทั้ง 6 กองทุนสามารถเขียนโครงการเพื่อให้สอดคล้องกับเป้าหมายและระเบียบของกองทุน • เกิดโครงการตัวอย่างที่ผ่านการวิเคราะห์สถานการณ์ในพื้นที่และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกองทุนท้องถิ่นนั้นๆจำนวน 6 โครงการ • เกิดกลุ่ม/ชมรม/องค์กรในชุมชนที่มีความสารถในการดำเนินโครงการด้านการลดปัจจัยเสี่ยงโดยใช้ศักยภาพจากกองทุนท้องถิ่นจำนวน 8 กลุ่ม จาก 6 กองทุน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

• กลุ่ม/ชมรม/องค์กรในชุมชนยังขาดข้อมูลเชิงลึกในประเด็นปัจจัยเสี่ยง จึงต้องมีการสนับสนุนงบประมาณตั้งต้นเพื่อให้ใช้ในการสำรวจข้อมูลและสร้างความเข้าใจให้กับองค์กรต่างๆในชุมชน

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

• ควรพัฒนาศักยภาพเครือข่าย สสส.ให้มีการเชื่อมโยงการทำงานในระดับพื้นที่กับกองทุนท้องถิ่น

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

• ควรเร่งให้มีการสร้างความเข้าใจในระเบียบกองทุนให้กับคณะกรรมการกองทุนที่ตั้งขึ้นใหม่ในปี 2562 เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงาน

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
27 มีนาคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนายเจกะพันธ์ พรหมมงคลนายเจกะพันธ์ พรหมมงคลเมื่อ 9 สิงหาคม 2562 16:08:27
Project owner
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 10 สิงหาคม 2562 16:15:09 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมกำหนดแนวทางการลดปัจจัยเสี่ยงเพื่อป้องกันนักดื่มนักสูบหน้าใหม่

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อเสริมศักยภาพผู้เกี่ยวข้องกับกองทุนท้องถิ่น 2. เพื่อสนับสนุนข้อมูลทางวิชาการให้กับผู้เกี่ยวข้องกับกองทุนท้องถิ่น 3. เพื่อสรุปผลและประเมินโครงการจากการดำเนินงานที่ผ่านมา
กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

• ผู้แทนหรือผู้รับผิดชอบงานกองทุนท้องถิ่น 7 ท้องถิ่น • คณะทำงานสนับสนุนกองทุนหลักประกันสุขภาพ • คณะทำงานจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมือง
• คณะทำงานภาคประชาสังคม

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

• ประสานงานกับท้องถิ่นเพื่อเชิญผู้เกี่ยวข้อง • ประสานคณะทำงานสนับสนุนกองทุนหลักประกันสุขภาพ • ประสานงานนักวิชาการ
• เตรียมเอกสารข้อมูลด้านวิชาการ
• ดำเนินการกิจกรรม • สนับสนุนงบประมาณตั้งต้น • สรุปผลการประชุม

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 19 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

  1. นางสาวปัญชนางค์ รัตนสุวรรณ ศูนย์ควบคุมปัจจัยเสี่ยง จ.นครศรีฯ
  2. นายชญานิน เอกสุวรรณ ผู้แทน สปสช.11
  3. นายชัชวาล บุญอมร ผู้แทนกองทุนฯ อบต.ท่าเรือ
  4. นายปราโมทย์ บุญคมรัตน์ ผู้แทนกองทุนฯ อบต.ท่าเรือ
  5. นายธีระ ด้วงสิน ผู้แทนกองทุนฯ อบต.กำแพงเซา
  6. นางสาวเรวดี สุดภักดี ผู้แทนกองทุนฯ เทศบาลเมืองปากพูน
  7. นางสาวธัญลักษณ์ ขวดทอง ผู้แทนกองทุนฯ เทศบาลตำบลท่าแพ
  8. นางสาวโปรดปราน คำอ่อน ม.สงขลานครินทร์วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี
  9. นางสายสุณีย์ จำรัส ม.สงขลานครินทร์วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี
  10. ดร.ดุริยางค์ วาสนา นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ รพ.กาญจนดิษฐ์
  11. ดร.พิมาน ธีรรัตนสุนทร นักวิชาการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
  12. นายทวีวัตร เครือสาย พี่ลี้ยงกองทุนฯ
  13. นายธนาวุธ คงจันทร์ สคล.ใต้บน
  14. นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา กองเลขาฯ
  15. นายอนันต์ พรมนิน นักวิชาการสาธารณสุขอำเภอเมืองนครศรีฯ
  16. นางสาวภานุชนารถ คงแก้ว ผู้แทนกองทุนเทศบาลเมืองเมืองนครศรีฯ
  17. นางสาวชนิดาภา โชติรัตน์ ผู้แทนกองทุนเทศบาลเมืองเมืองนครศรีฯ
  18. นางสาวนุจรีย์ โจมนุพงศ์ ผู้แทนกองทุนเทศบาลเมืองเมืองนครศรีฯ
  19. นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล ผู้ประสานงานโครงการฯ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. ประสานงานกับท้องถิ่นเพื่อเชิญผู้เกี่ยวข้อง
  2. ประสานงานกับนักวิชาการ
  3. ประสานกับสำนักงานหลักประกันสุขภาพ เขต 11 สุราษฎร์ธานี
  4. เตรียมเอกสารข้อมูลด้านวิชาการ
  5. ดำเนินการกิจกรรม
  6. สรุปผลการประชุมและออกแบบการดำเนินงานต่อ
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

