สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

ประเมินผลภายใน ประเด็นความมั่นคงทางอาหาร : พืชร่วมยาง

รายละเอียดโครงการ
เลขที่ข้อตกลง
ชื่อโครงการ ประเมินผลภายใน ประเด็นความมั่นคงทางอาหาร : พืชร่วมยาง
ชุดโครงการ งานประเมินผลภายใน
ผู้รับผิดชอบโครงการ ดร.ธนเทพ วณิชยากร, ผศ.ดร.ชุมพล แก้วสม, ดร.เกวลิน อังคณานนท์, ดร.อนิรุต หนูปลอด, ผศ.ดร.จุฑารัตน์ สถิรปัญญา และนางสาวอิสรา มิตรช่วยรอด
คณะทำงาน ?
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2563 - 30 กันยายน 2564
งบประมาณโครงการ 120,000.00 บาท
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย (คน) 0
รายละเอียดกลุ่มเป้าหมาย

 

พื้นที่ดำเนินการ พื้นที่ดำเนินงานใน 4 จังหวัดภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดชุมพร ระนอง นครศรีธรรมราช และนราธิวาส
จังหวัด
ละติจูด-ลองจิจูด place
กิจกรรมหลัก
  1. การกลั่นกรองโครงการและการกำหนดขอบเขตและแนวทางการประเมิน โดยทีมประเมินทบทวนรายละเอียดข้อเสนอโครงการ เป้าหมายวัตถุประสงค์ กิจกรรม ตัวชี้วัด ของโครงการ ฯ เพื่อเป็นข้อมูล input ในการทำ scoping และทบทวนเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อกำหนดขอบเขตเชิงเนื้อหา จากนั้นประชุมกลุ่มย่อยเพื่อกำหนดขอบเขตการประเมินร่วมกับผู้เชี่ยวชาญ ผู้รับผิดชอบโครงการ
  2. การประเมินผลกระทบ โดยทีมประเมินเก็บรวบรวมข้อมูล ประเมินจากการสังเคราะห์เอกสารการถอดบทเรียน และการประเมินทางด้านเศรษฐศาสตร์
  3. ทบทวนร่างรายงานโดยสาธารณะ และผลักดันสู่การตัดสินใจ โดยทีมประเมินเชิญผู้ที่เกี่ยวข้องของทุกกิจกรรมเข้าร่วมเวทีรับฟังผลการประเมินและร่วมตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วนของข้อมูล และให้ความเห็นต่อแนวทางการพัฒนาโครงการในระยะต่อไป และทีมประเมินนำเสนอร่างรายงานเพื่อรับฟังความเห็นและจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
  4. การติดตามและประเมินผล โดยทีมประเมินประชุมกลุ่มย่อย/สัมภาษณ์เชิงลึก ประกอบการสังเกตุในพื้นที่ และตรวจสอบจากเอกสาร/หลักฐานที่เกี่ยวข้อง