• ผู้แทนจากกองทุนท้องถิ่นมีความเข้าใจในระเบียบของกองทุนฯ ในด้านความสอดคล้องในประเด็นการลดปัจจัยเสี่ยงโดยการใช้งบประมาณของกองทุนฯ ในด้าน ป้องกัน ส่งเสริม • ผู้แทนจากกองทุนท้องถิ่นลดความกังวลการตรวจสอบจากสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน เพราะได้รับการชี้แจงจากผู้ที่รับผิดชอบโดยตรง จากสำนักงานหลักประกันสุขภาพ เขต 11 • ผู้แทนจากกองทุนท้องถิ่นเข้าใจในสถานการณ์ปัญหาในกลุ่มเด็กมัธยมต้น ทั้งด้านการสูบ ดื่ม เสพ และเห็นปัจจัยที่ทำให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยงเหล่านั้น และสามารถนำไปเป็นองค์ประกอบในการพัฒนาโครงการเพื่อใช้งบประมาณจากกองทุนท้องถิ่น • เกิดภาคีความร่วมมือจากภาคประชาสังคม โดยจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อเสริมการดำเนินงานของกองทุนท้องถิ่น • เกิดการกำหนดแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน ทั้งเชิงพื้นที่คือ 7 กองทุนท้องถิ่น และแนวทางการเสริมศักยภาพให้กลุ่ม/ชมรม/องค์กร ในชุมชนเป็นผู้ดำเนินโครงการ • เกิดการปรับโครงการให้มีความสอดคล้องกับหลักวิชาการและเหมาะสมกับพื้นที่

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

• กลุ่ม/ชมรม/องค์กรในชุมชนยังขาดความเข้าใจในประเด็นปัจจัยเสี่ยง จึงต้องมีการเสริมศักยภาพเพื่อให้เกิดความเข้าใจ

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

• ควรพัฒนาศักยภาพเครือข่าย สสส.ให้มีการเชื่อมโยงการทำงานในระดับพื้นที่กับกองทุนท้องถิ่น

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

• ควรมีการสร้างความเข้าใจในระเบียบกองทุนให้กับคณะกรรมการกองทุนที่ตั้งขึ้นใหม่ในปี 2562 เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงาน

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
8 มีนาคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 10 สิงหาคม 2562 17:00:55
Project trainer
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 10 สิงหาคม 2562 17:01:04 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมรายงานผลการดำเนินโครงการ ร่วมกับ สจรส.มอ.

คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์

ประชุมรายงานผลการดำเนินโครงการ ร่วมกับ สจรส.มอ.

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

รายงานผลการดำเนินโครงการ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 1 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

รายงานผลการดำเนินโครงการ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

รายงานผลการดำเนินโครงการ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
1 มีนาคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 10 สิงหาคม 2562 16:23:00
Project trainer
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 10 สิงหาคม 2562 16:23:00 น.