หลักการและเหตุผล

การเกษตรมีบทบาทสำคัญในการเสริมสร้างความเข้มแข็งและความมั่นคงของเศรษฐกิจในประเทศไทย รวมทั้งยังเป็นวิถีชีวิตของแหล่งภูมิปัญญาและวัฒนธรรมที่สืบต่อมายาวนาน ซึ่งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ยังคงให้ความสำคัญกับภาคการเกษตรโดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ มาประยุกต์ใช้ โดยอาศัยเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาสนับสนุน เพื่อให้เกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองได้และพัฒนาภาคการเกษตรให้ยั่งยืน
ดังนั้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรช่วยกันในการวางแผน อำนวยความสะดวกให้กับเกษตรกร สร้างแนวทางที่เหมาะสมด้านความมั่นคงทางอาหารของประชาชน การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (Health Impact Assessment – HIA) เอช ไอ เอ เป็นเครื่องมือการประเมินรูปแบบหนึ่งที่มีความมุ่งหวังเพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้และเสริมพลังอํานาจของกลุ่มคนที่เกี่ยวข้องกับโครงการ ทั้งผู้รับผิดชอบโครงการ กลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้ได้รับผลประโยชน์จากโครงการ กลุ่มภาคีเครือข่ายที่ร่วมดําเนินงาน กลุ่มนักวิชาการที่มาช่วยในการขับเคลื่อนงาน เป็นการประเมินแบบมีส่วนร่วมที่ทําให้ทุกฝ่ายร่วมกําหนดทิศทางและเป้าหมายในการขับเคลื่อนงานร่วมกันและใช้ประโยชน์จากการประเมินในการยกระดับหรือเพิ่มผลกระทบทางบวกและปรับปรุงหรือลดผลกระทบทางลบของโครงการ ข้อเสนอแนะจากการประเมินจะถูกใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงโครงการในระยะต่อไป ในขั้นตอนการประเมินจะมีการประยุกต์ใช้แนวทางและเครื่องมือที่หลากหลายร่วมกันในการระบุ คาดการณ์ และพิจารณาถึงผลกระทบด้านสุขภาพที่อาจจะเกิดขึ้นกับประชาชน หรือกลุ่มเป้าหมายของโครงการ ขั้นตอนการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน ดังนี้ 1) การกลั่นกรอง (Screening) 2) การกําหนดขอบเขตและแนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (Scoping) 3) การประเมินผลกระทบ (Assessing) 4) การจัดทาํและทบทวนร่างรายงาน (Reviewing) 5) การผลักดันสู่การตัดสินใจ (Decision making) 6) ขั้นตอนการติดตามและประเมินผล (Monitoring and Evaluation)

กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

วัตถุประสงค์ของโครงการ / ตัวชี้วัด / การดำเนินกิจกรรม

วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / เป้าหมายตัวชี้วัดความสำเร็จ

วัตถุประสงค์โดยตรง

เพื่อใช้กระบวนการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) เสริมพลังอำนาจให้แก่ทีมทำงานในพื้นที่ ของประเด็นด้านความมั่นคงทางอาหาร

เกิดเครือข่าย/คณะทำงานในการขับเคลื่อนงานระบบอาหารระดับภาคใต้ ที่ประกอบด้วยเครือข่ายวิชาการ ภาครัฐ ท้องถิ่น ภาคเอกชน ภาคประชาชน และเครือข่ายนักวิชาการ ในพื้นที่ 14 จังหวัดภาคใต้ จำนวน 1 เครือข่าย

ประเมินกระบวนการสร้างนโยบายสาธารณะประเด็นความมั่นคงทางอาหาร

ข้อเสนอเชิงนโยบายและยุทธศาสตร์รูปแบบพืชร่วมยาง

เพื่อยกระดับงานด้านความมั่นคงทางอาหารสู่แผนงาน/นโยบาย

Road map ขับเคลื่อนงานระบบอาหารภาคใต้

กิจกรรมหลัก

วันที่ทำกิจกรรมชื่อกิจกรรมหลักงบประมาณ
(บาท)
กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
กิจกรรม
(ครั้ง)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
(ครั้ง)
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

กิจกรรมย่อยที่ยังไม่กำหนดกิจกรรมหลัก

28 ก.พ. 2564 ประชุมปรึกษาหารือประเด็นความมั่นคงทางอาหาร พืชร่วมยาง จังหวัดชุมพรและระนอง 50 20000.00
31 มี.ค. 2564 ประชุมวางแผน ออกแบบการเก็บข้อมูล จากการดำเนินงาน ประเด็นพืชร่วมยาง จ.ระนองและชุมพร 20 20000.00
15 มิ.ย. 2564 ประชุมติดตามความก้าวหน้าประเด็นความมั่นคงทางอาหาร เรื่องพืชร่วมยาง จังหวัดชุมพร ระนอง นราธิวาส และนครศรีธรรมราช 20 10000.00
21 มิ.ย. 2564 ประชุมวางแผนการดำเนินงานพืชร่วมยาง จังหวัดนครศรีธรรมราช 10 10000.00
20 ก.ย. 2564 ทีมประเมินลงติดตามและถอดบทเรียนการทำพืชร่วมยางในพื้นที่ (จ.นราธิวาส) 10 18000.00
24 ก.ย. 2564 ประชุมติดตามการดำเนินงานพืชร่วมยาง จังหวัดชุมพรและจังหวัดระนอง 10 6000.00
30 ก.ย. 2564 ทีมประเมินลงติดตามและถอดบทเรียนการทำพืชร่วมยางในพื้นที่ัจังหวัดนครศรีธรรมราชร่วมกับกยท. 50 20000.00
รวม 0.00 0 7 104,000.00 7 36,972.00

คำเตือน : งบประมาณของกิจกรรมหลัก (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณของกิจกรรมย่อย (104,000.00 บาท)

คำเตือน : งบประมาณของโครงการ (120,000.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณของกิจกรรมหลัก (0.00 บาท)

โครงการเข้าสู่ระบบโดย เมื่อวันที่ 23 เม.ย. 2567 น.

วันที่ - เวลากิจกรรม - รายละเอียด
19 ตุลาคม 2564
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยAitsaraAitsaraเมื่อ 30 ตุลาคม 2564 00:57:29
Project owner
แก้ไขโดย Aitsara เมื่อ 30 ตุลาคม 2564 02:04:11 น.

ชื่อกิจกรรม : ทีมประเมินลงติดตามและถอดบทเรียนการทำพืชร่วมยางในพื้นที่ัจังหวัดนครศรีธรรมราชร่วมกับกยท.

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : ()
วัตถุประสงค์

 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ติดตามและถอดบทเรียนการทำพืชร่วมยางในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราชร่วมกับกยท. จำนวน 13 แปลง

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. พื้นที่ต้นแบบจำนวน 13 แปลง ประกอบด้วยอำเภอนาบอน 5 แปลง ร่อนพิบูรณ์ 5 แปลง และฉวาง 3 แปลง
  2. ได้รูปแบบการทำพืชร่วมยางในบริบทพื้นที่ที่แตกต่างกันของ 3 อำเภอ (นาบอน ร่อนพิบูลย์ และฉวาง)
  3. ทราบชนิดและประเภทพืชที่ปลูกร่วมในสวนยางพารา และรายได้จากผลผลิตพืชที่ปลูกร่วมในสวนยาง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

 

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
24 กันยายน 2564
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยAitsaraAitsaraเมื่อ 30 ตุลาคม 2564 01:21:11
Project owner
แก้ไขโดย Aitsara เมื่อ 30 ตุลาคม 2564 02:01:02 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมติดตามการดำเนินงานพืชร่วมยาง จังหวัดชุมพรและจังหวัดระนอง

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : ()
วัตถุประสงค์

 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ติดตามการดำเนินงานและร่วมให้ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ประเด็นการทำพืชร่วมยาง จังหวัดชุมพรและจังหวัดระนอง

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. มีกลไกคณะทำงานความมั่นคงทางอาหาร ประเด็นอาหารปลอดภัย-ยาง ที่ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ วิทยาเขตชุมพร สมาคมเพื่อนสิ่งแวดล้อม/สมัชชาสุขภาพชุมพร เครือข่ายธนาคารต้นไม้ สภาองค์กรชุมชน และรพสต.บ้านทับช้าง อ.ทุ่งตะโก
  2. ได้ข้อเสนอและแนวทางการดำเนินงานร่วมกันของ กยท.-สถาบันเกษตรกรชาวสวนยาง
  3. เกษตรแปลงต้นแปลงและเกษตรในพื้นที่ใกล้เคียงเข้าร่วมเรียนรู้รูปแบบการเกษตรผสานผสาน วนเกษตร เกษตรอินทรีย์ และเทคโนโลยีการผลิตเพื่อลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต 110 ราย
  4. เกษตรกรเป้าหมาย ทำพืชร่วมร่วมยาง 100%
  5. ครัวเรือนเป้าหมายที่ทำพืชร่วมยาง มีผลผลิตอาหารปลอดภัยเพื่อบริโภคในครัวเรือนทุกครัวเรือน
  6. เศรษฐกิจครัวเรือนเป้าหมายดีขึ้น มีรายได้เพิ่มขึ้นเฉลี่ย 5,000 บาทต่อเดือน และมีรายจ่ายลดลงเฉลี่ย 3000 บาท ต่อเดือน
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

 

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
20 กันยายน 2564
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยAitsaraAitsaraเมื่อ 30 ตุลาคม 2564 00:52:36
Project owner
แก้ไขโดย Aitsara เมื่อ 30 ตุลาคม 2564 02:29:45 น.