ชื่อกิจกรรม : ค่าประสานงานประจำเดือนมีนาคม 2562

คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์

เพื่อประสานงานโครงการ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ค่าประสานงานประจำเดือนมีนาคม 2562

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 1 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ค่าประสานงานประจำเดือนมีนาคม 2562

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ค่าประสานงานประจำเดือนมีนาคม 2562

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
22 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนายเจกะพันธ์ พรหมมงคลนายเจกะพันธ์ พรหมมงคลเมื่อ 9 สิงหาคม 2562 16:00:30
Project owner
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 10 สิงหาคม 2562 13:57:06 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมคณะทำงานโครงการ

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อสรุปผลเครื่องมืองานวิจัยเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมและผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นแห่งหนึ่ง ในจังหวัดนครศรีธรรมราช 2. เพื่อกำหนดแนวทางการวิจัยโดยการมีส่วนร่วม
กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

• คณะทำงานด้านวิชาการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ • นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ • คณะทำงานภาคประชาสังคม • ผู้ประสานงานโครงการและกองเลขาฯ

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

• ประสานงานกับนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ • ประสานงานกับคณะทำงานทั้งส่วนประชาสังคม • เตรียมเอกสารผลการสำรวจและแบบอภิปราย • ดำเนินการกิจกรรม • สรุปผลการประชุมและออกแบบการดำเนินงานต่อ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 7 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

  1. ดร.พิมาน ธีรรัตนสุนทร นักวิชาการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
  2. นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล ผู้ประสานงานโครงการฯ
  3. นายกัณตนัช รัตนวิก เครือข่ายเยาวชน จ.นครศรีฯ
  4. นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา กองเลขาฯ
  5. นางสาวปัญชนางค์ รัตนสุวรรณ ศูนย์ควบคุมปัจจัยเสี่ยง จ.นครศรีฯ
  6. นายองอาจ พรหมมงคล สำนักงานเครือข่ายองค์กรงดเหล้า ภาคใต้ตอนบน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. ประสานงานกับนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
  2. ประสานงานกับคณะทำงานทั้งส่วนประชาสังคม
  3. เตรียมเอกสารผลการสำรวจและแบบอภิปราย
  4. ดำเนินการกิจกรรม
  5. สรุปผลการประชุมและออกแบบการดำเนินงานต่อ
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

• เกิดการสรุปเครื่องมือเพื่อใช้ศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมและผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น  ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช (ตามเอกสารแนบ) • เครื่องมือเพื่อใช้ในการวิจัยถูกพัฒนาให้มีความเข้าใจมากขึ้น เช่น ชุดคำถาม และปรับปรุงให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายมากขึ้น รวมทั้งมีการเพิ่มข้อมูลด้านการรับรู้ต่อการดำเนินงานของกองทุนท้องถิ่นฯ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

• เพื่อให้ผลการวิจัยเป็นที่ยอมรับของหน่วยงานราชการและสาธารณะ จึงต้องขอการรับรองคุณธรรม จริยธรรม จากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ซึ่งอาจใช้เวลานาน

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

• ควรมีการสนับสนุนงานวิจัยด้านการการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบในระดับเด็กมัธยมต้นในระดับประเทศและระดับท้องถิ่น

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

• ควรนำผลการวิจัยไปอ้างอิงในการพัฒนาโครงการเพื่อขอรับงบประมาณจากกองทุน เพื่อทำให้โครงการมีความน่าเชื่อถือ

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
12 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 10 สิงหาคม 2562 14:19:04
Project trainer
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 10 สิงหาคม 2562 14:19:20 น.

ชื่อกิจกรรม : ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลท่าแพ

คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์

เพื่อประสานงานกองทุนสุขาพตำบล เทศบาลท่าแพ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลท่าแพ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 1 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลท่าแพ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลท่าแพ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
1 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 10 สิงหาคม 2562 14:35:02
Project trainer
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 10 สิงหาคม 2562 14:35:02 น.

ชื่อกิจกรรม : ค่าประสานงานประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562

คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์

เพื่อประสานงานโครงการ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ค่าประสานงานประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 1 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ค่าประสานงานประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ค่าประสานงานประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
1 มกราคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 10 สิงหาคม 2562 14:23:58
Project trainer
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 10 สิงหาคม 2562 14:25:49 น.