ชื่อกิจกรรม : ทีมประเมินลงติดตามและถอดบทเรียนการทำพืชร่วมยางในพื้นที่ (จ.นราธิวาส)

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : ()
วัตถุประสงค์

 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ติดตามและถอดบทเรียนการทำพืชร่วมยางในพื้นที่ (จ.นราธิวาส) จำนวน 6 แปลง

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ได้พื้นที่ต้นแบบการทำพืชร่วมยาง จำนวน 6 แปลง ประกอบด้วย 1. แปลงนายเด่น พรหมจันทร์ (อ.ศรีสาคร จ.นราธิวาส) 2. แปลงนายแจ้ง อินทิมา (อ.ศรีสาคร จ.นราธิวาส) 3. แปลงนายสมศักดิ์ พรหมชาติ (อ.เมือง จ.นราธิวาส) 4. แปลงนายมะหะมะซาเบท์ มาหะมะ (อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส) 5. แปลงนายนฤชาติ ศรีสุวรรณ (อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส) และ 6.แปลงนางซารีพะห์ ต่วนเพ็ง (อ.เมือง จ.นราธิวาส)
  2. ได้รูปแบบแปลนจำนวน 6 รูปแบบ มีการวิเคราะห์ขนาดพื้นที่ ระยะปลูก ผลผลิตที่ได้ และความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ของโครงการ
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

 

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
21 มิถุนายน 2564
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยAitsaraAitsaraเมื่อ 30 ตุลาคม 2564 01:35:12
Project owner
แก้ไขโดย Aitsara เมื่อ 30 ตุลาคม 2564 01:46:41 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมวางแผนการดำเนินงานพืชร่วมยาง จังหวัดนครศรีธรรมราช

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : ()
วัตถุประสงค์

 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ประชุมวางแผนการดำเนินงานพืชร่วมยาง จังหวัดนครศรีธรรมราช ร่วมกับกยท. 3 สาขา ได้แก่ สาขานาบอน ฉวาง และร่อนพิบูลย์

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. เครือข่ายกยท. จังหวัดนครศรีธรรมราช เข้าร่วมจำนวน ุ6 คน ประกอบด้วย ผู้แทนจากกยท. จังหวัดนครศรีธรรมราชจำนวน 1 คน สาขาร่อนพิบูลย์จำนวน 2 คน สาขานาบอนจำนวน 1 คน สาขาฉวาง 1 คน และท่าศาลา (เข้าร่วมเรียนรู้) จำนวน 1 คน เกษตรกรเป้าหมายเข้าร่วมจำนวน 2 ท่าน
  2. ได้เครือข่ายนักวิชาการจากคณะเกษตรศาสตร์ มทร.ไสใหญ่ ร่วมถอดบทเรียนและวิเคราะห์สังเคราะห์แปลงต้นแบบ
  3. ได้พื้นที่เป้าหมายและเกษตรกรเป้าหมายจำนวน 13 คน ประกอบด้วยเกษตรในพื้นที่นาบอน 5 คน ฉวาง 3 คน และร่อนพิบูลย์ 5 คน
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

 

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
15 มิถุนายน 2564
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยAitsaraAitsaraเมื่อ 30 ตุลาคม 2564 02:05:09
Project owner
แก้ไขโดย Aitsara เมื่อ 30 ตุลาคม 2564 02:17:11 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมติดตามความก้าวหน้าประเด็นความมั่นคงทางอาหาร เรื่องพืชร่วมยาง จังหวัดชุมพร ระนอง นราธิวาส และนครศรีธรรมราช