ชื่อกิจกรรม : ค่าประสานงานประจำเดือนมกราคม2562

คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์

ค่าประสานงานประจำเดือนมกราคม

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ค่าประสานงานประจำเดือน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 1 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ค่าประสานงานประจำเดือนมกราคม  นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ค่าประสานงานประจำเดือนมกราคม  นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
20 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 10 สิงหาคม 2562 16:27:11
Project trainer
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 10 สิงหาคม 2562 16:27:14 น.

ชื่อกิจกรรม : ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลปากพูน

คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์

เพื่อลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลปากพูน

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลปากพูน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 1 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลปากพูน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลปากพูน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
7 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 10 สิงหาคม 2562 14:01:33
Project trainer
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 10 สิงหาคม 2562 14:02:20 น.

ชื่อกิจกรรม : ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากนคร

คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์

เพื่อประสานงานกองทุนสุขาพตำบล อบต.ปากนคร

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขาพตำบล อบต.ปากนคร

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 1 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากนคร

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากนคร

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
1 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 10 สิงหาคม 2562 16:19:01
Project trainer
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 10 สิงหาคม 2562 16:19:06 น.

ชื่อกิจกรรม : ค่าประสานงานประจำเดือนธันวาคม 2561

คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์

เพื่อประสานงานโครงการ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ค่าประสานงานประจำเดือนธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 1 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ค่าประสานงานประจำเดือนธันวาคม 2561

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ค่าประสานงานประจำเดือนธันวาคม 2561

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
20 พฤศจิกายน 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 10 สิงหาคม 2562 14:07:53
Project trainer
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 10 สิงหาคม 2562 14:08:01 น.

ชื่อกิจกรรม : ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเคียน

คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์

เพื่อลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเคียน

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเคียน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 1 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเคียน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเคียน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
7 พฤศจิกายน 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 10 สิงหาคม 2562 14:12:57
Project trainer
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 10 สิงหาคม 2562 14:12:59 น.

ชื่อกิจกรรม : ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าเรือ

คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์

เพื่อลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าเรือ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าเรือ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 1 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าเรือ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าเรือ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
1 พฤศจิกายน 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 10 สิงหาคม 2562 14:30:39
Project trainer
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 10 สิงหาคม 2562 14:30:40 น.

ชื่อกิจกรรม : ค่าประสานงานประจำเดือนพฤศจิกายน 2561

คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์

เพื่อประสานงานโครงการ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ค่าประสานงานประจำเดือนพฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 1 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ค่าประสานงานประจำเดือนพฤศจิกายน 2561

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ค่าประสานงานประจำเดือนพฤศจิกายน 2561

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
24 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนายเจกะพันธ์ พรหมมงคลนายเจกะพันธ์ พรหมมงคลเมื่อ 9 สิงหาคม 2562 15:58:52
Project owner
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 10 สิงหาคม 2562 13:28:36 น.

ชื่อกิจกรรม : พบปะประชุมสรุปงานวิจัยเด็กมัธยมต้น ในเขตอำเภอเมืองนครศรีฯ

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

1.เพื่อรายงานผลการทดลองใช้เครื่องมืองานวิจัยเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมและผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นแห่งหนึ่ง ในจังหวัดนครศรีธรรมราช 2.เพื่อสรุปบทเรียนการใช้เครื่องมือวิจัย

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

• คณะทำงานด้านวิชาการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

• นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

• คณะทำงานจาก สพม.12

• คณะทำงานภาคประชาสังคม

• ผู้ประสานงานโครงการและกองเลขาฯ

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

• ประสานงานกับนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

• ประสานนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

• ประสานงานกับคณะทำงานทั้งส่วนประชาสังคม

• เตรียมเอกสารผลการสำรวจและแบบอภิปราย

• ดำเนินการกิจกรรม

• สรุปผลการประชุมและออกแบบการดำเนินงานต่อ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 6 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

• คณะทำงานด้านวิชาการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

• นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

• คณะทำงานจาก สพม.12

• คณะทำงานภาคประชาสังคม

• ผู้ประสานงานโครงการและกองเลขาฯ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

• ประสานงานกับนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

• ประสานนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

• ประสานงานกับคณะทำงานทั้งส่วนประชาสังคม

• เตรียมเอกสารผลการสำรวจและแบบอภิปราย

• ดำเนินการกิจกรรม

• สรุปผลการประชุมและออกแบบการดำเนินงานต่อ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

• เกิดผลการศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมและผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นแห่งหนึ่ง ในจังหวัดนครศรีธรรมราช (ตามเอกสารแนบ)

• เครื่องมือเพื่อใช้ในการวิจัยถูกพัฒนาให้มีความเข้าใจมากขึ้น เช่น ชุดคำถาม และปรับปรุงให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายมากขึ้น รวมทั้งมีการเพิ่มข้อมูลด้านการรับรู้ต่อการดำเนินงานของกองทุนท้องถิ่นฯ

• เกิดชุดข้อมูลที่สามารถนำไปอ้างอิงในโครงการเพื่อขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนท้องถิ่นได้

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

• ผลการวิจัยเป็นการทดลองทำแค่ 1 โรงเรียน จึงยังไม่สามารถสะท้อนภาพที่แท้จริงในพื้นที่อำเภอเมืองนครศรีฯได้หมด จึงจะขยายให้มีการทำวิจัยเพื่อให้ครอบคลุมอำเภอเมืองนครศรีฯ

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

• ควรมีการสนับสนุนงานวิจัยด้านการการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบในระดับเด็กมัธยมต้นในระดับประเทศและระดับท้องถิ่น

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

• ควรนำผลการวิจัยไปอ้างอิงในการพัฒนาโครงการเพื่อขอรับงบประมาณจากกองทุน เพื่อทำให้โครงการมีความน่าเชื่อถือ

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
1 กันยายน 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 10 สิงหาคม 2562 13:34:53
Project trainer
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 10 สิงหาคม 2562 13:35:15 น.

ชื่อกิจกรรม : ค่าประสานงานประจำเดือนกันยายน2561

คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์

เพื่อประสานงานโครงการ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ประสานงาน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 1 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ค่าประสานงานนางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ค่าประสานงานนางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
22 สิงหาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนายเจกะพันธ์ พรหมมงคลนายเจกะพันธ์ พรหมมงคลเมื่อ 9 สิงหาคม 2562 15:45:35
Project owner
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 10 สิงหาคม 2562 12:59:41 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมคณะทำงาน

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

1.เพื่อรวบรวมข้อมูลด้านสถานการณ์การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบของเด็กและเยาวชนในจังหวัดนครศรีฯ

2.เพื่อทบทวนและสรุปข้อมูลด้านวิชาการด้านการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

• คณะทำงานด้านวิชาการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

• คณะทำงานจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมือง

• คณะทำงานจาก สพม.12

• คณะทำงานภาคประชาสังคม

• ผู้ประสานงานโครงการและกองเลขาฯ

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

• ประสานงานกับนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

• ประสานงานกับคณะทำงานทั้งส่วนประชาสังคมและส่วนการศึกษา (สพม.12)

• เตรียมเอกสารข้อมูลด้านวิชาการที่มีการสำรวจมาแล้ว

• ดำเนินการกิจกรรม

• สรุปผลการประชุมและออกแบบการดำเนินงานต่อ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 6 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

  1. ดร.พิมาน ธีรรัตนสุนทร นักวิชาการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
  2. นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล ผู้ประสานงานโครงการฯ
  3. นายกัณตนัช รัตนวิก เครือข่ายเยาวชน จ.นครศรีฯ
  4. นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา กองเลขาฯ
  5. นางสาวปัญชนางค์ รัตนสุวรรณ ศูนย์ควบคุมปัจจัยเสี่ยง จ.นครศรีฯ
  6. นายองอาจ พรหมมงคล สำนักงานเครือข่ายองค์กรงดเหล้า ภาคใต้ตอนบน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. คณะทำงานด้านวิชาการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
  2. คณะทำงานจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมือง
  3. คณะทำงานจาก สพม.12
  4. คณะทำงานภาคประชาสังคม
  5. ผู้ประสานงานโครงการและกองเลขาฯ
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