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : ()
วัตถุประสงค์

 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ติดตามความก้าวหน้าและร่วมให้ข้อเสนอแนะ ประเด็นความมั่นคงทางอาหาร เรื่องพืชร่วมยาง จังหวัดชุมพร ระนอง นราธิวาส และนครศรีธรรมราช

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. เกิดการทำงานร่วมกันระหว่างนักวิชาการ เครือข่ายกยท.ของแต่ละจังหวัด เกษตรกรพื้นที่เป้าหมาย ภาคประชาสังคม และผู้ดูแลโครงการ
  2. ทราบผลการดำเนินการขับเคลื่อนพืชร่วมยางของแต่ละจังหวัด เช่น เกิดกลไกการทำงานขับเคลื่อน ร่างโมเดลพืชร่วมยาง เกษตรกรที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพนำองค์ความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติในพื้นที่ตนเอง เป็นต้น
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

 

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
31 มีนาคม 2564
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยAitsaraAitsaraเมื่อ 30 ตุลาคม 2564 02:13:37
Project owner
แก้ไขโดย Aitsara เมื่อ 30 ตุลาคม 2564 02:30:34 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมวางแผน ออกแบบการเก็บข้อมูล จากการดำเนินงาน ประเด็นพืชร่วมยาง จ.ระนองและชุมพร