• เกิดชุดข้อมูลสถานการณ์การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในจังหวัดนครศรีฯแต่ขาดกลุ่มเป้าหมายที่เป็นเด็กมัธยมต้นและไม่เห็นปัจจัยหรือแรงจูงใจที่ทำให้เกิดการดื่ม
• ข้อมูลที่ทำการสำรวจในกลุ่มเด็กมัธยมต้นในการสุ่มตัวอย่างเด็กมัธยมต้นในเขตจังหวัดนครศรีฯยังไม่มีรายละเอียดมากพอ และไม่มีสถาบันการศึกษาที่น่าเชื่อถือรองรับได้ • เกิดการกำหนดโจทย์วิจัยใหม่คือการศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมและผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยจะออกแบบและให้นักศึกษาระดับปริญญาตรีได้ทดลองใช้เครื่องมือกับโรงเรียนระดับมัธยมต้น คือ โรงเรียนท่านครญาณวโรภาสอุทิศ และจะนำผลมารายงานในการประชุมครั้งต่อไป

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

• ขาดชุดข้อมูลที่ทำให้เห็นสถานการณ์การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบในระดับเด็กมัธยมต้นในจังหวัดนครศรีฯ จึงมีแนวทางให้คณะทำงานด้านวิชาการได้จัดทำขึ้นภายใต้การรับรองจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

• ควรมีการสนับสนุนงานวิจัยด้านการการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบในระดับเด็กมัธยมต้นในระดับประเทศ

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

• ควรมีการพัฒนาชุดข้อมูลด้านการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบในระดับเด็กมัธยมต้นในทุกๆกองทุนท้องถิ่น

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
18 สิงหาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนายเจกะพันธ์ พรหมมงคลนายเจกะพันธ์ พรหมมงคลเมื่อ 9 สิงหาคม 2562 15:30:38
Project owner
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 10 สิงหาคม 2562 12:58:09 น.

ชื่อกิจกรรม : สำรวจข้อมูลสถานการณ์ด้านปัจจัยเสี่ยงในระดับกองทุนตำบล

  • photo
  • photo
  • photo

ไฟล์ประกอบกิจกรรม

คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์
  1. ประเมินปัจจัยนำ ปัจจัยเอื้อ และปัจจัยเสริมที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น จังหวัดนครศรีธรรมราช 2. เพื่อประเมินผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น จังหวัดนครศรีธรรมราช 3. เพ
กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ดร.พิมานธีระรัตนสุนทร

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

• ประชุมกำหนดโจทย์วิจัย • พัฒนาโจทย์วิจัย • ออกแบบชุดคำถามเพื่อการวิจัย • รับฟังความคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิ • ปรับปรุงโจทย์วิจัย • ขอการรับรองคุณธรรม จริยธรรมจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 1 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ดร.พิมาน ธีระรัตนสุนทร

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

• ประชุมกำหนดโจทย์วิจัย • พัฒนาโจทย์วิจัย • ออกแบบชุดคำถามเพื่อการวิจัย • รับฟังความคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิ • ปรับปรุงโจทย์วิจัย • ขอการรับรองคุณธรรม จริยธรรมจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

• เกิดข้อมูลปัจจัยนำ ปัจจัยเอื้อ และปัจจัยเสริมที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น จังหวัดนครศรีธรรมราช • เกิดข้อมูลผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น จังหวัดนครศรีธรรมราช • เกิดข้อมูลด้านความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมและผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นจังหวัดนครศรีธรรมราช

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
30 มิถุนายน 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
โพสท์โดยพวงเพ็ญ  จิ๋ววิเศษณาพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณาเมื่อ 20 มิถุนายน 2561 16:56:56
Project owner
แก้ไขโดย สุทธิพงษ์ อุสาหะพงษ์สิน เมื่อ 11 กรกฎาคม 2561 14:51:20 น.

ชื่อกิจกรรม : ค่าจ้างประสานงาน ค่าวัสดุอุปกรณ์ และจัดทำข้อมูล รายงาน งวดที่ 1

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อประสานงานเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

เครือข่ายด้านปัจจัยเสี่ยง

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

  1. เพื่อติดตาม ประเมินผล สรุปการปฏิบัติงานและสรุปบทเรียน
  2. เพื่อประสานงานเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 2 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ผู้ประสานงานเครือข่ายปัจจัยเสี่ยง

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. โทรศัพท์
  2. สื่อสารออนไลน์
  3. เดินทางประสาน
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. รับทราบความก้าวหน้าทุกระยะ
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-