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : ()
วัตถุประสงค์

 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

วางแผน ออกแบบการเก็บข้อมูล จากการดำเนินงาน ประเด็นพืชร่วมยาง จ.ระนองและชุมพร

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. เกิดการทำงานร่วมกันระหว่างนักวิชาการ เครือข่ายกยท.ของแต่ละจังหวัด เกษตรกรพื้นที่เป้าหมาย ภาคประชาสังคม และผู้ดูแลโครงการ
  2. ทราบปัญหาและอุปสรรคของการทำสวนยาง
  3. ทราบการดำเนินงานสวนยางยั่งยืนที่ผ่านมาของจังหวัดระนองและชุมพร   1. สุจินต์ ศรีเกษ (เกษตรกรต้นแบบ ทำเกษตรรูปแบบแบบผสมผสาน มีไม้ป่า ไม้เศรษฐกิจร่วมสวนยาง ทำปศุสัตว์ เลี้ยงปลาร่วมด้วย)
      2. บ่าหรี หมาดหมัน (เกษตรกรต้นแบบ ทำเกษตรรูปแบบแบบผสมผสาน) เมื่อปีที่แล้วทำแผงโซล่าเซลล์ มีปาล์มน้ำมัน ไม้ผล และพืชผักในแปลง (แหล่งอาหารปลอดภัย) ซึ่งมีเกษตรอำเภอและพชอ. เข้ามาดูแลด้วย เช่นเดียวกับสวนคุณพูนธวัช
        และสมศักดิ์ ไชยนาสัก ซึ่งเป็นเกษตรต้นแบบของอำเภอสุขสำราญ กำลังผลิตพื้นที่เกษตร 1 ไร่ ทำโคกหนองนาโมเดลและผลิตสวนผสมด้วย ควบคู่การทำโซล่าเซลล์และสวนยางยั่งยืน   3. พูนธวัช เล่าประวัติชัย มีข้อเสนอในการพัฒนา คือ ทำอย่างไรให้มีศูนย์เรียนรู้กับสถาบันการศึกษา และทำความร่วมมือกับกยท.ระนอง สวนสุนันทา และวิทยาลัยชุมชน ในการช่วยพัฒนาสวนยางยั่งยืน สวนยางยั่งยืนได้จัดรูปแบบออกเป็น 3 ส่วน
        คือ บริการที่พักและจัดอบรมท่องเที่ยวเชิงเกษตร การจัดการแหล่งเรียนรู้ (อาจจะต้องพัฒนาหลักสูตร) จัดโปรแกรมเรียนรู้ (สวนยางยั่งยืน 2 แบบ วนเกษตร และผสมผสาน) การบริหารจัดการน้ำ (พลังงาน) และระบบจัดการน้ำที่ใช้โซล่าเซลล์
        พืชผักสมุนไพร ปศุสัตว์
      4. ฉลองชาติ ยังปักษี ศูนย์เรียนรู้เกษตรธรรมชาติ ต.ท่าข้าม อ.ท่าแซะ จ.ชุมพร: ดำเนินงานภายใต้ concept หลัก “สืบสาน รักษา ต่อยอด วิถีพอเพียง แบ่งปัน ดิน (ไม่ใช้สารเคมี) น้ำ (สมบูรณ์) ป่า (ร่วมกับยางพารา สู่การทำสวนยางอย่างยั่งยืน)
        อาหาร และพลังงาน” มียางร่วมกับพืชผัก ไม้ผล และไม้อื่นๆ
      5. ผู้ประสานงานเครือข่ายข้าวไร่ของจังหวัดชุมพร: มีการขับเคลื่อนงานพันธุกรรมข้าวไร่และผลักดันในระดับจังหวัด แต่มีปัญหาเรื่องของพื้นที่ที่ยังไม่มีพื้นที่ปลูก ซึ่งงานวิจัยบอกว่าข้าวไร่สามารถปลูกในพื้นที่ร่มเงาได้ โดยผลวิจัยออกมาว่าการปลูก
        ข้าวในที่ร่มได้ผลผลิตสูงกว่าในที่โล่ง (งานวิจัย ดร.ร่มจิต) จึงใช้พื้นที่ของนาชะอัง/กลุ่มวิสาหกิจนาเกษตรชะอัง เป็นพื้นที่ทดลอง/วิจัย และทำเรื่องเมล็ดพันธุ์ ก่อเกิดเป็นกลุ่มนักวิจัยชุมชนทำเรื่องข้าวไร่ ซึ่งเมื่อได้ผลผลิตที่ดีกว่าการปลูกในที่
        โล่งทำให้มีผู้ที่สนใจมาก แต่ก็ยังเกิดปัญหาของแหล่งผลิตพันธุ์ข้าวที่ไม่เพียงพอ (พื้นที่และระบบแหล่งน้ำที่ไม่เหมาะสม)
      6. กำนันสมศักดิ์ ไชยนาสัก: เตรียมพื้นที่ทำโคก หนอง นา มียางพารา ปาล์มน้ำมัน ไม้ผล(ทุเรียน) และระบบน้ำดีมาก   7. ยืนยง นุ่นลอย: (พื้นที่ 3 x 7) ปลูกไม้ยืนต้น ไม้เศรษฐกิจ ผสมผสานในแปลงสวนยาง ด้วยปัญหายางพาราเป็นโรครากขาว จึงต้องปลูกพืชชนิดอื่นแซม พื้นที่ด้านหลังเป็นบ่อปลา (ป่าชายเลน)
  4. ออกแบบรูปแบบแปลน ซึ่งจะต้องประกอบด้วยการวิเคราะห์ขนาดพื้นที่ ระยะปลูก ผลผลิตที่ได้ และความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ของโครงการ
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

 

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
28 กุมภาพันธ์ 2564
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยAitsaraAitsaraเมื่อ 30 ตุลาคม 2564 02:35:23
Project owner
แก้ไขโดย Aitsara เมื่อ 30 ตุลาคม 2564 02:39:19 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมปรึกษาหารือประเด็นความมั่นคงทางอาหาร พืชร่วมยาง จังหวัดชุมพรและระนอง

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : ()
วัตถุประสงค์

 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ปรึกษาหารือประเด็นความมั่นคงทางอาหาร พืชร่วมยาง จังหวัดชุมพรและระนอง

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ทราบรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการพืชร่วมยาง/สวนยางยั่งยืน จังหวัดชุมพร จำนวน 13 ราย
  2. ทราบรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการพืชร่วมยาง/สวนยางยั่งยืน จังหวัดระนอง จำนวน 5 ราย
  3. ปัญหาอุปสรรคการดำเนินงาน
  4. รูปแบบการทำพืชร่วมยางในแต่ละพื้นที่ค่อนข้างแตกต่างกัน
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

 

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.